กฎโคไซน์ของลัมแบร์ท (Lambert's cosine law) ในทางทัศนศาสตร์ คือกฎที่กล่าวว่าความเข้มของการส่องสว่างหรือความเข้มของการแผ่รังสีที่สังเกตได้จากพื้นผิวสะท้อนแสงพร่าในอุดมคติจะค่าโคไซน์ของมุม θ ระหว่างลำแสงตกกระทบกับแนวฉากผิวของวัตถุ เรียกอีกอย่างว่า กฎการแผ่รังสีโคไซน์ (cosine emission law) หรือ กฎการแผ่รังสีของลัมแบร์ท (Lambert's emission law) ตั้งชื่อตามโยฮัน ไฮน์ริช ลัมแบร์ท จากหนังสือ ของเขาที่ตีพิมพ์เป็นภาษาละตินในปี 1760
พื้นผิวที่เป็นไปตามกฎโคไซน์ของลัมแบร์ทเรียกว่าเป็น ผิวลัมแบร์ท (Lambertian surface) และมีคุณสมบัติการสะท้อนแบบลัมแบร์ท พื้นผิวลัมแบร์ทจะมีความแผ่รังสีเท่ากันไม่ว่าเมื่อมองจากมุมใด และในสายตาของมนุษย์ก็จะมองว่ามีความสว่างเท่ากันในทุกมุม เหตุผลที่พื้นผิวลัมแบร์ทมีความส่องสว่างเท่ากันคือ แม้ว่าความส่องสว่างที่ปล่อยออกมาจากพื้นที่ที่พิจารณาจะลดลงตามโคไซน์ของมุมการแผ่รังสี แต่ขนาดที่ปรากฏของพื้นที่ที่ผู้สังเกตมองเห็นก็จะลดลงตาม ดังนั้นค่าความแผ่รังสี (= ฟลักซ์รังสี//พื้นที่การฉาย) จึงเท่ากัน
แสงพร่าและการแผ่รังสีบนผิวลัมแบร์ท
หากพื้นที่หนึ่ง ๆ ปล่อยรังสีออกมาเนื่องจากถูกส่องสว่างโดยแหล่งกำเนิดแสงภายนอก ความรับอาบรังสี (พลังงาน/เวลา/พื้นที่) ที่ตกบนพื้นที่นั้นจะค่าโคไซน์ของมุมระหว่างแนวฉากของผิวกับมุมที่แสงตกกระทบ การกระเจิงบนผิวลัมแบร์ทนั้นจะเกิดขึ้นกับแสงที่ตกกระทบ โดยเกิดการกระเจิงในลักษณะเดียวกับกฎโคไซน์ในการแผ่รังสีบนผิวลัมแบร์ท ซึ่งหมายความว่าแม้ว่าค่าความแผ่รังสีของผิวลัมแบร์ทจะขึ้นอยู่กับมุมระหว่างแนวฉากของผิวกับทิศทางไปแหล่งกำเนิดแสง แต่ก็ไม่ได้ขึ้นอยู่กับมุมมองของผู้สังเกต
หากเรามองว่าพื้นผิวของดวงจันทร์เป็นผิวลัมแบร์ท ความสว่างควรจะลดลงอย่างมากที่บริเวณใกล้ขอบของดวงจันทร์ เนื่องจากมุมตกกระทบของแสงที่ตกกระทบจากดวงอาทิตย์เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริงแล้วความสว่างไม่ได้ลดลง จึงกล่าวได้ว่าผิวดวงจันทร์ไม่ได้เป็นผิวลัมแบร์ท นอกจากนี้ ในทางปฏิบัติแล้ว แสงที่มุมตกกระทบเอียงจะกระเจิงมากกว่า เมื่อเทียบกับพื้นผิวลัมแบร์ท
การแผ่รังสีจากผิวลัมแบร์ทนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีรวมที่ตกกระทบ แต่ขึ้นอยู่กับการแผ่รังสีจากตัวแหล่งกำเนิดเอง ตัวอย่างเช่น สมมติว่าดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดรังสีแบบลัมแบร์ท อาจกล่าวได้ว่าพื้นผิวของดวงอาทิตย์มีความสว่างเท่ากันตลอดพื้นผิว อย่างไรก็ตาม ในความเป็นความจริงแล้วดวงอาทิตย์ไม่ใช่แหล่งกำเนิดรังสีแบบลัมแบร์ทเนื่องจากมีการมืดคล้ำที่ขอบ ตัวอย่างแหล่งกำเนิดรังสีแบบลัมแบร์ทคือวัตถุดำ
