บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่
|
การคิดวิเคราะห์, การคิดเชิงวิพากษ์ หรือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (อังกฤษ: critical thinking) เป็นกระบวนการทางเพื่อวิเคราะห์ หรือ ข้อมูล ในคำแถลง หรือ ข้อเสนอที่มีผู้แถลงหรืออ้างว่าเป็นความจริง การคิดวิเคราะห์เป็นรูปแบบของกระบวนการที่สะท้อนให้เห็นความหมายของคำแถลง (statement) และการตรวจสอบหลักฐานที่ได้รับการไต่ตรองด้วยเหตุและผล แล้วจึงทำการตัดสินคำแถลงหรือข้อเสนอที่ถูกอ้างว่าเป็นความจริงนั้น
การคิดวิเคราะห์อาจทำได้จากการรวบรวมข้อมูล การสังเกตการณ์ ประสบการณ์ หรือการสื่อความ การคิดวิเคราะห์ต้องมีพื้นฐานของคุณค่าเชิงพุทธิปัญญาที่สูงเลยไปจากการเป็นเพียงการแบ่งเนื้อหาที่รวมไปถึง ความกระจ่างชัด ความแม่นยำ ความต้องตรงเนื้อหา หลักฐาน ความครบถ้วนและความยุติธรรม
ความหมายหรือมีมากมายและหลากหลาย แต่ส่วนใหญ่ไปในแนวเดียวกันคือการใช้เหตุผล หลักฐานและตรรกะมาวิเคราะห์ให้แน่ชัดก่อนลงความเห็นหรือตัดสิน
ภาพรวม
ภายใต้กรอบแห่ง “” (skepticism) กระบวนการคิดวิเคราะห์เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการสืบหาข้อมูลและการประเมินข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปหรือคำตอบที่เชื่อถือได้ การคิดวิเคราะห์ประกอบด้วย “ตรรกะที่ไม่เป็นทางการ” (informal logic) ผลการวิจัยด้าน (cognitive psychology) ทำให้นักการศึกษาเริ่มเชื่อมากขึ้นว่าสถาบันการศึกษาทุกแห่งควรเน้นการสอนทักษะการคิดวิเคราะห์ให้มากขึ้นแทนการสอนให้เรียนรู้แบบท่องจำ
กระบวนการของการคิดวิเคราะห์สามารถตอบสนองประเด็นและสถานการณ์ได้หลาย ๆ อย่างและทำให้เราสามารถสืบเสาะหาสิ่งเชื่อมโยงระหว่างกันได้ด้วย ดังนั้น การคิดวิเคราะห์จึงเป็นตัวสร้างระบบช่องความคิดต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กับความรู้ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์ และปรัชญา
เราอาจแบ่งการคิดวิเคราะห์ได้เป็นสองลักษณะได้แก่
- ชุดของทักษะการรับรู้ (cognitive skill) และ
- ความสามารถและการใช้ทักษะนั้น ๆ เพื่อเป็นแนวทางแห่ง
การคิดวิเคราะห์ไม่เป็นเพียงการหาและการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือการเป็นเพียงผู้มีทักษะแต่ไม่ได้ใช้อย่างสม่ำเสมอ การคิดวิเคราะห์จึงไม่ใช่เป็นเพียงการฝึกฝนทักษะเพื่อการไม่ยอมรับรองผลเพียงอย่างเดียว
กรรมวิธีของการคิดวิเคราะห์
การคิดวิเคราะห์มีขั้นตอนการคิดที่มีประโยชน์ดังนี้
- การจำแนกความเห็นในประเด็นปัญหาจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องและการจัดเก็บข้อโต้แย้งที่มีตรรกะที่สนับสนุนในแต่ละฝ่าย
- แตกข้อโต้แย้งออกเป็นส่วน ๆ ตามเนื้อหาของคำแถลงและดึงเอาเนื้อหาส่วนเพิ่มเติมที่มีความหมายตรงนัยของคำแถลง
- ตรวจสอบคำแถลงและความหมายตามนัยเหล่านี้เพื่อหาความขัดแย้งในตัวเอง
- บ่งชี้เนื้อหาการอ้างที่ขัดแย้งกันในบรรดาข้อถกเถียงต่าง ๆ ที่มีแล้วจึงใส่น้ำหนักหรือคะแนนให้ข้ออ้างนั้น ๆ
- เพิ่มน้ำหนักเมื่อข้ออ้างมีหลักฐานสนับสนุนที่เด่นชัด โดยเฉพาะการมีเหตุมีผลที่สอดคล้องกัน หรือมีหลักฐานจากแหล่งใหม่ ๆ หลายแหล่ง ลดน้ำหนักเมื่อข้ออ้างมีความขัดแย้งกัน
- ปรับน้ำหนักขึ้นลงตามความสอดคล้องของข้อมูลกับประเด็นกลาง
- จะต้องมีหลักฐานสนับสนุนที่เพียงพอสำหรับใช้ในการตัดสินข้ออ้างที่ไม่น่าเชื่อถือ หรือมิฉะนั้น จะต้องไม่นำประเด็นการกล่าวอ้างดังกล่าวมาประกอบการตัดสิน
- ประเมินน้ำหนักด้านต่าง ๆ ของข้ออ้าง
ผังมโนภาพ (Mind maps) เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสำหรับการจัดรูปและการประเมินค่าข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในขั้นสุดท้าย เราอาจกำหนดน้ำหนักเป็นตัวเลขสำหรับแต่ละแขนงของแผนที่ในใจ
การคิดวิเคราะห์ไม่ใช่สิ่งที่ใช้ประกันว่าได้บรรลุถึงความจริง หรือ ข้อสรุปที่ถูกต้องแล้ว ประการแรก เราอาจไม่สามารถหาข้อมูลที่ถูกต้องได้ ซึ่งโดยข้อเท็จจริงแล้ว ข้อมูลที่มีความสำคัญอาจยังไม่มีการค้นพบ หรือยังเป็นข้อมูลที่ยังไม่มีใครรู้ว่าเป็นอะไร ประการที่สอง ความลำเอียงของคนการปิดบังหรือถ่วงประสิทธิภาพในการเก็บ ประเมินข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
การเอาชนะความลำเอียง
