การกำจัดกากนิวเคลียร์แบบรูเจาะลึก (อังกฤษ: Deep borehole disposal) เป็นแนวคิดของการกำจัดกากกัมมันตรังสีระดับสูงจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในรูที่เจาะลึกมากยิ่งกว่าพื้นที่เก็บกากนิวเคลียร์ลึกใต้ดิน. การกำจัดแบบนี้จะหาพื้นที่เพื่อวางของเสียที่ลึกมากสุดถึงห้ากิโลเมตรใต้พื้นผิวของโลกและอาศัยหลักเบื้องต้นในความหนาของสิ่งกีดขวางทางธรณีวิทยาธรรมชาติเพื่อแยกของเสียออกจากชีวมณฑลได้อย่างปลอดภัยเป็นระยะเวลานานมากเพื่อที่ว่ามันไม่ควรก่อให้เกิดภัยคุกคามต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม. แนวคิดนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นในปี 1970s แต่เมื่อเร็วๆนี้ ข้อเสนออันหนึ่งสำหรับรูเจาะเพื่อการทดลองครั้งแรกได้รับการเสนอโดยสมาคมที่นำโดยห้องปฏิบัติการแห่งชาติซานเดีย.
ภาพประกอบ
ในแผนภาพ solution domain ได้ถูกนำมาใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการสร้างแบบจำลองคอมพิวเตอร์ของการไหลของความร้อนรอบรูเจาะ
รายละเอียด
แนวคิดคือการเจาะรูลึกประมาณ 5 กิโลเมตรลงไปในเปลือกโลก. ของเสียระดับสูง, เช่นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้ว, ที่ถูกปิดผนึกไว้ก่อนแล้วในภาชนะเหล็กที่แข็งแกร่งจะถูกหย่อนลงในไปรูเจาะ, เติมจากด้านล่างขึ้นมาหนึ่งหรือสองกิโลเมตรของรู. เทคโนโลยีในปัจจุบันจำกัดเส้นผ่าศูนย์กลางของรูเจาะอยู่ที่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร. นี่หมายความว่าขยะบางส่วนที่ปัจจุบันถูกเก็บอยู่ในภาชนะบรรจุขนาดใหญ่จะต้องมีการบรรจุใหม่ในภาชนะบรรจุที่มีขนาดเล็กลง. จากนั้น ส่วนที่เหลือของรูเจาะจะถูกปิดผนึกด้วยวัสดุที่เหมาะสม, รวมทั้งอาจจะเป็นดินเหนียว, ซีเมนต์, หินคลุก, และยางมะตอย, เพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งกีดขวางที่มีความซึมผ่านต่ำ(อังกฤษ: low-permeability barrier)จะอยู่ระหว่างของเสียและพื้นผิวดิน. ในบางแนวคิด, ของเสียอาจจะถูกห่อหุ้มด้วยซีเมนต์อัดหรือบัฟเฟอร์ด้วยสารเบนโทไนท์แรงอัดสูงที่ข่วยให้การเก็บกับได้แน่นหนายิ่งขึ้นและเพื่อแบ่งเบาผลกระทบของการเคลื่อนไหวของชั้นหินโดยรอบ. สถานการณ์ของอุณหภูมิที่สูงที่ออกมาจากของเสียร้อนที่มาใหม่ๆในภาชนะบรรจุ, มันปล่อยความร้อนมากพอที่จะสร้างโซนละลายรอบรูเจาะ. ในขณะที่ของเสียนั้นสลายตัวและเย็นลง, โซนละลายเริ่มแข็งตัวใหม่, กลายเป็นโลงหินแกรนิตก้อนแข็งรอบภาชนะบรรจุ, ฝังของเสียนั้นไปตลอดกาล. ภายใต้ทั้งสองสถานการณ์, สภาวะที่ลดลงทางเคมีที่อยู่ติดกับรูเจาะจะช่วยลดการขนส่งของสารกัมมันตรังสีส่วนใหญ่[].
