ในทางภาษาศาสตร์ การจัดประมวล (อังกฤษ: codification) คือกระบวนการคัดเลือก พัฒนา และวาง () ต้นแบบสำหรับการใช้
การจัดประมวลภาษาหนึ่ง ๆ อาจแตกต่างกันไปตามแต่ละกรณีและขึ้นอยู่กับลำดับขั้นของการกำหนดมาตรฐานที่อาจเกิดขึ้นแล้วตามธรรมชาติ โดยทั่วไปการจัดประมวลหมายถึงการพัฒนาระบบการเขียน ตั้งหลักเกณฑ์เชิงบรรทัดฐานสำหรับไวยากรณ์ อักขรวิธี การออกเสียง และการใช้ศัพท์ ตลอดจนจัดพิมพ์ตำราไวยากรณ์ พจนานุกรม และหลักปฏิบัติที่คล้ายคลึงกัน ในกรณีที่มีรูปแปรหลายรูปสำหรับลักษณะหนึ่ง ๆ (เช่น ตัวสะกดที่แตกต่างกันของคำเดียวกัน) จะต้องมีการตัดสินใจว่ารูปแปรใดจะเป็นรูปมาตรฐาน
ในบางประเทศ การจัดประมวลดังกล่าวกระทำโดยหน่วยงานที่รัฐเป็นผู้จัดตั้ง เช่น บัณฑิตยสถานฝรั่งเศส การจัดประมวลมักเกิดขึ้นเนื่องจากการประดิษฐ์คิดค้นใหม่ ๆ การเปลี่ยนแปลงค่านิยม หรืออิทธิพลทางวัฒนธรรมอื่น ๆ หลังกระบวนการปลดปล่อยอาณานิคมให้มีเอกราช รัฐหลายรัฐในแอฟริกาต้องตัดสินใจว่าพวกเขาจะรักษาภาษาเจ้าอาณานิคมไว้หรือจะเลือกภาษาหนึ่ง (หรือมากกว่าหนึ่ง) ขึ้นมาเป็นภาษาทางการ ซึ่งทำให้กลายเป็นสิ่งจำเป็น
ในตัวแบบการวางแผนภาษาที่เป็นที่รู้จักกันดีของ นักภาษาศาสตร์ชาวอเมริกัน การจัดประมวลเป็นเพียงขั้นตอนที่สอง ขั้นตอนที่หนึ่งคือกระบวนการคัดเลือก ขั้นตอนที่สามคือการนำสิ่งที่ได้เปลี่ยนแปลงไปปฏิบัติในสังคม และขั้นตอนที่สี่คือการจัดทำคำอธิบายคำศัพท์อย่างละเอียด (โดยเฉพาะศัพท์เฉพาะสาขาวิชา) กระบวนการวางแผนภาษามีสองระดับใหญ่ ๆ ได้แก่ การวางแผนชุดข้อมูลและการวางแผนสถานะ การจัดประมวลเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนชุดข้อมูลเนื่องจากมีการวางแผน "เนื้อความ" ของภาษา ไม่ใช่การวางแผนสถานะซึ่งเกี่ยวข้องกับการเสริมระดับและการใช้ตามหลักภาษา:
- การวางแผนชุดข้อมูล: การจัดประมวลภาษา (ขั้นตอนที่ 2); การจัดทำคำอธิบายองค์ประกอบต่าง ๆ ของภาษา เพื่อตอบสนองความต้องการด้านภาษา (ขั้นตอนที่ 4)
- การวางแผนสถานะ: การเลือกภาษา (ขั้นตอนที่ 1); การนำองค์ประกอบต่าง ๆ ไปใช้โดยการเผยแพร่ภาษา (ขั้นตอนที่ 3)
การจัดประมวลจะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับการยอมรับของประชากร รวมทั้งรูปแบบการดำเนินการของรัฐบาล เช่น การส่งเสริมเกียรติภูมิ การเผยแพร่ หรือการสอนบรรทัดฐานที่ผ่านการประมวลแล้วในสถานศึกษาและหลักสูตรภาษา เป็นต้น
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Sutarma, I Gusti Putu; Sadia, I Ketut (2013). Penggunaan bahasa Indonesia di industri pariwisata: studi kasus perencanaan bahasa pada industri pariwisata Bali. Soshum: Jurnal Sosial dan Humaniora (ภาษาอินโดนีเซีย). Vol. 3. p. 124. ISSN 2580-5622.