การพิสูจน์ความเท่ากันของความสว่าง
การเกิดการสะท้อนบนผิวลัมแบร์ทแสดงดังในรูปที่ 1 และ 2 ในที่นี้เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น จะอธิบายในรูปของจำนวนโฟตอน แทนพลังงานการส่องสว่างหรือความแผ่รังสี พื้นที่รูปลิ่มแต่ละช่องภายในวงกลมล้วนมีมุมขนาด dΩ เท่ากัน และจำนวนโฟตอนต่อวินาทีที่ฉายรังสีไปยังพื้นที่รูปลิ่มคงที่เท่ากันตลอดผิวลัมแบร์ท
ความยาวของลิ่มแต่ละอันสามารถมองว่าเป็นผลคูณของเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมและ cos(θ) นอกจากนี้ โฟตอนที่ปล่อยออกมาต่อหน่วยมุมตันจะมีค่าสูงสุดที่แนวฉาก และจะเป็นศูนย์ที่ θ = 90° ในทางคณิตศาสตร์ ความแผ่รังสีที่แนวฉากแสดงเป็น "ต่อวินาที ต่อตารางเมตร ต่อสเตอเรเดียน" (s·cm2·sr) โดยจำนวนโฟตอนที่ปล่อยออกมาจากพื้นที่ลิ่มแนวตั้งต่อวินาทีจะเป็น / dΩ dA ส่วนจำนวนโฟตอนที่ปล่อยออกมาต่อวินาทีที่มุม θ จากลิ่มแนวตั้งก็จะเป็น /cos(θ) dΩ dA
รูปที่ 2 เป็นแผนภาพแสดงมุมมองจากจุดสังเกต เมื่อมองจากด้านบนพื้นที่หน่วยหนึ่งโดยตรง จะมองเห็นพื้นที่ dA ที่มีมุมตันเป็น dΩ0 ผ่านรูรับแสงพื้นที่ dA0 อาจสรุปได้ว่า รูรับแสงดังกล่าวจะทำให้เกิดมุมทึบขนาด dΩ ในกรณีเมื่อมองจากพื้นที่หนึ่งหน่วย จุดสังเกตการณ์ของค่าที่แนวฉากนี้จะบันทึกได้เป็น /dΩ dA โฟตอน/วินาที และความแผ่รังสีที่วัดได้จะกลายเป็น
- /(s·cm2·sr)
เมื่อมองจากจุดสังเกตการณ์ที่ทำมุม θ กับแนวฉาก จะสังเกตการณ์พื้นที่หน่วยขนาด dA ผ่านรูรับแสงเดียวกันที่พื้นที่ dA0 แล้วมีขนาดมุมตันเป็น dΩ0 cos(θ) ที่จุดสังเกตการณ์นี้ค่าที่ถูกบันทึกจะเป็น /cos(θ) dΩ dA โฟตอน/วินาที และค่าความแผ่รังสีที่วัดได้จะเป็น
- โฟตอน/(s·cm2·sr)
ซึ่งมีค่าเท่ากับเมื่อมองจุดสังเกตการณ์บนแนวฉาก ดังนั้นจึงได้ข้อสรุปว่าความแผ่รังสี (หรือความสว่าง) จะไม่ขึ้นอยู่กับมุมที่สังเกตการณ์
ฟลักซ์ส่องสว่างและความเข้มของการส่องสว่างสูงสุด
โดยทั่วไปความเข้มของการส่องสว่าง ณ จุดหนึ่ง ๆ บนพื้นผิวหนึ่ง ๆ จะแตกต่างกันไปตามทิศทาง บนพื้นผิวลัมแบร์ท การกระเจิงของรังสีถูกกำหนดโดยกฎโคไซน์ โดยขึ้นกับค่าสูงสุดของการส่องสว่างที่แนวฉาก สมมติว่าถ้าพื้นผิวเป็นผิวลัมแบร์ท ให้ฟลักซ์ส่องสว่างรวมเป็น และความเข้มของการส่องสว่างสูงสุดเป็น จากกฎโคไซน์แล้วได้ว่า
ดังนั้น
ในที่นี้ คือดีเทอร์มิแนนต์ของสำหรับทรงกลมหนึ่งหน่วย และ คือฟลักซ์ส่องสว่างต่อสเตอเรเดียน ในทำนองเดียวกัน ความเข้มสูงสุดจะเท่ากับค่าฟลักซ์ส่องสว่างที่แผ่มาคูณด้วย