เพื่อลดความลำเอียง ผู้คิดจะต้องมีมาตรการต่าง ๆ เพื่อใช้ในกระบวนการของการคิดวิเคราะห์ แทนที่จะตั้งคำถามว่า “เรื่องนี้มีประเด็นที่ค้านกับความเชื่อของเราหรือไม่” ควรถามว่า “ประเด็นนี้มีความหมายอย่างไร”
ในขั้นแรก ๆ ของการเก็บรวบรวมและประเมินข้อมูล สิ่งแรกสุดที่ผู้คิดจะต้องทำคือ “การไม่ด่วนตัดสิน” (เหมือนที่ทำในการอ่านนิยายหรือดูภาพยนตร์) วิธีการนี้รวมถึง (perceptive) มากกว่า (judgmental) นั่นคือการหลีกเลี่ยงการเลื่อนไหลจากใช้การมองกว้างไปสู่การตัดสิน ในคำเทคนิคของ "เอ็ดเวิร์ด เดอโบโน ใน” ใช้ หมวกขาว หรือหมวกน้ำเงิน สำหรับการคิด และชะลอการคิดแบบหมวกดำ ไว้ในระยะหลัง
เราพึงตระหนักถึงข้อข้อผิดพลาดที่มักเกิดขึ้นกับตนเองได้แก่
- การยอมรับว่าทุกคนมีความลำเอียงอยู่ในจิตใต้สำนึก และมักจะที่จะนำไปสู่การตัดสินที่นึกไว้แล้ว
- ยอมรับการไร้อัตตา และควรตั้งทีท่าเป็นคน
- ย้อนนึกถึงความเชื่อมั่นเดิม ๆ ที่เคยมีและถูกหักล้างไปด้วยจริงหรือความถูกต้อง
- ยอมรับว่าทุกคนยังมี จุดบอด อยู่มากทั้ง ๆ ที่รู้แล้ว
เราจะขจัดความลำเอียงได้อย่างไร ทั้ง ๆ ที่ยังไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร คำตอบที่เป็นไปได้อาจเป็นได้ว่า ด้วยการอิงการคิดวิเคราะห์ไว้กับ “แนวคิดมนุษย์” (concept of man – ) ซึ่งอาจทำให้เห็นการคิดวิเคราะห์และการสร้างสมจรรยาบรรณที่มั่นคงสร้างองค์รวมทั้งหมดขึ้นมา แต่เป็นองค์รวมซึ่งยังคงจำกัดอยู่ ยังขาดการสนับสนุนจากแนวคิดของมวลมนุษย์
ในท้ายที่สุด อาจต้องใช้คำถามแบบโสกราตีส และ (Socratic method) สำหรับการประเมินข้อขัดแย้งที่ถามคำถามแบบเปิด เช่น
- สิ่งนี้มีความหมายว่าอย่างไร
- ข้อสรุปได้มาอย่างไร
- เชื่อได้อย่างไรว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง
- แหล่งข้อมูลที่ใช้มาจากใหน
- ถ้าผิดจะเกิดอะไรขึ้น
- ให้บอกแหล่งหรือบุคคลอ้างอิงที่เห็นแย้งพร้อมกับคำอธิบายสักสองราย
- ทำไมประเด็นนี้จึงมีความสำคัญ
- จะรู้ได้อย่างไรว่าคน ๆ นั้นพูดความจริง
- คำอธิบายที่เป็นทางเลือกอื่นสำหรับประเด็นนี้มีอะไรบ้าง
การมุ่งสู่การสรุป
มุมมองที่เป็นประโยชน์ในการคิดวิเคราะห์เกี่ยวพันถึง “” (Occam's Razor) หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “หลักการแห่งความตระหนี่ถี่ถ้วน” ซึ่งกล่าวไว้ว่าเราไม่ควรตั้งสมมุติฐานมากเกินความจำเป็น หรืออีกนัยหนึ่งคือ “การทำให้เรียบง่าย” โดยธรรมชาติของกระบวนการ การคิดวิเคราะห์ไม่มีความเป็นที่สิ้นสุด เราอาจมาถึงข้อสรุปเบื้องต้นได้หากมีการประเมินหลักฐานมาแล้ว อย่างไรก็ดี ข้อสรุปทุกครั้งควรจะต้องเปิดช่องให้มีการประเมินได้อีกเมื่อมีข้อมูลเพิ่มเติม
การคิดวิเคราะห์ในห้องเรียน
ในระบบการศึกษาของประเทศอังกฤษมีการกำหนดการคิดวิเคราะห์ไว้เป็นวิชาเรียนสำหรับนักเรียนวัย 17-18 ปี ซึ่งนักเรียนสามารถเลือกสอบในหัวเรื่อง “ความเป็นที่น่าเชื่อถือได้ของหลักฐาน” (Credibility of Evidence) หรือ “การประเมิน/การสร้างข้อโต้เถียง” (Assessing/Developing Argument) นักเรียนทั่วไปถือว่าวิชาในส่วนนี้สนุกและเป็นประโยชน์เพราะสามารถรู้เรื่องและปฏิบัติได้หลังการเข้าเรียนเพียงไม่กี่ครั้ง
สำหรับประเทศไทยในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับกันว่าทักษะการคิดวิเคราะห์ของประชาชนโดยรวมลดลงมาก ประชาชนถูกชักจูงและหลงเชื่อการบอกเล่าหรือเชื่อปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติได้ง่าย แม้ส่วนใหญ่จะนับถือพุทธศาสนาแต่ก็มิได้ตระหนักถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าที่สอนให้คิดเชิงการคิดวิเคราะห์ คือ ปุจฉาวิสัชนา และการสอนไม่ให้เชื่อในสิ่ง "เขาว่ามา" ให้สืบสวนไต่ตรองให้รอบคอบก่อนจึงค่อยเชื่อ การสอนการคิดวิเคราะห์ในโรงเรียนชั้นมัธยมปลายดังที่ประเทศอังกฤษปฏิบัติอยู่จึงน่าจะเป็นสิ่งจำเป็นรีบด่วน
คำคม
วิลเลี่ยม แกรแฮม ซัมเนอร์ ได้เสนอข้อสรุปที่เป็นประโยชน์ยิ่งเกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์
การคิดวิเคราะห์คือการตรวจสอบและการทดสอบประเด็นของคำเสนอทุกประเภทที่ผ่านเข้ามาขอการยอมรับ เพื่อดูว่าคำเสนอนั้นตรงกับความเป็นจริงหรือไม่ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์เป็นผลที่เกิดจากการศึกษาและการฝึกฝน จนเป็นนิสัยและเป็นพลังทางใจ การคิดวิเคราะห์เป็นเงื่อนไขสำคัญแห่งความผาสุกของปวงชน เป็นสิ่งมนุษย์ทั้งหญิงและชายพึงฝึกฝนให้ชำนาญ การคิดวิเคราะห์คือหลักประกันที่สามารถปกป้องการบิดเบือน การหลงละเมอ การหลอกลวง การเชื่อผีสางและการหลงผิดของเราและสิ่งล้อมรอบตัวเรา
คำวิจารณ์ มิอาจตัดสินคน
— ขงจื๊อ
ไม่มีประโยชน์ที่จะไปโทษกระจกเงา ใบหน้าของท่านต่างหากที่ขี้เหร่
— นิรนาม
การคิดวิเคราะห์ได้รับการยอมรับว่ามีความสำคัญในการพัฒนาบุคลากรระดับสูงของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในโลกาภิวัตน์ ทุกประเทศตื่นตัวนำการคิดวิเคราะห์บรรจุเป็นวิชาหรือส่วนของการเรียนการสอนในหลักสูตรการศึกษาตั้งแต่ชั้นระดับประถมถึงอุดมศึกษา
ด้วยกระแสแห่งความการยอมรับที่แพร่หลาย นิยามของการคิดวิเคราะห์จึงหลากหลาย ข้อความข้างล่างนี้คือนิยามที่รวบรวมจากแหล่งต่าง ที่มาของนิยามปรากฏตามโยงที่อยู่ที่ท้ายของแต่ละนิยาม
นิยามของการคิดวิเคราะห์
โดยที่แนวคิดเกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์เพิ่งเป็นที่แพร่หลายและมีความสำคัญต่อสังคมแห่งโลกไร้พรมแดนมากขึ้นเป็นลำดับ จึงมีผู้เขียนหนังสือและมีการเปิดสอนวิชานี้อย่างแพร่หลายตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก ดังนั้นความหมายและนิยามของ "การคิดวิเคราะห์" จึงมีความหลากหลายดังนิยามที่ได้รวมรวมไว้ข้างล่างนี้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ศึกษาเห็นภาพที่กว้างขึ้น แหล่งที่มาได้ให้ไว้ที่ท้ายของแต่ละนิยามแล้ว
- การคิดวิเคราะห์หมายถึงชนิดของกิจกรรมทางจิตที่แจ่มแจ้ง แม่นยำและมีความมุ่งหมายที่ชัดเจน ปกติจะเกี่ยวโยงกับการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนในโลกของความเป็นจริง เป็นการสร้างทางแก้ปัญหาเชิงซ้อน เป็นการหยิบยกความแตกต่าง การสังเคราะห์และบูรณาการข้อมูลข่าวสาร ชูความแตกต่างระหว่างกับ หรือการอนุมาณของผลที่จะตามออกมา แต่การคิดวิเคราะห์ยังโยงไปถึงกระบวนการประเมินคุณภาพในความคิดของตนเองได้ด้วย[1] 2007-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์หมายถึงความสามารถในการประเมินข้อมูลและความเห็นอย่างมีระบบ มีเป้าหมายที่ชัดเจนและถูกต้องและด้วยวิธีการที่มีประสิทธิภาพ [2]
- การคิดวิเคราะห์คือเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งยวดเพื่อการตัดสินหรือลงความเห็นด้ววิธีสืบเสาะ กำหมดเป้าหมายที่ถูกต้องชัดเจนและการบังคับตนเองไม่ให้ถูกชักจูง เพื่อให้ได้มาซึ่งการแปลความหมาย การวิเคราะห์ การประเมินและการลงความเห็นตลอดจนการอธิบายพยานหลักฐานหรือสิ่งอ้างอิง แนวคิด วิธีการ การกำหนดกฎเกณฑ์หรือบริบทของข้อพิจารณาที่เป็นที่มาของข้อสรุป ความเห็น หรือข้อตัดสิน[3] 2007-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือกระบวนการรับรู้ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการสะท้อนความคิดและการอดทน (ต่อการหาความกระจ่าง) ในความคลุมเครือไม่ชัดเจนซึ่งมีลักษณะประจำดังนี้
- มีวินัยและชี้นำตนเอง
- หันเหไปทางการสืบค้น วิเคราะห์และวิจารณ์
- ใช้วิธีแก้ไขปัญหาแบบหลายมิติและหลายตรรกะมากกว่าการแก้แบบมิติเดียว ตรรกะเดียว หรือ ใช้ความรู้คิดยาวไปทางเดียว จะต้องใช้ความสามารถสร้างทางเลือกหลายทางที่นำไปสู่การชั่งใจตัดสินที่ปราศจากการเอนเอียง[4] 2007-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือการสะท้อนความคิดที่มีเหตุผลโดยการพุ่งประเด็นไปเน้นที่การตัดสินใจที่จะเชื่อหรือตัดสินใจที่จะกระทำในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง กล่าวให้ชัดก็คือการประเมินในความจริง ความแม่นยำ และ/หรือคุณค่าของความรู้หรือข้อถกเถียงที่ได้รับ ในการนี้ต้องการการวิเคราะห์ความรู้หรือความเชื่อที่ได้รับรู้มาอย่างระมัดระวัง ตรงจุด เกาะติดและเป็นรูปธรรมที่มีเหตุผล เพื่อให้สามารถตัดสินได้ว่าสิ่งนั้น ๆ จริงหรือมีคุณค่าจริงหรือไม่[5] 2007-03-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือกระบวนการประเมินข้อเสนอหรือสมมุติฐานที่ได้รับแล้วทำการไตร่ตรองตัดสินบนพื้นฐานแห่งพยานหลักฐานที่นำมาสนับสนุน ตัวอย่าง: พิจารณาตาม 5 ขั้นตอนของการคิดวิเคราะห์
- เรากำลังถูกบอกให้เชื่อหรือยอมรับอะไร? สมมุติฐานในเรื่องนี้คืออะไร?
- มีพยานหลักฐานใดที่ใช้สนับสนุนในเรื่องนี้? และหลักฐานนี้เชื่อถือได้และหนักแน่นแล้วหรือ?
- มีทางเลือกอื่นใดอีกหรือไม่สำหรับใช้ในการตีความพยานหลักฐานนี้
- มีหลักฐานเพิ่มเติมอื่นใดอีกหรือไม่ที่จะนำมาช่วยประเมินทางเลือกเหล่านั้น
- ข้อสรุปใดที่มีเหตุผลมากที่สุดตามพยานหลักฐานและคำอธิบายของทางเลือก[6] 2007-02-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือการเจาะมุ่งเฉพาะจุด การจัดรูปความคิดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ อย่างมีความสัมพันธ์กันในระหว่างความคิดต่าง ๆ ในหลักฐานที่แน่ชัดและในความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับความเห็น[7] 2007-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือความมุ่งมั่นยึดติดกับการตรวจสอบหลักฐานที่สนับสนุนความเชื่อ ทางแก้ปัญหา หรือข้อสรุปการยอมรับ การคิดวิเคราะห์หมายถึงความสามารถในการคิดอย่างกระจ่าง การวิเคราะห์และการมีให้เหตุผลอย่างมีตรรกะ[8] 2007-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือการแสดงให้เห็นถึงหรือความต้องการการวิเคราะห์อย่างระมัดระวังก่อนการตัดสิน[9] 2007-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือการให้เหตุผลและการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ที่รวมถึงการตะล่อมและการมีตรรกะในของการคิดที่อยู่ในระดับสูง[10] 2005-02-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือการเก็บเกี่ยวทักษะเชิงวิเคราะห์ที่จะช่วยให้นิสิตนักศึกษามีความสามารถในการแก้แนวคิดหรือปัญหาต่าง ๆ ที่ซับซ้อนได้[11] 2007-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือเซทที่ซับซ้อนของทักษะการรับรู้ที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหาและการพิจารณาสิ่งต่าง ๆ อย่างมีปัญญาและนวัตกรรม[12] 2007-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือกระบวนการที่ท้าทายให้บุคคลใช้การไตร่ตรอง เหตุผล การคิดอย่างมีหลักเพื่อรวบรวม แปลความหมายและประเมินข้อมูลข่าวสารเพื่อให้สามารถตัดสิน กระบวนการนี้เกี่ยวข้องกับการคิดที่ล่วงเลยไปมากกว่าการให้เหตุผลเพียงอันเดียวสำหรับนำมาใช้ในการตัดสินว่าทางเลือกใดเหมาะสมที่สุด[13] 2007-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือทักษะที่สำคัญที่สุดสำหรับการศึกษาในมหาวิทยาลัยและสถาบันที่สูงกว่านั้น เป็นการค้นหาความหมายที่อยู่เบื้องใต้ของคำแถลง กวีนิพนธ์ บทบรรณาธิการ รูปภาพ การโฆษณา หรือข้อเขียนใด ๆ ด้วยการใช้การวิเคราะห์ นักคิดเชิงวิจารณ์จะแยกคำแถลงหรือข้อเขียนนั้นออกเป็นส่วน ๆ เพื่อค้นหาความหมาย ความสัมพันธ์และสมมุติฐานอาจอาจถูกฝังไว้ในนั้นต่อไป[14]
- การคิดวิเคราะห์คือหนทางแห่งการตัดสินที่ต้องใช้การไตร่ตรองอย่างระมัดระวังว่าจะยอมรับ บอกปัดหรือพักคำแถลงนั้นไว้ก่อน[15]
- การคิดวิเคราะห์คือกระบวนการที่มีเหตุผลและที่สะท้อนถึงการชั่งใจตัดสินในสิ่งต่าง ๆ กระบวนการนี้ให้ความสำคัญในความเป็นเอกเทศและกึ่งเอกเทศในการตัดสินใจ การคิดวิเคราะห์ยังรวมถึงความสามารถในการจัดการกับความคลุมเครือซึ่งเป็นสิ่งที่มีประจำในบทบาทและประสบการณ์ของมนุษย์ทั่วไป
[16] 2005-12-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือกระบวนการที่มีระบบการใช้ปัญญาเพื่อการวางแนวความคิด การประยุกต์ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และ/หรือประเมินข้อมูลด้วยทักษะที่กระตือรือล้นด้วยการสังเกต การเข้าไปมีประสบการณ์ การสะท้อนกลับ การให้เหตุผลและ/หรือด้วยการสื่อ เพื่อใช้เป็นแนวทางไปสู่ความเชื่อหรือการปฏิบัติ
- การคิดวิเคราะห์ไม่ใช่การเสาะหาหรือการคงไว้ซึ่งข้อมูลแบบธรรมดาทั่วไป ไม่ใช่เป็นการพัฒนาเซทเฉพาะของทักษะ และ/หรือการประยุกต์ทักษะเหล่านั้นซ้ำ ๆ โดยปราศจากประเมินผลลัพธ์เชิงวิจารณ์
- การคิดวิเคราะห์ครอบคลุมถึงองค์ประกอบของเหตุผลทั้ง 8 นั่นคือ ความมุ่งหมาย จุดความเห็น คำถามของประเด็น ข้อมูลข่าวสาร การแปลความหมายและการอนุมาน แนวคิดหรือมโนทัศน์ ข้อสมมติ การชี้บ่งเป็นนัยและผลที่จะตามมา [17] 2007-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคิดวิเคราะห์คือกระบวนการทางจิตที่ใช้ในการวิเคราะห์หรือประเมินข้อมูล ข้อมูลดังกล่าวอาจเก็บรวบรวมจากการสังเกตการณ์ ประสบการณ์ การใช้เหตุผล หรือจากการสื่อความ การคิดวิเคราะห์มีพื้นฐานของมันเองทางคุณค่าแห่งพุทธิปัญญาที่ล้ำลึกไปจากการแบ่งเรื่องราวโดยรวมถึง ความกระจ่างแจ้ง ความแม่นยำ การมีพยานหลักฐาน การครบถ้วนและการมีความยุติธรรม
อ้างอิง
- ราชบัณฑิตยสถาน (2530). พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. p. 492.
- สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2549). แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์. กรุงเทพฯ. ISBN .
- "การคิดเชิงวิพากษ์ในงานสังคมสงเคราะห์ (Critical Thinking in Social Work)". สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย. 15 มิถุนายน 2555. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2555.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย (2543). การคิดอย่างมีวิจารณญาณ: การเรียนการสอนทางพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส แอนกราฟิก.