- http://ofeliagarciadotorg.files.wordpress.com/2011/02/planning-spanish.pdf
- Holmes 2001, p. 102
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangphasasastr karcdpramwl xngkvs codification khuxkrabwnkarkhdeluxk phthna aelawang tnaebbsahrbkarich karcdpramwlphasahnung xacaetktangkniptamaetlakrniaelakhunxyukbladbkhnkhxngkarkahndmatrthanthixacekidkhunaelwtamthrrmchati odythwipkarcdpramwlhmaythungkarphthnarabbkarekhiyn tnghlkeknthechingbrrthdthansahrbiwyakrn xkkhrwithi karxxkesiyng aelakarichsphth tlxdcncdphimphtaraiwyakrn phcnanukrm aelahlkptibtithikhlaykhlungkn inkrnithimirupaeprhlayrupsahrblksnahnung echn twsakdthiaetktangknkhxngkhaediywkn catxngmikartdsinicwarupaepridcaepnrupmatrthan inbangpraeths karcdpramwldngklawkrathaodyhnwynganthirthepnphucdtng echn bnthitysthanfrngess karcdpramwlmkekidkhunenuxngcakkarpradisthkhidkhnihm karepliynaeplngkhaniym hruxxiththiphlthangwthnthrrmxun hlngkrabwnkarpldplxyxananikhmihmiexkrach rthhlayrthinaexfrikatxngtdsinicwaphwkekhacarksaphasaecaxananikhmiwhruxcaeluxkphasahnung hruxmakkwahnung khunmaepnphasathangkar sungthaihklayepnsingcaepn intwaebbkarwangaephnphasathiepnthiruckkndikhxng nkphasasastrchawxemrikn karcdpramwlepnephiyngkhntxnthisxng khntxnthihnungkhuxkrabwnkarkhdeluxk khntxnthisamkhuxkarnasingthiidepliynaeplngipptibtiinsngkhm aelakhntxnthisikhuxkarcdthakhaxthibaykhasphthxyanglaexiyd odyechphaasphthechphaasakhawicha krabwnkarwangaephnphasamisxngradbihy idaek karwangaephnchudkhxmulaelakarwangaephnsthana karcdpramwlepnswnhnungkhxngkarwangaephnchudkhxmulenuxngcakmikarwangaephn enuxkhwam khxngphasa imichkarwangaephnsthanasungekiywkhxngkbkaresrimradbaelakarichtamhlkphasa karwangaephnchudkhxmul karcdpramwlphasa khntxnthi 2 karcdthakhaxthibayxngkhprakxbtang khxngphasa ephuxtxbsnxngkhwamtxngkardanphasa khntxnthi 4 karwangaephnsthana kareluxkphasa khntxnthi 1 karnaxngkhprakxbtang ipichodykarephyaephrphasa khntxnthi 3 karcdpramwlcaprasbkhwamsaerchruximnnkhunxyukbkaryxmrbkhxngprachakr rwmthngrupaebbkardaeninkarkhxngrthbal echn karsngesrimekiyrtiphumi karephyaephr hruxkarsxnbrrthdthanthiphankarpramwlaelwinsthansuksaaelahlksutrphasa epntnduephimphasathangkarxangxingSutarma I Gusti Putu Sadia I Ketut 2013 Penggunaan bahasa Indonesia di industri pariwisata studi kasus perencanaan bahasa pada industri pariwisata Bali Soshum Jurnal Sosial dan Humaniora phasaxinodniesiy Vol 3 p 124 ISSN 2580 5622 http ofeliagarciadotorg files wordpress com 2011 02 planning spanish pdf Holmes 2001 p 102 bthkhwamphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk