กลุ่มอาการหยุดยาแก้ซึมเศร้า (อังกฤษ: Antidepressant discontinuation syndrome) เป็นภาวะที่เกิดขึ้นหลังจากการขัดจังหวะ การลดขนาด หรือการหยุดยาแก้ซึมเศร้า รวมทั้งกลุ่ม Selective serotonin re-uptake inhibitors (SSRIs) หรือ serotonin-norepinephrine reuptake inhibitors (SNRIs) โดยมีอาการต่าง ๆ รวมทั้งอาการคล้ายเป็นหวัด และปัญหาทางการนอน ทางประสาทสัมผัส ทางการเคลื่อนไหว ทางอารมณ์ และทางความคิด ในกรณีโดยมาก อาการจะอ่อน ไม่คงอยู่นาน และหายเองโดยไม่ต้องรักษา ส่วนกรณีที่รุนแรง บ่อยครั้งจะรักษาได้โดยให้กลับไปทานยาอีก ซึ่งปกติจะหายภายใน 1 วัน
กลุ่มอาการหยุดยาแก้ซึมเศร้า Antidepressant discontinuation syndrome | |
---|---|
ชื่ออื่น | Antidepressant withdrawal syndrome |
สาขาวิชา | จิตเวชศาสตร์ |
อาการ | , trouble sleeping, nausea, poor balance, sensory changes |
การตั้งต้น | ภายใน 3 วัน |
ระยะดำเนินโรค | ไม่กี่สัปดาห์ถึงเป็นเดือน |
สาเหตุ | Stopping of an |
วิธีวินิจฉัย | ตามอาการ |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | ความวิตกกังวล, อาการฟุ้งพล่าน, โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน |
การป้องกัน | ค่อย ๆ ลดขนาดยา |
ความชุก | 20-50% (with sudden stopping) |
อาการ
ผู้ที่มีภาวะนี้คือคนที่ทานยาแก้ซึมเศร้าอย่างน้อย 4 อาทิตย์และพึ่งหยุดยาเร็ว ๆ นี้ ไม่ว่าจะเป็นแบบทันทีทันใด แบบลดขนาดอย่างรวดเร็ว หรือว่าทุกครั้งที่ลดขนาดยาเมื่อกำลังค่อย ๆ ลดยา อาการที่สามัญทั่วไปรวมทั้งอาการคล้ายเป็นหวัด (อาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดหัว เหงื่อออก) ปัญหาในการนอน (นอนไม่หลับ ฝันร้าย ง่วงนอนตลอด) ปัญหาทางประสาทสัมผัสหรือการเคลื่อนไหวก็อาจมีได้รวมทั้งเซ สั่น หมุน เวียนหัว และการรู้สึกเหมือนถูกไฟช็อตในสมอง ปัญหาทางอารมณ์รวมทั้ง ละเหี่ยใจ วิตกกังวล อยู่ไม่สุข และปัญหาทางการรู้คิด เช่น สับสน ตื่นตัวผิดปกติ
ในกรณีที่หยุดยาประเภท Monoamine oxidase inhibitor กะทันหัน อาการโรคจิต (psychosis) ก็อาจมีด้วย มีอาการกว่า 50 อย่างที่พบแล้ว
กรณีโดยมากเกิดขึ้นเป็นระยะ 1-4 สัปดาห์ อาการอ่อน และหายเอง มีกรณีน้อยที่อาการรุนแรงหรือยาวนานกว่านั้น paroxetine และ venlafaxine ดูยากเป็นพิเศษที่จะหยุด มีคนไข้ที่มีอาการหยุดยาถึง 18 เดือนสำหรับ paroxetine
การป้องกันและรักษา
อาการหยุดยาสามารถป้องกันได้โดยทานยาตามหมอสั่ง เมื่อจะหยุด ให้ค่อย ๆ หยุด และเมื่อหยุดยาที่มีระยะครึ่งชีวิตสั้น ให้เปลี่ยนไปทานยาที่มีระยะครึ่งชีวิตนานกว่า (เช่น ฟลูอ๊อกซิติน หรือ citalopram) แล้วค่อย ๆ หยุดยานั้น ซึ่งอาจช่วยลดโอกาสการเกิดหรือมีอาการรุนแรง การรักษาขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการ และขึ้นอยู่ว่า ควรจะรักษาด้วยยาต่อหรือไม่ ในกรณีที่ต้องรักษาต่อ ก็เพียงแค่เริ่มทานยาอีก ซึ่งมักจะเป็นกรณีที่คนไข้ไม่ทำตามคำหมอ ถ้าไม่ต้องรักษาด้วยยาต่อ การรักษาจะขึ้นอยู่กับความหนักเบาของอาการ อาการที่เบาอาจไม่ต้องทำอะไรเพียงแต่ให้กำลังใจ อาการปานกลางอาจจะต้องบริหาร ถ้าอาการรุนแรง หรือว่าคนไข้ไม่ตอบสนองต่อวิธีบริหาร อาจจะเริ่มยาอีกแล้วหยุดโดยให้เวลาเพิ่มขึ้นในการค่อย ๆ ลด ในกรณีที่รุนแรงจริง ๆ ที่มีน้อย อาจจะต้องเข้าโรงพยาบาล