- ทิศนา แขมมณี (2534). "การพัฒนากระบวนการคิด". วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ตุลาคม-ธันวาคม): 19-28.
แหล่งข้อมูลอื่น
- การคิดวิเคราะห์ใน YouTube โดยมูลนิธิการคิดวิเคราะห์
- ชุมชนนักคิดเชิงวิจารณญาณ-เว็บไซต์มูลนิธิการคิดวิเคราะห์ (ภาษาอังกฤษ) 2008-05-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การสอนการคิดวิเคราะห์ในระดับชั้นประถมศึกษาต้น อนุบาล- ป.3 (ภาษาอังกฤษ)
- การสอนการคิดวิเคราะห์ในระดับชั้นประถมศึกษาปลาย ป. 4-6 (ภาษาอังกฤษ)
- การสอนการคิดวิเคราะห์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาต้น ม. 1-3 (ภาษาอังกฤษ)
- คู่มือการสอนการคิดวิเคราะห์ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 4-6 (ภาษาอังกฤษ)
- คู่มือการสอนการคิดวิเคราะห์ในระดับอุดมศึกษาปริญญาตรี (ภาษาอังกฤษ)
- การคิดวิเคราะห์คืออะไร เหตุใดจึงสำคัญ (ภาษาอังกฤษ) 2008-04-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
อ้างอิง
- Paul, R. and Elder L. 2002. Critical Thinking: Tools for Taking Charge of Your Professional and Personal Life. Published by Financial Times Prentice Hall. .
- Paul, R., Elder, L., and Bartell T. 1997. California Teacher Preparation for Instruction in Critical Thinking: Research Findings and Policy Recommendations. California Commission on Teacher Credentialing. Foundation for Critical Thinking, Sacramento California.
- Whyte, P. 2003. Bad Thoughts - A Guide to Clear Thinking. Published by Corvo. .
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด "คำวัด" วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
- เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ การคิดเชิงวิพากษ์ Success Media กรุงเทพฯ พ.ศ. 2549.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamnitxngkarcdrupaebbkhxkhwam karcdhna karaebnghwkhx karcdlingkphayin aelaxun bthkhwamniyngkhadaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng karkhidwiekhraah karkhidechingwiphaks hrux karkhidxyangmiwicarnyan xngkvs critical thinking epnkrabwnkarthangephuxwiekhraah hrux khxmul inkhaaethlng hrux khxesnxthimiphuaethlnghruxxangwaepnkhwamcring karkhidwiekhraahepnrupaebbkhxngkrabwnkarthisathxnihehnkhwamhmaykhxngkhaaethlng statement aelakartrwcsxbhlkthanthiidrbkarittrxngdwyehtuaelaphl aelwcungthakartdsinkhaaethlnghruxkhxesnxthithukxangwaepnkhwamcringnnpratimakrrm The Thinker ph s 2422 2432 odyxxkst oraedng pratimakrchawfrngess ph s 2383 2460 thimikarcalxngiptngtammhawithyalyaelasthabnkarsuksa wicysakhyrwmthngphiphithphnthtang ekuxbthukthwipthwolkimnxykwa 30 aehng karkhidwiekhraahxacthaidcakkarrwbrwmkhxmul karsngektkarn prasbkarn hruxkarsuxkhwam karkhidwiekhraahtxngmiphunthankhxngkhunkhaechingphuththipyyathisungelyipcakkarepnephiyngkaraebngenuxhathirwmipthung khwamkracangchd khwamaemnya khwamtxngtrngenuxha hlkthan khwamkhrbthwnaelakhwamyutithrrm khwamhmayhruxmimakmayaelahlakhlay aetswnihyipinaenwediywknkhuxkarichehtuphl hlkthanaelatrrkamawiekhraahihaenchdkxnlngkhwamehnhruxtdsinphaphrwmphayitkrxbaehng skepticism krabwnkarkhidwiekhraahekiywkhxngsmphnthkbkarsubhakhxmulaelakarpraeminkhxmulephuxihidmasungkhxsruphruxkhatxbthiechuxthuxid karkhidwiekhraahprakxbdwy trrkathiimepnthangkar informal logic phlkarwicydan cognitive psychology thaihnkkarsuksaerimechuxmakkhunwasthabnkarsuksathukaehngkhwrennkarsxnthksakarkhidwiekhraahihmakkhunaethnkarsxniheriynruaebbthxngca krabwnkarkhxngkarkhidwiekhraahsamarthtxbsnxngpraednaelasthankarnidhlay xyangaelathaiherasamarthsubesaahasingechuxmoyngrahwangkniddwy dngnn karkhidwiekhraahcungepntwsrangrabbchxngkhwamkhidtang thismphnthkbkhwamru echn withyasastr khnitsastr wiswkrrmsastr prawtisastr manusywithya esrsthsastr aelaprchya eraxacaebngkarkhidwiekhraahidepnsxnglksnaidaek chudkhxngthksakarrbru cognitive skill aela khwamsamarthaelakarichthksann ephuxepnaenwthangaehng karkhidwiekhraahimepnephiyngkarhaaelakarekbrwbrwmkhxmul hruxkarepnephiyngphumithksaaetimidichxyangsmaesmx karkhidwiekhraahcungimichepnephiyngkarfukfnthksaephuxkarimyxmrbrxngphlephiyngxyangediywkrrmwithikhxngkarkhidwiekhraahkarkhidwiekhraahmikhntxnkarkhidthimipraoychndngni karcaaenkkhwamehninpraednpyhacakthukfaythiekiywkhxngaelakarcdekbkhxotaeyngthimitrrkathisnbsnuninaetlafay aetkkhxotaeyngxxkepnswn tamenuxhakhxngkhaaethlngaeladungexaenuxhaswnephimetimthimikhwamhmaytrngnykhxngkhaaethlng trwcsxbkhaaethlngaelakhwamhmaytamnyehlaniephuxhakhwamkhdaeyngintwexng bngchienuxhakarxangthikhdaeyngkninbrrdakhxthkethiyngtang thimiaelwcungisnahnkhruxkhaaennihkhxxangnn ephimnahnkemuxkhxxangmihlkthansnbsnunthiednchd odyechphaakarmiehtumiphlthisxdkhlxngkn