ตัวอย่าง: พื้นผิวที่มีความสว่าง cd/m2 (=100 nt, จอภาพ PC ทั่วไป) หากเป็นผิวลัมแบร์ทโดยสมบูรณ์แบบ จะมีความเข้มของการแผ่รังสีที่ 314 lm/m2 สำหรับพื้นที่ 0.1 m2 (≒ จอภาพ 19 นิ้ว) ปริมาณแสงที่ปล่อยออกมา หรือฟลักซ์ส่องสว่างทั้งหมดจะเป็น 31.4 lm
อ้างอิง
- RCA Electro-Optics Handbook, p.18 ff
- Modern Optical Engineering, Warren J. Smith, McGraw-Hill, p.228, 256
- Pedrotti & Pedrotti (1993). Introduction to Optics. Prentice Hall. ISBN .
- Lambert, Johann Heinrich (1760). Photometria, sive de mensura et gradibus luminis, colorum et umbrae. Eberhard Klett.
- Incropera and DeWitt, Fundamentals of Heat and Mass Transfer, 5th ed., p.710.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kdokhisnkhxnglmaebrth Lambert s cosine law inthangthsnsastr khuxkdthiklawwakhwamekhmkhxngkarsxngswanghruxkhwamekhmkhxngkaraephrngsithisngektidcakphunphiwsathxnaesngphrainxudmkhticakhaokhisnkhxngmum 8 rahwanglaaesngtkkrathbkbaenwchakphiwkhxngwtthu eriykxikxyangwa kdkaraephrngsiokhisn cosine emission law hrux kdkaraephrngsikhxnglmaebrth Lambert s emission law tngchuxtamoyhn ihnrich lmaebrth cakhnngsux khxngekhathitiphimphepnphasalatininpi 1760 phunphiwthiepniptamkdokhisnkhxnglmaebrtheriykwaepn phiwlmaebrth Lambertian surface aelamikhunsmbtikarsathxnaebblmaebrth phunphiwlmaebrthcamikhwamaephrngsiethaknimwaemuxmxngcakmumid aelainsaytakhxngmnusykcamxngwamikhwamswangethakninthukmum ehtuphlthiphunphiwlmaebrthmikhwamsxngswangethaknkhux aemwakhwamsxngswangthiplxyxxkmacakphunthithiphicarnacaldlngtamokhisnkhxngmumkaraephrngsi aetkhnadthipraktkhxngphunthithiphusngektmxngehnkcaldlngtam dngnnkhakhwamaephrngsi flksrngsi phunthikarchay cungethaknaesngphraaelakaraephrngsibnphiwlmaebrthhakphunthihnung plxyrngsixxkmaenuxngcakthuksxngswangodyaehlngkaenidaesngphaynxk khwamrbxabrngsi phlngngan ewla phunthi thitkbnphunthinncakhaokhisnkhxngmumrahwangaenwchakkhxngphiwkbmumthiaesngtkkrathb karkraecingbnphiwlmaebrthnncaekidkhunkbaesngthitkkrathb odyekidkarkraecinginlksnaediywkbkdokhisninkaraephrngsibnphiwlmaebrth sunghmaykhwamwaaemwakhakhwamaephrngsikhxngphiwlmaebrthcakhunxyukbmumrahwangaenwchakkhxngphiwkbthisthangipaehlngkaenidaesng aetkimidkhunxyukbmummxngkhxngphusngekt hakeramxngwaphunphiwkhxngdwngcnthrepnphiwlmaebrth khwamswangkhwrcaldlngxyangmakthibriewniklkhxbkhxngdwngcnthr