หญิงมีครรภ์และทารกเกิดใหม่
ยาแก้ซึมเศร้ารวมทั้งแบบ SSRIs สามารถดำเนินข้ามรกไปถึงทารกได้และมีโอกาสมีผลต่อเด็กในครรภ์และทารกเกิดใหม่ จึงเป็นปัญหาว่า หญิงมีครรภ์ควรจะทานยาแก้ซึมเศร้าหรือไม่ และถ้าทาน ควรจะค่อย ๆ หยุดยาในช่วงครรภ์แก่เพื่อให้ผลป้องต่อทารกที่จะเกิดหรือไม่
กลุ่มอาการปรับตัวหลังคลอด (Postnatal adaptation syndrome) ซึ่งเดิมเรียกว่า “neonatal behavioral syndrome”, “poor neonatal adaptation syndrome”, หรือ "neonatal withdrawal syndrome" สังเกตเห็นเป็นครั้งแรกในปี 2516 ในทารกเกิดใหม่ที่มารดาทานยาแก้ซึมเศร้า อาการในทารกรวมทั้งหงุดหงิดง่าย หายใจเร็ว ตัวเย็นเกิน และปัญหาน้ำตาลในเลือด ซึ่งปกติจะเกิดขึ้นตั้งแต่หลังคลอดจนกระทั่งเป็นวัน ๆ หลังคลอด และมักจะหายภายในไม่กี่วันหรือไม่กี่สัปดาห์หลังคลอด
งานวิจัย
กลไกลของอาการหยุดยายังระบุไม่ได้อย่างชัดเจนสมมติฐานหัวแถวก็คือ หลังจากที่หยุดยา จะมีความบกพร่องของสารสื่อประสาทอย่างหนึ่งหรือมากกว่านั้นชั่วคราวในสมอง ซึ่งเป็นสารที่จำเป็นในการควบคุมอารมณ์ เช่น เซโรโทนิน โดพามีน นอร์เอพิเนฟริน และกรดแกมมาอะมิโนบิวทีริก และเนื่องจากว่าระบบสื่อประสาทเป็นระบบที่พึ่งกันและกัน การทำงานบกพร่องในระบบหนึ่งก็จะมีผลต่อระบบอื่น ๆ ด้วย
วัฒนธรรมและประวัติ
รายงานแรกเกี่ยวกับอาการหยุดยาเกิดกับยา imipramine ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้าแบบ tricyclic ชนิดแรก เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 และประเภทของยาแก้ซึมเศร้าใหม่ ๆ ที่พัฒนาขึ้นก็มีรายงานคล้าย ๆ กัน รวมทั้ง monoamine oxidase inhibitor, SSRIs, และ SNRIs โดยปี 2544 มียาอย่างน้อย 21 ชนิดซึ่งรวมยาแก้ซึมเศร้าจากกลุ่มสำคัญทุกกลุ่ม ล้วนเป็นเหตุให้เกิดอาการ แต่ว่าเป็นปัญหาที่มีการศึกษาน้อย และวรรณกรรมโดยมากเป็นรายงานผู้ป่วยหรืองานศึกษาทางคลินิกขนาดเล็ก ความชุกของอาการยากที่จะกำหนดและมักก่อความขัดแย้ง พร้อมกับการระเบิดใช้และสนใจยาประเภท SSRIs ในปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 และต้นทศวรรษ 1990 โดยเฉพาะในยาโปรแซ็ก (ฟลูอ๊อกซิติน) ทั้งความสนใจในปัญหาและตัวปัญหาเองก็เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อาการบางอย่างปรากฏจากกลุ่มอภิปรายทางอินเทอร์เน็ต ที่คนไข้กล่าวถึงประสบการณ์ของตนเกี่ยวกับโรคและยาที่ใช้ การเหมือนถูกไฟช็อตในสมอง (ที่เรียกว่า "brain zaps" หรือ "brain shivers") เป็นอาการหนึ่งที่ปรากฏทางเว็บไซต์
