การกักกัน (อังกฤษ: internment) คือ การจำขังหรือการกักประชาชน ซึ่งมักเป็นชนกลุ่มใหญ่ ให้อยู่ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็นการเฉพาะ โดยไม่มีการพิจารณาในศาล พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด ฉบับตีพิมพ์ ค.ศ. 1989 ให้นิยามว่า: การกระทำ 'การกักกัน'; การกักขังภายในบริเวณของประเทศหรือสถานที่ การใช้คำนี้ในสมัยปัจจุบันหมายถึงการกระทำต่อบุคคล และมีการแยกความแตกต่างระหว่างการกักกัน ซึ่งมีเหตุผลเพื่อการป้องกันหรือเหตุผลทางการเมือง และการจำขัง (imprisonment) ที่เป็นโทษทางอาญา
การกักกันยังหมายถึงการปฏิบัติของในช่วงเวลาสงครามในการกักกันกองทัพของคู่สงครามและยุทโธปกรณ์ในดินแดนของตนภายใต้ (Hague Conventions)
อารยธรรมโบราณอย่างอัสซีเรียใช้วิธี (forced resettlement) ของประชากร ในการควบคุมดินแดน แต่ไม่กระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 จึงมีหลักฐานการบังคับกักกันกลุ่มคนจำนวนมากในค่ายนักโทษ เช่น ในสหรัฐอเมริกา แคนาดา และสหราชอาณาจักร
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนจำกัดการใช้การกักกัน โดยในมาตรา 9 ระบุว่า "บุคคลใดจะถูกจับ กักขัง หรือเนรเทศโดยพลการมิได้"
ค่ายเชลย
ค่ายเชลย (internment camp) เป็นศูนย์กักกันขนาดใหญ่ซึ่งสร้างขึ้นมาเพื่อกักกันศัตรูทางการเมือง ต่างด้าวชาติศัตรู บุคคลที่มีอาการจิตเภท สมาชิกของกลุ่มเชื้อชาติหรือศาสนาบางกลุ่ม ผู้อยู่อาศัยที่เป็นพลเรือนในเขตพื้นที่สงครามวิกฤต หรือกลุ่มประชากรอื่น ซึ่งโดยปกติมักมีขึ้นระหว่างสงคราม คำว่า "ค่ายเชลย" ใช้กับสถานที่ซึ่งเลือกผู้ถูกกักกันตามเกณฑ์มาตรฐานบางประการ มิใช่ถูกกักขังเป็นรายบุคคลตามกระบวนการทางกฎหมายอย่างยุติธรรมซึ่งบังคับโดยฝ่ายตุลาการ
จากผลของการทำทารุณพลเรือนที่ถูกกักกันในช่วงความขัดแย้งล่าสุดในช่วงเวลานั้น จึงได้มีการบัญญัติอนุสัญญาเจนีวาที่สี่ขึ้นใน ค.ศ. 1949 เพื่อให้การคุ้มครองพลเรือนในช่วงสงคราม "ในมือ" ของฝ่ายศัตรู และภายใต้การยึดครองใด ๆ ของอำนาจต่างชาติ มี 194 ประเทศให้สัตยาบันในอนุสัญญาดังกล่าว ค่ายเชลยศึกเป็นค่ายเชลยซึ่งมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อควบคุมสมาชิกของกองทัพฝ่ายข้าศึกตามนิยามในอนุสัญญาเจนีวาที่สาม และการปฏิบัติต่อเชลยศึกก็มีการบัญญัติไว้ในอนุสัญญานั้นเช่นกัน
ค่ายกักกัน
นักประวัติศาสตร์ชาวโปแลนด์ Władysław Konopczyński เสนอว่า ค่ายกักกันถูกจัดตั้งขึ้นในโปแลนด์เป็นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ระหว่างกบฏสหพันธ์บาร์ (Bar Confederation) เมื่อจักรวรรดิรัสเซียจัดตั้งค่ายกักกันสามแห่งสำหรับนักโทษกบฏโปแลนด์ระหว่างรอการเนรเทศไปยังไซบีเรีย
ส่วนค่ายกักกันที่เก่าแก่ที่สุดอาจจัดตั้งขึ้นในสหรัฐอเมริกา เพื่อกักกันพวกเชโรกีหรืออเมริกันพื้นเมืองอื่น ๆ ในคริสต์ทศวรรษ 1830 อย่างไรก็ตาม ค่ายเหล่านี้เดิมเรียกว่า reconcentrados ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยกองทัพสเปนในคิวบาระหว่างสงครามสิบปี (ค.ศ. 1868-1878) และโดยสหรัฐอเมริการะหว่างสงครามฟิลิปปินส์-อเมริกา (ค.ศ. 1899-1902)
อ้างอิง