enuxngcakmumtkkrathbkhxngaesngthitkkrathbcakdwngxathityephimkhun xyangirktam inkhwamepncringaelwkhwamswangimidldlng cungklawidwaphiwdwngcnthrimidepnphiwlmaebrth nxkcakni inthangptibtiaelw aesngthimumtkkrathbexiyngcakraecingmakkwa emuxethiybkbphunphiwlmaebrth karaephrngsicakphiwlmaebrthnnimidkhunxyukbprimanrngsirwmthitkkrathb aetkhunxyukbkaraephrngsicaktwaehlngkaenidexng twxyangechn smmtiwadwngxathityepnaehlngkaenidrngsiaebblmaebrth xacklawidwaphunphiwkhxngdwngxathitymikhwamswangethakntlxdphunphiw xyangirktam inkhwamepnkhwamcringaelwdwngxathityimichaehlngkaenidrngsiaebblmaebrthenuxngcakmikarmudkhlathikhxb twxyangaehlngkaenidrngsiaebblmaebrthkhuxwtthudakarphisucnkhwamethaknkhxngkhwamswangrupthi 1 karaephrngsiinaenwchakaelanxkaenwchak oftxn winathi canwnoftxntxwinathiphayinphunthiruplimaetlachxngnnaeprphntamphunthikhxnglimnnrupthi 2 khwamekhmaesngthisngektkarnid oftxn s cm2 sr cakaenwaelanxkaenwchak dA0 khuxphunthikhxngrurbaesngthimxngxyu dW khuxmumtnbnphunphiwsungmxngcakcudsngektkarn karekidkarsathxnbnphiwlmaebrthaesdngdnginrupthi 1 aela 2 inthiniephuxihehnphaphchdecnkhun caxthibayinrupkhxngcanwnoftxn aethnphlngngankarsxngswanghruxkhwamaephrngsi phunthiruplimaetlachxngphayinwngklmlwnmimumkhnad dW ethakn aelacanwnoftxntxwinathithichayrngsiipyngphunthiruplimkhngthiethakntlxdphiwlmaebrth khwamyawkhxnglimaetlaxnsamarthmxngwaepnphlkhunkhxngesnphansunyklangkhxngwngklmaela cos 8 nxkcakni oftxnthiplxyxxkmatxhnwymumtncamikhasungsudthiaenwchak aelacaepnsunythi 8 90 inthangkhnitsastr khwamaephrngsithiaenwchakaesdngepn txwinathi txtarangemtr txsetxerediyn s cm2 sr odycanwnoftxnthiplxyxxkmacakphunthilimaenwtngtxwinathicaepn dW dA swncanwnoftxnthiplxyxxkmatxwinathithimum 8 caklimaenwtngkcaepn cos 8 dW dA rupthi 2 epnaephnphaphaesdngmummxngcakcudsngekt emuxmxngcakdanbnphunthihnwyhnungodytrng camxngehnphunthi dA thimimumtnepn dW0 phanrurbaesngphunthi dA0 xacsrupidwa rurbaesngdngklawcathaihekidmumthubkhnad dW inkrniemuxmxngcakphunthihnunghnwy cudsngektkarnkhxngkhathiaenwchaknicabnthukidepn dW dA oftxn winathi aelakhwamaephrngsithiwdidcaklayepn I0 IdWdAdW0dA0 displaystyle I 0 frac I d Omega dA d Omega 0 dA 0 s cm2 sr emuxmxngcakcudsngektkarnthithamum 8 kbaenwchak casngektkarnphunthihnwykhnad dA phanrurbaesngediywknthiphunthi dA0 aelwmikhnadmumtnepn dW0 cos 8 thicudsngektkarnnikhathithukbnthukcaepn cos 8 dW dA oftxn winathi aelakhakhwamaephrngsithiwdidcaepn I0 Icos 8 dWdAdW0cos 8 dA0 IdWdAdW0dA0 displaystyle I 0 frac I cos theta d Omega dA d Omega 0 cos theta dA 0 frac I d Omega dA d Omega 0 dA 0 oftxn s cm2 sr sungmikhaethakbemuxmxngcudsngektkarnbnaenwchak dngnncungidkhxsrupwakhwamaephrngsi hruxkhwamswang caimkhunxyukbmumthisngektkarnflkssxngswangaelakhwamekhmkhxngkarsxngswangsungsudodythwipkhwamekhmkhxngkarsxngswang n cudhnung bnphunphiwhnung caaetktangkniptamthisthang bnphunphiwlmaebrth karkraecingkhxngrngsithukkahndodykdokhisn odykhunkbkhasungsudkhxngkarsxngswangthiaenwchak smmtiwathaphunphiwepnphiwlmaebrth ihflkssxngswangrwmepn Ftot displaystyle F tot aelakhwamekhmkhxngkarsxngswangsungsudepn Imax displaystyle I max cakkdokhisnaelwidwa Ftot 0p 2 02pcos 8 Imaxsin 8 d ϕd 8 displaystyle F tot int limits 0 pi 2 int limits 0 2 pi cos theta I max sin theta operatorname d phi operatorname d theta 2p Imax 0p 2cos 8 sin 8 d 8 displaystyle 2 pi cdot I max int limits 0 pi 2 cos theta sin theta operatorname d theta 2p Imax 0p 2sin 28 2d 8 displaystyle 2 pi cdot I max int limits 0 pi 2 frac sin 2 theta 2 operatorname d theta dd dd dngnn Ftot psr Imax displaystyle F tot pi mathrm sr cdot I max inthini sin 8 displaystyle sin theta khuxdiethxrmiaenntkhxngsahrbthrngklmhnunghnwy aela Imax displaystyle I max khuxflkssxngswangtxsetxerediyn inthanxngediywkn khwamekhmsungsudcaethakbkhaflkssxngswangthiaephmakhundwy 1 psr displaystyle 1 pi mathrm sr twxyang phunphiwthimikhwamswang cd m2 100 nt cxphaph PC thwip hakepnphiwlmaebrthodysmburnaebb camikhwamekhmkhxngkaraephrngsithi 314 lm m2 sahrbphunthi 0 1 m2 cxphaph 19 niw primanaesngthiplxyxxkma hruxflkssxngswangthnghmdcaepn 31 4 lmxangxingRCA Electro Optics Handbook p 18 ff Modern Optical Engineering Warren J Smith McGraw Hill p 228 256 Pedrotti amp Pedrotti 1993 Introduction to Optics Prentice Hall ISBN 0135015456 Lambert Johann Heinrich 1760 Photometria sive de mensura et gradibus luminis colorum et umbrae Eberhard Klett Incropera and DeWitt Fundamentals of Heat and Mass Transfer 5th ed p 710 duephimkhwamsngphan khwamsathxn