ความสนใจที่เพิ่มขึ้นจากสื่อและความเป็นห่วงของสาธารณชนทำให้มีการตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญในเรื่องความปลอดภัยของ SSRI ในประเทศอังกฤษ เพื่อประเมินงานวิจัยทั้งหมดที่มีก่อนปี 2547: iv โดยคณะได้รายงานว่า ความชุกของกลุ่มอาการอยู่ระหว่าง 5-49% ขึ้นอยู่กับชนิดของยา SSRI ระยะเวลาที่ทานยา และการหยุดยาแบบกะทันหันหรือค่อย ๆ หยุด: 126–136
เพราะไม่มีเกณฑ์อาการที่มีมติร่วมกัน คณะผู้เชี่ยวชาญคณะหนึ่งประชุมกันในปี 2540 เพื่อร่างคำนิยาม โดยมีกลุ่มอื่น ๆ ที่เกลาคำนิยามนั้นต่อมา
ในปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ผู้ตรวจสอบบางท่านคิดว่า เนื่องจากอาการเกิดหลังจากหยุดยา นี่หมายถึงว่ายาทำให้เกิดการติด และบางครั้งใช้คำว่า "อาการขาดยา (withdrawal syndrome)" เพื่อเรียก เนื่องจากว่าสารเสพติดบางอย่างก่อให้เกิดการติดทางสรีรภาพ และดังนั้นอาการขาดยาจึงทำให้เป็นทุกข์ ต่อมาทฤษฎีเหล่านี้ตกไป เพราะว่าการติดก่อให้เกิดพฤติกรรมหายา และคนที่ทานยาแก้ซึมเศร้าไม่มีพฤติกรรมนี้ ดังนั้น คำว่า withdrawal syndrome จึงไม่ได้ใช้ต่อไปสำหรับยาแก้ซึมเศร้า เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจาการติดยา
คดีฟ้องเป็นกลุ่มปี 2556
ในปี 2556 มีการฟ้องคดีแบบเป็นตัวแทนกลุ่ม (class action) ชื่อว่า "Jennifer L Saavedra v. Eli Lilly and Company" ต่อบริษัท Eli Lilly and Company โดยอ้างว่าป้ายยา Cymbalta ขาดข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับอาการเหมือนถูกไฟช็อตในสมองและอาการอื่น ๆ เมื่อหยุดยา ส่วนบริษัทร้องให้ศาลยกฟ้องเนื่องจาก "หลักคนกลางมีความรู้ (learned intermediary doctrine)" ที่แพทย์ผู้สั่งยาได้รับคำเตือนถึงปัญหาที่อาจมี และเป็นผู้สื่อความเห็นทางการแพทย์ต่อคนไข้ แต่ว่าในเดือนธันวาคม 2556 ศาลปฏิเสธคำร้องของบริษัท
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "Antidepressant Withdrawal Syndrome". ubc.ca. Therapeutics Initiative, . 23 July 2018. สืบค้นเมื่อ 3 August 2018.
- Warner, CH; Bobo, W; Warner, C; Reid, S; Rachal, J (1 August 2006). "Antidepressant discontinuation syndrome". American Family Physician. 74 (3): 449–56. PMID 16913164.
- Gabriel, M; Sharma, V (29 May 2017). "Antidepressant discontinuation syndrome". Canadian Medical Association Journal. 189 (21): E747. doi:10.1503/cmaj.160991. PMC 5449237. PMID 28554948.
- Davies, J; Read, J (4 September 2018). "A systematic review into the incidence, severity and duration of antidepressant withdrawal effects: Are guidelines evidence-based?". Addictive Behaviors. 97: 111–121. doi:10.1016/j.addbeh.2018.08.027. PMID 30292574.
- Haddad, Peter M.; Anderson, Ian M. (October 2007). "Recognising and managing antidepressant discontinuation symptoms". Advances in Psychiatric Treatment. 13 (6): 447–57. doi:10.1192/apt.bp.105.001966.
- Renoir T (2013). "Selective serotonin reuptake inhibitor antidepressant treatment discontinuation syndrome: a review of the clinical evidence and the possible mechanisms involved". Front Pharmacol. 4: 45. doi:10.3389/fphar.2013.00045. PMC 3627130. PMID 23596418.
- Haddad PM, Dursun SM (2008). "Neurological complications of psychiatric drugs: clinical features and management". Hum Psychopharmacol. 23 (Suppl 1): 15–26. doi:10.1002/hup.918. PMID 18098217.
- Haddad, P. (2001). "Antidepressant discontinuation syndromes". Drug Saf. 24 (3): 183–97. doi:10.2165/00002018-200124030-00003. PMID 11347722.
- Tamam, L.; Ozpoyraz, N. (January–February 2002). "Selective Serotonin Reuptake Inhibitor Discontinuation Syndrome: A Review". Advances in Therapy. 19 (1): 17–26. doi:10.1007/BF02850015. PMID 12008858. S2CID 5563223.
- Gartlehner G, Hansen RA, Morgan LC, และคณะ (December 2011). "Results". Second-Generation Antidepressants in the Pharmacologic Treatment of Adult Depression: An Update of the 2007 Comparative Effectiveness Review (Report). Comparative Effectiveness Reviews. Rockville, MD: Agency for Healthcare Research and Quality.
- Byatt N, Deligiannidis KM, Freeman MP (Feb 2013). "Antidepressant use in pregnancy: a critical review focused on risks and controversies". . 127 (2): 94–114. doi:10.1111/acps.12042. PMC 4006272. PMID 23240634.
- Damsa, C.; Bumb, A.; Bianchi-Demicheli, F.; และคณะ (August 2004). "'Dopamine-dependent' side effects of selective serotonin reuptake inhibitors: a clinical review". J Clin Psychiatry. 65 (8): 1064–8. doi:10.4088/JCP.v65n0806. PMID 15323590.
- Stutz, Bruce (2007-05-06). "Self-Nonmedication". New York Times. สืบค้นเมื่อ 2010-05-24.
- Christmas, M.B. (2005). "'Brain shivers': from chat room to clinic". Psychiatric Bulletin. 29 (6): 219–21. doi:10.1192/pb.29.6.219.
- Aronson, J. (2005-10-08). "Bottled lightning". BMJ. 331 (7520): 824. doi:10.1136/bmj.331.7520.824. PMC 1246084.
- Expert Group on the Safety of Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs) (December 2004). Weller, Ian V.D. (บ.ก.). "Report of the CSM Expert Working Group on the Safety of Selective Serotonin Reuptake Inhibitor Antidepressants" (PDF). Medicines and Healthcare Products Regulatory Agency. สืบค้นเมื่อ 1 August 2014.
- Schatzberg, A.F.; Haddad, P.; Kaplan, E.M.; Lejoyeux, M.; Rosenbaum, J.F.; Young, A.H.; Zajecka, J. (1997). "Serotonin reuptake inhibitor discontinuation syndrome: a hypothetical definition. Discontinuation Consensus panel". J Clin Psychiatry. 5u (7): 5–10. PMID 9219487.
- Black, K.; Shea, C.; Dursun, S.; Kutcher, S. (2000). "Selective serotonin reuptake inhibitor discontinuation syndrome: proposed diagnostic criteria". J Psychiatry Neurosci. 25 (3): 255–61. PMC 1407715. PMID 10863885.
- (Report). World Health Organization. 2003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 30, 2009.
- Jennifer L Saavedra v. Eli Lilly and Company – โดยทาง Justia.com.
- Overley, Jeff (January 29, 2013). "Lilly Fights Cymbalta 'Brain Zaps' Suit, Saying It Warned Docs". Law360 (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 3 August 2014.