แนวคิดรูเจาะลึกสามารถนำไปใช้กับปริมาณของเสียใดๆ. สำหรับประเทศที่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์โรงเดียว, สินค้าคงคลังทั้งหมดของกากนิวเคลียร์ระดับสูงอาจจะถูกกำจัดได้ในรูเจาะเพียงรูเดียว[]. การประมาณการในปัจจุบันชี้ให้เห็นว่าเชื้อเพลิงใช้แล้วที่เกิดจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดใหญ่เพียงโรงเดียวที่ได้ดำเนินงานมาแล้วหลายทศวรรษที่ผ่านมาสามารถได้รับการกำจัดในรูเจาะน้อยกว่าสิบรู[]. คาดว่าต้องการเพียง 800 รูเจาะเท่านั้นก็จะเพียงพอที่จะเก็บกากนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกาทั้งหมดที่มีอยู่ในสต็อก. โครงการกำจัดด้วยรูเจาะหลุมจะสามารถถูกยกเลิกในเวลาใดก็ได้กับการสูญเสียการลงทุนเล็กๆ น้อยๆ เพราะแต่ละหลุมเจาะมีความเป็นอิสระต่อกัน. ธรรมชาติของการกำจัดด้วยรูเจาะที่เป็นโมดูลจะยอมให้สามารถทำได้ในระดับภูมิภาค,หรือในสถานที่เดียวการกำจัดของเสียนิวเคลียร์. สิ่งที่น่าสนใจอื่นสำหรับตัวเลือกของรูเจาะลึกก็คือว่ารูเหล่านั้นอาจถูกเจาะและของเสียอาจถูกจัดวางโดยการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติที่มีอยู่แล้ว.
สุดท้าย, ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมีขนาดเล็ก[]. สิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการของเสียที่หลุมผลิต, รวมกับการรักษาความปลอดภัยเขตกันชนชั่วคราว, จะต้องมีประมาณหนึ่งตารางกิโลเมตร. เมื่อรูเจาะเต็มและถูกปิดผนึก, ที่ดินสามารถถูกทำให้กลับไปยังสภาพเดิม[].
อ้างอิง
- Tollefson, Jeff (4 March 2014). "US seeks waste-research revival". Nature. 507: 15–16. doi:10.1038/507015a. สืบค้นเมื่อ 5 June 2014.
- Viney, Clare (1 June 2007). "Managing our nuclear waste" (6). . สืบค้นเมื่อ 3 June 2014.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - [https://web.archive.org/web/20070723064341/http://www.lboro.ac.uk/departments/cm/research/LTNWM/The%20%20Deep%20%20Borehole%20Disposal%20%20Option%20%20for%20Spent%20%20Nuclear%20%20Fuel%20-%20Fergus%20Gibb%20(Sheffield%20U).pdf เก็บถาวร 2007-07-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karkacdkakniwekhliyraebbruecaaluk xngkvs Deep borehole disposal epnaenwkhidkhxngkarkacdkakkmmntrngsiradbsungcakekhruxngptikrnniwekhliyrinruthiecaalukmakyingkwaphunthiekbkakniwekhliyrlukitdin karkacdaebbnicahaphunthiephuxwangkhxngesiythilukmaksudthunghakiolemtritphunphiwkhxngolkaelaxasyhlkebuxngtninkhwamhnakhxngsingkidkhwangthangthrniwithyathrrmchatiephuxaeykkhxngesiyxxkcakchiwmnthlidxyangplxdphyepnrayaewlananmakephuxthiwamnimkhwrkxihekidphykhukkhamtxmnusyaelasingaewdlxm aenwkhidniidrbkarphthnakhuninpi 1970s aetemuxerwni khxesnxxnhnungsahrbruecaaephuxkarthdlxngkhrngaerkidrbkaresnxodysmakhmthinaodyhxngptibtikaraehngchatisanediy phaphprakxbinaephnphaph solution domain idthuknamaichephuxwtthuprasngkhinkarsrangaebbcalxngkhxmphiwetxrkhxngkarihlkhxngkhwamrxnrxbruecaa karkacdkakniwekhliyraebbruecaalukthaodykarecaaluklngipinepluxkolk PWR ekhruxngptikrnaebbnaaerngdnsung BWR ekhruxngptikrnaebbnaeduxd SNF echuxephlingniwekhliyrichaelw HLW khxngesiyradbsungraylaexiydaenwkhidkhuxkarecaarulukpraman 5 