hruxmihlkthancakaehlngihm hlayaehlng ldnahnkemuxkhxxangmikhwamkhdaeyngkn prbnahnkkhunlngtamkhwamsxdkhlxngkhxngkhxmulkbpraednklang catxngmihlkthansnbsnunthiephiyngphxsahrbichinkartdsinkhxxangthiimnaechuxthux hruxmichann catxngimnapraednkarklawxangdngklawmaprakxbkartdsin praeminnahnkdantang khxngkhxxang phngmonphaph Mind maps epnekhruxngmuxthimiprasiththiphaphsahrbkarcdrupaelakarpraeminkhakhxmultang thiekiywkhxng inkhnsudthay eraxackahndnahnkepntwelkhsahrbaetlaaekhnngkhxngaephnthiinic karkhidwiekhraahimichsingthiichpraknwaidbrrluthungkhwamcring hrux khxsrupthithuktxngaelw prakaraerk eraxacimsamarthhakhxmulthithuktxngid sungodykhxethccringaelw khxmulthimikhwamsakhyxacyngimmikarkhnphb hruxyngepnkhxmulthiyngimmiikhrruwaepnxair prakarthisxng khwamlaexiyngkhxngkhnkarpidbnghruxthwngprasiththiphaphinkarekb praeminkhxmulthimixyuaelwkarexachnakhwamlaexiyngephuxldkhwamlaexiyng phukhidcatxngmimatrkartang ephuxichinkrabwnkarkhxngkarkhidwiekhraah aethnthicatngkhathamwa eruxngnimipraednthikhankbkhwamechuxkhxngerahruxim khwrthamwa praednnimikhwamhmayxyangir inkhnaerk khxngkarekbrwbrwmaelapraeminkhxmul singaerksudthiphukhidcatxngthakhux karimdwntdsin ehmuxnthithainkarxanniyayhruxduphaphyntr withikarnirwmthung perceptive makkwa judgmental nnkhuxkarhlikeliyngkareluxnihlcakichkarmxngkwangipsukartdsin inkhaethkhnikhkhxng exdewird edxobon in ich hmwkkhaw hruxhmwknaengin sahrbkarkhid aelachalxkarkhidaebbhmwkda iwinrayahlng eraphungtrahnkthungkhxkhxphidphladthimkekidkhunkbtnexngidaek karyxmrbwathukkhnmikhwamlaexiyngxyuincititsanuk aelamkcathicanaipsukartdsinthinukiwaelw yxmrbkarirxtta aelakhwrtngthithaepnkhn yxnnukthungkhwamechuxmnedim thiekhymiaelathukhklangipdwycringhruxkhwamthuktxng yxmrbwathukkhnyngmi cudbxd xyumakthng thiruaelw eracakhcdkhwamlaexiyngidxyangir thng thiyngimruwaxairepnxair khatxbthiepnipidxacepnidwa dwykarxingkarkhidwiekhraahiwkb aenwkhidmnusy concept of man sungxacthaihehnkarkhidwiekhraahaelakarsrangsmcrryabrrnthimnkhngsrangxngkhrwmthnghmdkhunma aetepnxngkhrwmsungyngkhngcakdxyu yngkhadkarsnbsnuncakaenwkhidkhxngmwlmnusy inthaythisud xactxngichkhathamaebboskratis aela Socratic method sahrbkarpraeminkhxkhdaeyngthithamkhathamaebbepid echn singnimikhwamhmaywaxyangir khxsrupidmaxyangir echuxidxyangirwaepnsingthithuktxng aehlngkhxmulthiichmacakihn thaphidcaekidxairkhun ihbxkaehlnghruxbukhkhlxangxingthiehnaeyngphrxmkbkhaxthibaysksxngray thaimpraednnicungmikhwamsakhy caruidxyangirwakhn nnphudkhwamcring khaxthibaythiepnthangeluxkxunsahrbpraednnimixairbangkarmungsukarsrupmummxngthiepnpraoychninkarkhidwiekhraahekiywphnthung Occam s Razor hruxthieriykxikxyanghnungwa hlkkaraehngkhwamtrahnithithwn sungklawiwwaeraimkhwrtngsmmutithanmakekinkhwamcaepn hruxxiknyhnungkhux karthaiheriybngay odythrrmchatikhxngkrabwnkar karkhidwiekhraahimmikhwamepnthisinsud eraxacmathungkhxsrupebuxngtnidhakmikarpraeminhlkthanmaaelw xyangirkdi khxsrupthukkhrngkhwrcatxngepidchxngihmikarpraeminidxikemuxmikhxmulephimetimkarkhidwiekhraahinhxngeriyninrabbkarsuksakhxngpraethsxngkvsmikarkahndkarkhidwiekhraahiwepnwichaeriynsahrbnkeriynwy 17 18 pi sungnkeriynsamartheluxksxbinhweruxng khwamepnthinaechuxthuxidkhxnghlkthan Credibility of Evidence hrux karpraemin karsrangkhxotethiyng Assessing Developing Argument nkeriynthwipthuxwawichainswnnisnukaelaepnpraoychnephraasamarthrueruxngaelaptibtiidhlngkarekhaeriynephiyngimkikhrng sahrbpraethsithyinpccubn epnthiyxmrbknwathksakarkhidwiekhraahkhxngprachachnodyrwmldlngmak prachachnthukchkcungaelahlngechuxkarbxkelahruxechuxpraktkarnehnuxthrrmchatiidngay aemswnihycanbthuxphuththsasnaaetkmiidtrahnkthungkhasxnkhxngphraphuththecathisxnihkhidechingkarkhidwiekhraah khux pucchawischna aelakarsxnimihechuxinsing ekhawama ihsubswnittrxngihrxbkhxbkxncungkhxyechux karsxnkarkhidwiekhraahinorngeriynchnmthymplaydngthipraethsxngkvsptibtixyucungnacaepnsingcaepnribdwnkhakhmwileliym aekraehm smenxr idesnxkhxsrupthiepnpraoychnyingekiywkbkarkhidwiekhraah karkhidwiekhraahkhuxkartrwcsxbaelakarthdsxbpraednkhxngkhaesnxthukpraephththiphanekhamakhxkaryxmrb ephuxduwakhaesnxnntrngkbkhwamepncringhruxim khwamsamarthinkarkhidwiekhraahepnphlthiekidcakkarsuksaaelakarfukfn cnepnnisyaelaepnphlngthangic karkhidwiekhraahepnenguxnikhsakhyaehngkhwamphasukkhxngpwngchn epnsingmnusythnghyingaelachayphungfukfnihchanay karkhidwiekhraahkhuxhlkpraknthisamarthpkpxngkarbidebuxn karhlnglaemx karhlxklwng karechuxphisangaelakarhlngphidkhxngeraaelasinglxmrxbtwera khawicarn mixactdsinkhn khngcux immipraoychnthicaipothskrackenga