- (December 9, 2013). "Learned intermediary doctrine doesn't bar claim at pleading stage". Rebecca Tushnet's 43(B)log (ภาษาอังกฤษ).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klumxakarhyudyaaeksumesra xngkvs Antidepressant discontinuation syndrome epnphawathiekidkhunhlngcakkarkhdcnghwa karldkhnad hruxkarhyudyaaeksumesra rwmthngklum Selective serotonin re uptake inhibitors SSRIs hrux serotonin norepinephrine reuptake inhibitors SNRIs odymixakartang rwmthngxakarkhlayepnhwd aelapyhathangkarnxn thangprasathsmphs thangkarekhluxnihw thangxarmn aelathangkhwamkhid inkrniodymak xakarcaxxn imkhngxyunan aelahayexngodyimtxngrksa swnkrnithirunaerng bxykhrngcarksaidodyihklbipthanyaxik sungpkticahayphayin 1 wnklumxakarhyudyaaeksumesra Antidepressant discontinuation syndromechuxxunAntidepressant withdrawal syndromesakhawichacitewchsastrxakar trouble sleeping nausea poor balance sensory changeskartngtnphayin 3 wnrayadaeninorkhimkispdahthungepneduxnsaehtuStopping of anwithiwinicchytamxakarorkhxunthikhlayknkhwamwitkkngwl xakarfungphlan orkhhlxdeluxdsmxngechiybphlnkarpxngknkhxy ldkhnadyakhwamchuk20 50 with sudden stopping xakarphuthimiphawanikhuxkhnthithanyaaeksumesraxyangnxy 4 xathityaelaphunghyudyaerw ni imwacaepnaebbthnthithnid aebbldkhnadxyangrwderw hruxwathukkhrngthildkhnadyaemuxkalngkhxy ldya xakarthisamythwiprwmthngxakarkhlayepnhwd xakarkhlunis xaeciyn thxngrwng pwdhw ehnguxxxk pyhainkarnxn nxnimhlb fnray ngwngnxntlxd pyhathangprasathsmphshruxkarekhluxnihwkxacmiidrwmthnges sn hmun ewiynhw aelakarrusukehmuxnthukifchxtinsmxng pyhathangxarmnrwmthng laehiyic witkkngwl xyuimsukh aelapyhathangkarrukhid echn sbsn tuntwphidpkti inkrnithihyudyapraephth Monoamine oxidase inhibitor kathnhn xakarorkhcit psychosis kxacmidwy mixakarkwa 50 xyangthiphbaelw krniodymakekidkhunepnraya 1 4 spdah xakarxxn aelahayexng mikrninxythixakarrunaernghruxyawnankwann paroxetine aela venlafaxine duyakepnphiessthicahyud mikhnikhthimixakarhyudyathung 18 eduxnsahrb paroxetinekarpxngknaelarksaxakarhyudyasamarthpxngknidodythanyatamhmxsng emuxcahyud ihkhxy hyud aelaemuxhyudyathimirayakhrungchiwitsn ihepliynipthanyathimirayakhrungchiwitnankwa echn fluxxksitin hrux citalopram aelwkhxy hyudyann sungxacchwyldoxkaskarekidhruxmixakarrunaerng karrksakhunxyukbkhwamrunaerngkhxngxakar aelakhunxyuwa khwrcarksadwyyatxhruxim inkrnithitxngrksatx kephiyngaekherimthanyaxik sungmkcaepnkrnithikhnikhimthatamkhahmx thaimtxngrksadwyyatx karrksacakhunxyukbkhwamhnkebakhxngxakar xakarthiebaxacimtxngthaxairephiyngaetihkalngic xakarpanklangxaccatxngbrihar thaxakarrunaerng hruxwakhnikhimtxbsnxngtxwithibrihar xaccaerimyaxikaelwhyudodyihewlaephimkhuninkarkhxy ld inkrnithirunaerngcring thiminxy xaccatxngekhaorngphyabal hyingmikhrrphaelatharkekidihm yaaeksumesrarwmthngaebb SSRIs samarthdaeninkhamrkipthungtharkidaelamioxkasmiphltxedkinkhrrphaelatharkekidihm cungepnpyhawa hyingmikhrrphkhwrcathanyaaeksumesrahruxim aelathathan khwrcakhxy hyudyainchwngkhrrphaekephuxihphlpxngtxtharkthicaekidhruxim klumxakarprbtwhlngkhlxd Postnatal adaptation syndrome sungedimeriykwa neonatal behavioral syndrome poor neonatal adaptation syndrome hrux neonatal withdrawal syndrome sngektehnepnkhrngaerkinpi 2516 intharkekidihmthimardathanyaaeksumesra xakarintharkrwmthnghngudhngidngay hayicerw tweynekin aelapyhanatalineluxd sungpkticaekidkhuntngaethlngkhlxdcnkrathngepnwn hlngkhlxd aelamkcahayphayinimkiwnhruximkispdahhlngkhlxdnganwicykliklkhxngxakarhyudyayngrabuimidxyangchdecnsmmtithanhwaethwkkhux hlngcakthihyudya camikhwambkphrxngkhxngsarsuxprasathxyanghnunghruxmakkwannchwkhrawinsmxng sungepnsarthicaepninkarkhwbkhumxarmn echn esorothnin odphamin nxrexphienfrin aelakrdaekmmaxamionbiwthirik aelaenuxngcakwarabbsuxprasathepnrabbthiphungknaelakn karthanganbkphrxnginrabbhnungkcamiphltxrabbxun dwywthnthrrmaelaprawtiraynganaerkekiywkbxakarhyudyaekidkbya imipramine sungepnyaaeksumesraaebb tricyclic chnidaerk erimtngaetplaykhristthswrrs 1950 aelapraephthkhxngyaaeksumesraihm thiphthnakhunkmirayngankhlay kn rwmthng monoamine oxidase inhibitor SSRIs aela SNRIs odypi 2544 miyaxyangnxy 21 chnidsungrwmyaaeksumesracakklumsakhythukklum lwnepnehtuihekidxakar aetwaepnpyhathimikarsuksanxy aelawrrnkrrmodymakepnraynganphupwyhruxngansuksathangkhlinikkhnadelk khwamchukkhxngxakaryakthicakahndaelamkkxkhwamkhdaeyng phrxmkbkarraebidichaelasnicyapraephth SSRIs inplaykhristthswrrs 1980 aelatnthswrrs 1990 odyechphaainyaopraesk fluxxksitin thngkhwamsnicinpyhaaelatwpyhaexngkephimkhuneruxy xakarbangxyangpraktcakklumxphipraythangxinethxrent thikhnikhklawthungprasbkarnkhxngtnekiywkborkhaelayathiich karehmuxnthukifchxtinsmxng thieriykwa brain zaps hrux brain shivers epnxakarhnungthipraktthangewbist khwamsnicthiephimkhuncaksuxaelakhwamepnhwngkhxngsatharnchnthaihmikartngkhnaphuechiywchayineruxngkhwamplxdphykhxng SSRI inpraethsxngkvs ephuxpraeminnganwicythnghmdthimikxnpi 2547 iv odykhnaidraynganwa khwamchukkhxngklumxakarxyurahwang 5 49 khunxyukbchnidkhxngya SSRI rayaewlathithanya aelakarhyudyaaebbkathnhnhruxkhxy hyud 126 136 ephraaimmieknthxakarthimimtirwmkn khnaphuechiywchaykhnahnungprachumkninpi 2540 ephuxrangkhaniyam odymiklumxun thieklakhaniyamnntxma inplaykhristthswrrs 1990 phutrwcsxbbangthankhidwa enuxngcakxakarekidhlngcakhyudya nihmaythungwayathaihekidkartid aelabangkhrngichkhawa xakarkhadya withdrawal syndrome ephuxeriyk enuxngcakwasaresphtidbangxyangkxihekidkartidthangsrirphaph aeladngnnxakarkhadyacungthaihepnthukkh txmathvsdiehlanitkip ephraawakartidkxihekidphvtikrrmhaya aelakhnthithanyaaeksumesraimmiphvtikrrmni dngnn khawa withdrawal syndrome cungimidichtxipsahrbyaaeksumesra ephuxhlikeliyngkhwamsbsnekiywkbpyhathiekidcakartidya khdifxngepnklumpi 2556 inpi 2556 mikarfxngkhdiaebbepntwaethnklum class action chuxwa Jennifer L Saavedra v Eli Lilly and Company txbristh Eli Lilly and Company odyxangwapayya Cymbalta khadkhxmulsakhyekiywkbxakarehmuxnthukifchxtinsmxngaelaxakarxun emuxhyudya swnbristhrxngihsalykfxngenuxngcak hlkkhnklangmikhwamru learned intermediary doctrine thiaephthyphusngyaidrbkhaetuxnthungpyhathixacmi aelaepnphusuxkhwamehnthangkaraephthytxkhnikh aetwaineduxnthnwakhm 2556 salptiesthkharxngkhxngbristhduephimephschwithya esorothninepnphisechingxrrthaelaxangxing Antidepressant Withdrawal Syndrome ubc ca Therapeutics Initiative 23 July 2018 subkhnemux 3 August 2018 Warner CH Bobo W Warner C Reid S Rachal J 1 August 2006 Antidepressant discontinuation syndrome American Family Physician 74 3 449 56 PMID 16913164 Gabriel M Sharma V 29 May 2017 Antidepressant discontinuation syndrome Canadian Medical Association Journal 189 21 E747 doi 10 1503 cmaj 160991 PMC 5449237 PMID 28554948 Davies J Read J 4 September 