kiolemtrlngipinepluxkolk khxngesiyradbsung echnechuxephlingniwekhliyrichaelw thithukpidphnukiwkxnaelwinphachnaehlkthiaekhngaekrngcathukhyxnlnginipruecaa etimcakdanlangkhunmahnunghruxsxngkiolemtrkhxngru ethkhonolyiinpccubncakdesnphasunyklangkhxngruecaaxyuthinxykwa 50 esntiemtr nihmaykhwamwakhyabangswnthipccubnthukekbxyuinphachnabrrcukhnadihycatxngmikarbrrcuihminphachnabrrcuthimikhnadelklng caknn swnthiehluxkhxngruecaacathukpidphnukdwywsduthiehmaasm rwmthngxaccaepndinehniyw siemnt hinkhluk aelayangmatxy ephuxihaenicwasingkidkhwangthimikhwamsumphanta xngkvs low permeability barrier caxyurahwangkhxngesiyaelaphunphiwdin inbangaenwkhid khxngesiyxaccathukhxhumdwysiemntxdhruxbfefxrdwysarebnothinthaerngxdsungthikhwyihkarekbkbidaennhnayingkhunaelaephuxaebngebaphlkrathbkhxngkarekhluxnihwkhxngchnhinodyrxb sthankarnkhxngxunhphumithisungthixxkmacakkhxngesiyrxnthimaihminphachnabrrcu mnplxykhwamrxnmakphxthicasrangosnlalayrxbruecaa inkhnathikhxngesiynnslaytwaelaeynlng osnlalayerimaekhngtwihm klayepnolnghinaekrnitkxnaekhngrxbphachnabrrcu fngkhxngesiynniptlxdkal phayitthngsxngsthankarn sphawathildlngthangekhmithixyutidkbruecaacachwyldkarkhnsngkhxngsarkmmntrngsiswnihy txngkarxangxing aenwkhidruecaaluksamarthnaipichkbprimankhxngesiyid sahrbpraethsthimiorngiffaniwekhliyrorngediyw sinkhakhngkhlngthnghmdkhxngkakniwekhliyrradbsungxaccathukkacdidinruecaaephiyngruediyw txngkarxangxing karpramankarinpccubnchiihehnwaechuxephlingichaelwthiekidcakorngiffaniwekhliyrkhnadihyephiyngorngediywthiiddaeninnganmaaelwhlaythswrrsthiphanmasamarthidrbkarkacdinruecaanxykwasibru txngkarxangxing khadwatxngkarephiyng 800 ruecaaethannkcaephiyngphxthicaekbkakniwekhliyrkhxngshrthxemrikathnghmdthimixyuinstxk okhrngkarkacddwyruecaahlumcasamarththukykelikinewlaidkidkbkarsuyesiykarlngthunelk nxy ephraaaetlahlumecaamikhwamepnxisratxkn thrrmchatikhxngkarkacddwyruecaathiepnomdulcayxmihsamarththaidinradbphumiphakh hruxinsthanthiediywkarkacdkhxngesiyniwekhliyr singthinasnicxunsahrbtweluxkkhxngruecaalukkkhuxwaruehlannxacthukecaaaelakhxngesiyxacthukcdwangodykarprbepliynethkhonolyikarkhudecaanamnaelakasthrrmchatithimixyuaelw sudthay phlkrathbtxsingaewdlxmmikhnadelk txngkarxangxing singxanwykhwamsadwkinkarcdkarkhxngesiythihlumphlit rwmkbkarrksakhwamplxdphyekhtknchnchwkhraw catxngmipramanhnungtarangkiolemtr emuxruecaaetmaelathukpidphnuk thidinsamarththukthaihklbipyngsphaphedim txngkarxangxing xangxingTollefson Jeff 4 March 2014 US seeks waste research revival Nature 507 15 16 doi 10 1038 507015a subkhnemux 5 June 2014 Viney Clare 1 June 2007 Managing our nuclear waste 6 subkhnemux 3 June 2014 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help https web archive org web 20070723064341 http www lboro ac uk departments cm research LTNWM The 20 20Deep 20 20Borehole 20Disposal 20 20Option 20 20for 20Spent 20 20Nuclear 20 20Fuel 20 20Fergus 20Gibb 20 Sheffield 20U pdf ekbthawr 2007 07 23 thi ewyaebkaemchchin