ibhnakhxngthantanghakthikhiehr nirnam karkhidwiekhraahidrbkaryxmrbwamikhwamsakhyinkarphthnabukhlakrradbsungkhxngpraethstang thwolkephuxephimkhidkhwamsamarthinkaraekhngkhninolkaphiwtn thukpraethstuntwnakarkhidwiekhraahbrrcuepnwichahruxswnkhxngkareriynkarsxninhlksutrkarsuksatngaetchnradbprathmthungxudmsuksa dwykraaesaehngkhwamkaryxmrbthiaephrhlay niyamkhxngkarkhidwiekhraahcunghlakhlay khxkhwamkhanglangnikhuxniyamthirwbrwmcakaehlngtang thimakhxngniyamprakttamoyngthixyuthithaykhxngaetlaniyamniyamkhxngkarkhidwiekhraahodythiaenwkhidekiywkbkarkhidwiekhraahephingepnthiaephrhlayaelamikhwamsakhytxsngkhmaehngolkirphrmaednmakkhunepnladb cungmiphuekhiynhnngsuxaelamikarepidsxnwichanixyangaephrhlaytammhawithyalytang thwolk dngnnkhwamhmayaelaniyamkhxng karkhidwiekhraah cungmikhwamhlakhlaydngniyamthiidrwmrwmiwkhanglangni thngniephuxihphusuksaehnphaphthikwangkhun aehlngthimaidihiwthithaykhxngaetlaniyamaelw karkhidwiekhraahhmaythungchnidkhxngkickrrmthangcitthiaecmaecng aemnyaaelamikhwammunghmaythichdecn pkticaekiywoyngkbkaraekpyhathisbsxninolkkhxngkhwamepncring epnkarsrangthangaekpyhaechingsxn epnkarhyibykkhwamaetktang karsngekhraahaelaburnakarkhxmulkhawsar chukhwamaetktangrahwangkb hruxkarxnumankhxngphlthicatamxxkma aetkarkhidwiekhraahyngoyngipthungkrabwnkarpraeminkhunphaphinkhwamkhidkhxngtnexngiddwy 1 2007 03 11 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahhmaythungkhwamsamarthinkarpraeminkhxmulaelakhwamehnxyangmirabb miepahmaythichdecnaelathuktxngaeladwywithikarthimiprasiththiphaph 2 karkhidwiekhraahkhuxekhruxngmuxthicaepnyingywdephuxkartdsinhruxlngkhwamehndwwithisubesaa kahmdepahmaythithuktxngchdecnaelakarbngkhbtnexngimihthukchkcung ephuxihidmasungkaraeplkhwamhmay karwiekhraah karpraeminaelakarlngkhwamehntlxdcnkarxthibayphyanhlkthanhruxsingxangxing aenwkhid withikar karkahndkdeknthhruxbribthkhxngkhxphicarnathiepnthimakhxngkhxsrup khwamehn hruxkhxtdsin 3 2007 03 11 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkrabwnkarrbruthitngxyubnphunthankhxngkarsathxnkhwamkhidaelakarxdthn txkarhakhwamkracang inkhwamkhlumekhruximchdecnsungmilksnapracadngni miwinyaelachinatnexng hnehipthangkarsubkhn wiekhraahaelawicarn ichwithiaekikhpyhaaebbhlaymitiaelahlaytrrkamakkwakaraekaebbmitiediyw trrkaediyw hrux ichkhwamrukhidyawipthangediyw catxngichkhwamsamarthsrangthangeluxkhlaythangthinaipsukarchngictdsinthiprascakkarexnexiyng 4 2007 03 03 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkarsathxnkhwamkhidthimiehtuphlodykarphungpraednipennthikartdsinicthicaechuxhruxtdsinicthicakrathainsingidsinghnung klawihchdkkhuxkarpraemininkhwamcring khwamaemnya aela hruxkhunkhakhxngkhwamruhruxkhxthkethiyngthiidrb inkarnitxngkarkarwiekhraahkhwamruhruxkhwamechuxthiidrbrumaxyangramdrawng trngcud ekaatidaelaepnrupthrrmthimiehtuphl ephuxihsamarthtdsinidwasingnn cringhruxmikhunkhacringhruxim 5 2007 03 01 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkrabwnkarpraeminkhxesnxhruxsmmutithanthiidrbaelwthakaritrtrxngtdsinbnphunthanaehngphyanhlkthanthinamasnbsnun twxyang phicarnatam 5 khntxnkhxngkarkhidwiekhraaherakalngthukbxkihechuxhruxyxmrbxair smmutithanineruxngnikhuxxair miphyanhlkthanidthiichsnbsnunineruxngni aelahlkthanniechuxthuxidaelahnkaennaelwhrux mithangeluxkxunidxikhruximsahrbichinkartikhwamphyanhlkthanni mihlkthanephimetimxunidxikhruximthicanamachwypraeminthangeluxkehlann khxsrupidthimiehtuphlmakthisudtamphyanhlkthanaelakhaxthibaykhxngthangeluxk 6 2007 02 08 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkarecaamungechphaacud karcdrupkhwamkhidekiywkbsingtang xyangmikhwamsmphnthkninrahwangkhwamkhidtang inhlkthanthiaenchdaelainkhwamaetktangrahwangkhxethccringkbkhwamehn 7 2007 09 28 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkhwammungmnyudtidkbkartrwcsxbhlkthanthisnbsnunkhwamechux thangaekpyha hruxkhxsrupkaryxmrb karkhidwiekhraahhmaythungkhwamsamarthinkarkhidxyangkracang karwiekhraahaelakarmiihehtuphlxyangmitrrka 8 2007 03 10 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkaraesdngihehnthunghruxkhwamtxngkarkarwiekhraahxyangramdrawngkxnkartdsin 9 2007 03 11 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkarihehtuphlaelakarwiekhraahxyangepnrabb thirwmthungkartalxmaelakarmitrrkainkhxngkarkhidthixyuinradbsung 10 2005 02 13 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkarekbekiywthksaechingwiekhraahthicachwyihnisitnksuksamikhwamsamarthinkaraekaenwkhidhruxpyhatang thisbsxnid 11 2007 09 30 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxesththisbsxnkhxngthksakarrbruthitxngichinkaraekpyhaaelakarphicarnasingtang xyangmipyyaaelanwtkrrm 12 2007 03 12 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkrabwnkarthithathayihbukhkhlichkaritrtrxng ehtuphl karkhidxyangmihlkephuxrwbrwm aeplkhwamhmayaelapraeminkhxmulkhawsarephuxihsamarthtdsin krabwnkarniekiywkhxngkbkarkhidthilwngelyipmakkwakarihehtuphlephiyngxnediywsahrbnamaichinkartdsinwathangeluxkidehmaasmthisud 13 2007 02 19 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxthksathisakhythisudsahrbkarsuksainmhawithyalyaelasthabnthisungkwann epnkarkhnhakhwamhmaythixyuebuxngitkhxngkhaaethlng kwiniphnth bthbrrnathikar rupphaph karokhsna hruxkhxekhiynid dwykarichkarwiekhraah nkkhidechingwicarncaaeykkhaaethlnghruxkhxekhiynnnxxkepnswn ephuxkhnhakhwamhmay khwamsmphnthaelasmmutithanxacxacthukfngiwinnntxip 14 karkhidwiekhraahkhuxhnthangaehngkartdsinthitxngichkaritrtrxngxyangramdrawngwacayxmrb bxkpdhruxphkkhaaethlngnniwkxn 15 karkhidwiekhraahkhuxkrabwnkarthimiehtuphlaelathisathxnthungkarchngictdsininsingtang krabwnkarniihkhwamsakhyinkhwamepnexkethsaelakungexkethsinkartdsinic karkhidwiekhraahyngrwmthungkhwamsamarthinkarcdkarkbkhwamkhlumekhruxsungepnsingthimipracainbthbathaelaprasbkarnkhxngmnusythwip 16 2005 12 18 thi ewyaebkaemchchin karkhidwiekhraahkhuxkrabwnkarthimirabbkarichpyyaephuxkarwangaenwkhwamkhid karprayukt karwiekhraah karsngekhraahaela hruxpraeminkhxmuldwythksathikratuxruxlndwykarsngekt karekhaipmiprasbkarn karsathxnklb karihehtuphlaela hruxdwykarsux ephuxichepnaenwthangipsukhwamechuxhruxkarptibtikarkhidwiekhraahimichkaresaahahruxkarkhngiwsungkhxmulaebbthrrmdathwip imichepnkarphthnaesthechphaakhxngthksa aela hruxkarprayuktthksaehlannsa odyprascakpraeminphllphthechingwicarnkarkhidwiekhraahkhrxbkhlumthungxngkhprakxbkhxngehtuphlthng 8 nnkhux khwammunghmay cudkhwamehn khathamkhxngpraedn khxmulkhawsar karaeplkhwamhmayaelakarxnuman aenwkhidhruxmonthsn khxsmmti karchibngepnnyaelaphlthicatamma 17 2007 03 11 thi ewyaebkaemchchinkarkhidwiekhraahkhuxkrabwnkarthangcitthiichinkarwiekhraahhruxpraeminkhxmul khxmuldngklawxacekbrwbrwmcakkarsngektkarn prasbkarn karichehtuphl hruxcakkarsuxkhwam karkhidwiekhraahmiphunthankhxngmnexngthangkhunkhaaehngphuththipyyathilalukipcakkaraebngeruxngrawodyrwmthung khwamkracangaecng khwamaemnya karmiphyanhlkthan karkhrbthwnaelakarmikhwamyutithrrmxangxingrachbnthitysthan 2530 phcnanukrmchbbechlimphraekiyrti ph s 2530 krungethph wthnaphanich p 492 sankwichakaraelamatrthankarsuksa sankngankhnakrrmkarkarsuksakhnphunthan 2549 aenwthangkarcdkareriynruephuxphthnathksakarkhidwiekhraah krungethph ISBN 974 477 683 8 karkhidechingwiphaksinngansngkhmsngekhraah Critical Thinking in Social Work smakhmnksngkhmsngekhraahaehngpraethsithy 15 mithunayn 2555 subkhnemux 20 knyayn 2555 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help xrphrrn luxbuythwchchy 2543 karkhidxyangmiwicarnyan kareriynkarsxnthangphyabalsastr krungethph thnaephrs aexnkrafik thisna aekhmmni 2534 karphthnakrabwnkarkhid warsarkhrusastr culalngkrnmhawithyaly krungethph culalngkrnmhawithyaly tulakhm thnwakhm 19 28 aehlngkhxmulxunkarkhidwiekhraahin YouTube odymulnithikarkhidwiekhraah chumchnnkkhidechingwicarnyan ewbistmulnithikarkhidwiekhraah phasaxngkvs 2008 05 09 thi ewyaebkaemchchin karsxnkarkhidwiekhraahinradbchnprathmsuksatn xnubal p 3 phasaxngkvs karsxnkarkhidwiekhraahinradbchnprathmsuksaplay p 4 6 phasaxngkvs karsxnkarkhidwiekhraahinradbchnmthymsuksatn m 1 3 phasaxngkvs khumuxkarsxnkarkhidwiekhraahchnmthymsuksatxnplay m 4 6 phasaxngkvs khumuxkarsxnkarkhidwiekhraahinradbxudmsuksapriyyatri phasaxngkvs karkhidwiekhraahkhuxxair ehtuidcungsakhy phasaxngkvs 2008 04 21 thi ewyaebkaemchchinxangxingPaul R and Elder L 2002 Critical Thinking Tools for Taking Charge of Your Professional and Personal Life Published by Financial Times Prentice Hall ISBN 0 13 064760 8 Paul R Elder L and Bartell T 1997 California Teacher Preparation for Instruction in Critical Thinking Research Findings and Policy Recommendations California Commission on Teacher Credentialing Foundation for Critical Thinking Sacramento California Whyte P 2003 Bad Thoughts A Guide to Clear Thinking Published by Corvo ISBN 0 9543255 3 2 phrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch p th 9 rachbnthit phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd wdrachoxrsaram krungethph ph s 2548 ekriyngskdi ecriywngsskdi karkhidechingwiphaks Success Media krungethph ph s 2549 ISBN 974 489 440 7