2018 A systematic review into the incidence severity and duration of antidepressant withdrawal effects Are guidelines evidence based Addictive Behaviors 97 111 121 doi 10 1016 j addbeh 2018 08 027 PMID 30292574 Haddad Peter M Anderson Ian M October 2007 Recognising and managing antidepressant discontinuation symptoms Advances in Psychiatric Treatment 13 6 447 57 doi 10 1192 apt bp 105 001966 Renoir T 2013 Selective serotonin reuptake inhibitor antidepressant treatment discontinuation syndrome a review of the clinical evidence and the possible mechanisms involved Front Pharmacol 4 45 doi 10 3389 fphar 2013 00045 PMC 3627130 PMID 23596418 Haddad PM Dursun SM 2008 Neurological complications of psychiatric drugs clinical features and management Hum Psychopharmacol 23 Suppl 1 15 26 doi 10 1002 hup 918 PMID 18098217 Haddad P 2001 Antidepressant discontinuation syndromes Drug Saf 24 3 183 97 doi 10 2165 00002018 200124030 00003 PMID 11347722 Tamam L Ozpoyraz N January February 2002 Selective Serotonin Reuptake Inhibitor Discontinuation Syndrome A Review Advances in Therapy 19 1 17 26 doi 10 1007 BF02850015 PMID 12008858 S2CID 5563223 Gartlehner G Hansen RA Morgan LC aelakhna December 2011 Results Second Generation Antidepressants in the Pharmacologic Treatment of Adult Depression An Update of the 2007 Comparative Effectiveness Review Report Comparative Effectiveness Reviews Rockville MD Agency for Healthcare Research and Quality Byatt N Deligiannidis KM Freeman MP Feb 2013 Antidepressant use in pregnancy a critical review focused on risks and controversies 127 2 94 114 doi 10 1111 acps 12042 PMC 4006272 PMID 23240634 Damsa C Bumb A Bianchi Demicheli F aelakhna August 2004 Dopamine dependent side effects of selective serotonin reuptake inhibitors a clinical review J Clin Psychiatry 65 8 1064 8 doi 10 4088 JCP v65n0806 PMID 15323590 Stutz Bruce 2007 05 06 Self Nonmedication New York Times subkhnemux 2010 05 24 Christmas M B 2005 Brain shivers from chat room to clinic Psychiatric Bulletin 29 6 219 21 doi 10 1192 pb 29 6 219 Aronson J 2005 10 08 Bottled lightning BMJ 331 7520 824 doi 10 1136 bmj 331 7520 824 PMC 1246084 Expert Group on the Safety of Selective Serotonin Reuptake Inhibitors SSRIs December 2004 Weller Ian V D b k Report of the CSM Expert Working Group on the Safety of Selective Serotonin Reuptake Inhibitor Antidepressants PDF Medicines and Healthcare Products Regulatory Agency subkhnemux 1 August 2014 Schatzberg A F Haddad P Kaplan E M Lejoyeux M Rosenbaum J F Young A H Zajecka J 1997 Serotonin reuptake inhibitor discontinuation syndrome a hypothetical definition Discontinuation Consensus panel J Clin Psychiatry 5u 7 5 10 PMID 9219487 Black K Shea C Dursun S Kutcher S 2000 Selective serotonin reuptake inhibitor discontinuation syndrome proposed diagnostic criteria J Psychiatry Neurosci 25 3 255 61 PMC 1407715 PMID 10863885 Report World Health Organization 2003 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux August 30 2009 Jennifer L Saavedra v Eli Lilly and Company odythang Justia com Overley Jeff January 29 2013 Lilly Fights Cymbalta Brain Zaps Suit Saying It Warned Docs Law360 phasaxngkvs subkhnemux 3 August 2014 December 9 2013 Learned intermediary doctrine doesn t bar claim at pleading stage Rebecca Tushnet s 43 B log phasaxngkvs