- per Oxford Universal Dictionary, 1st edition 1933.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-09. สืบค้นเมื่อ 2009-09-05.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-09. สืบค้นเมื่อ 2009-09-05.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha karkkkn xngkvs internment khux karcakhnghruxkarkkprachachn sungmkepnchnklumihy ihxyuinbriewnidbriewnhnungepnkarechphaa odyimmikarphicarnainsal phcnanukrmphasaxngkvs chbbxxksfxrd chbbtiphimph kh s 1989 ihniyamwa karkratha karkkkn karkkkhngphayinbriewnkhxngpraethshruxsthanthi karichkhaniinsmypccubnhmaythungkarkrathatxbukhkhl aelamikaraeykkhwamaetktangrahwangkarkkkn sungmiehtuphlephuxkarpxngknhruxehtuphlthangkaremuxng aelakarcakhng imprisonment thiepnothsthangxayainrthbritichokhlmebiyrahwangsngkhramolkkhrngthisxng karkkknynghmaythungkarptibtikhxnginchwngewlasngkhraminkarkkknkxngthphkhxngkhusngkhramaelayuthothpkrnindinaednkhxngtnphayit Hague Conventions xarythrrmobranxyangxssieriyichwithi forced resettlement khxngprachakr inkarkhwbkhumdinaedn aetimkrathngplaykhriststwrrsthi 19 aela 20 cungmihlkthankarbngkhbkkknklumkhncanwnmakinkhaynkoths echn inshrthxemrika aekhnada aelashrachxanackr ptiyyasaklwadwysiththimnusychncakdkarichkarkkkn odyinmatra 9 rabuwa bukhkhlidcathukcb kkkhng hruxenrethsodyphlkarmiid khayechlykhayechly internment camp epnsunykkknkhnadihysungsrangkhunmaephuxkkknstruthangkaremuxng tangdawchatistru bukhkhlthimixakarcitephth smachikkhxngklumechuxchatihruxsasnabangklum phuxyuxasythiepnphleruxninekhtphunthisngkhramwikvt hruxklumprachakrxun sungodypktimkmikhunrahwangsngkhram khawa khayechly ichkbsthanthisungeluxkphuthukkkkntameknthmatrthanbangprakar miichthukkkkhngepnraybukhkhltamkrabwnkarthangkdhmayxyangyutithrrmsungbngkhbodyfaytulakar cakphlkhxngkarthatharunphleruxnthithukkkkninchwngkhwamkhdaeynglasudinchwngewlann cungidmikarbyytixnusyyaecniwathisikhunin kh s 1949 ephuxihkarkhumkhrxngphleruxninchwngsngkhram inmux khxngfaystru aelaphayitkaryudkhrxngid khxngxanactangchati mi 194 praethsihstyabninxnusyyadngklaw khayechlysukepnkhayechlysungmiwtthuprasngkhechphaaephuxkhwbkhumsmachikkhxngkxngthphfaykhasuktamniyaminxnusyyaecniwathisam aelakarptibtitxechlysukkmikarbyytiiwinxnusyyannechnknkhaykkknnkprawtisastrchawopaelnd Wladyslaw Konopczynski esnxwa khaykkknthukcdtngkhuninopaelndepnkhrngaerkinkhriststwrrsthi 18 rahwangkbtshphnthbar Bar Confederation emuxckrwrrdirsesiycdtngkhaykkknsamaehngsahrbnkothskbtopaelndrahwangrxkarenrethsipyngisbieriy swnkhaykkknthiekaaekthisudxaccdtngkhuninshrthxemrika ephuxkkknphwkechorkihruxxemriknphunemuxngxun inkhristthswrrs 1830 xyangirktam khayehlaniedimeriykwa reconcentrados sungcdtngkhunodykxngthphsepninkhiwbarahwangsngkhramsibpi kh s 1868 1878 aelaodyshrthxemrikarahwangsngkhramfilippins xemrika kh s 1899 1902 xangxingper Oxford Universal Dictionary 1st edition 1933 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 10 09 subkhnemux 2009 09 05 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 05 09 subkhnemux 2009 09 05 duephimkhaykkknbthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk