กฎของแก๊ส (อังกฤษ: Gas laws) พัฒนาขึ้นเมื่อปลายศตวรรษที่ 18 เมื่อนักวิทยาศาสตร์เริ่มตระหนักว่าสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างความดัน () ปริมาตร () และอุณหภูมิ () ของแก๊สตัวอย่าง ซึ่งจะเป็นค่าประมาณสำหรับแก๊สทั้งหมด สำหรับรายละเอียดของกฎข้างต้นและกฎอื่น ๆ จะได้อธิบายข้างล่างนี้
กฎของบอยล์
ในปี 1662 โรเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle) นักเคมีและนักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและความดันของแก๊สที่มีปริมาณและอุณหภูมิคงตัว เขาสังเกตว่าปริมาตรของแก๊สที่มีมวลหนึ่ง ๆ แปรผกผันกับความดันของแก๊ส กฎของบอยล์ตีพิมพ์ในปี 1662 กล่าวว่า หากอุณหภูมิคงตัว ผลคูณของความดันและปริมาตรของแก๊สอุดมคติที่มีมวลหนึ่ง ๆ ในระบบปิดเป็นค่าคงตัวเสมอ สามารถยืนยันได้โดยการทดลองใช้เครื่องวัดความดันและภาชนะที่มีปริมาตรไม่คงตัว และยังหาได้จากทฤษฎีจลน์ของแก๊ซ เมื่อลดปริมาตรภาชนะที่มีจำนวนโมเลกุลที่แน่นอนอยู่ภายใน ทำให้โมเลกุลชนกับพื้นผิวของภาชนะมากขึ้นต่อหน่วยเวลา ส่งผลให้ความดันเพิ่มขึ้น
กฎของบอยล์เป็นดังต่อนี้
ปริมาตรของแก๊สที่มีมวลหนึ่ง ๆ แปรผกผันกับความดันเมื่ออุณหภูมิคงตัว
แสดงความสัมพันธ์ดังกล่าวได้ดังสมการ
หมายความว่า ปริมาตรแปรผกผันกับความดัน หรือ
หมายความว่า ความดันแปรผกผันกับปริมาตร หรือ
หมายความว่า ผลคูณของความดันและปริมาตรของแก๊สเท่ากับค่าคงตัว
ดังนั้น
เมื่อ
- คือ ความดัน
- คือ ปริมาตร
- คือ ค่าคงตัวในสมการนี้ (ไม่เท่ากันกับค่าคงตัวของสมการอื่นในบทความนี้)
กฎของชาร์ล
กฎของชาร์ลค้นพบในปี 1787 โดย (Jacques Alexandre César Charles) นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส กล่าวว่า แก๊สอุดมคติที่มีมวลหนึ่ง ๆ ในความดันคงตัว ปริมาตรจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊สนั้น ๆ ในระบบปิด
กฎของชาร์ลเป็นดังต่อไปนี้
ปริมาตรของแก๊สที่มีมวลหนึ่ง ๆ ในความดันคงตัวจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ
แสดงความสัมพันธ์ดังกล่าวได้ดังสมการ
หรือ
ดังนั้น
เมื่อ
- คือ ปริมาตร
- คือ อุณหภูมิ (K)
- คือ ค่าคงตัวในสมการนี้ (ไม่เท่ากันกับค่าคงตัวของสมการอื่นในบทความนี้)
กฎของแก-ลูว์ซัก
กฎของแก-ลูว์ซัก (บางครั้งเขียนว่ากฎของเก-ลัสแซกหรือกฎของเกย์ลูสแซก) ค้นพบโดยโฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก (Joseph Louis Gay-Lussac) นักฟิสิกส์และนักเคมีชาวฝรั่งเศสในปี 1808 กล่าวว่า แก๊สอุดมคติที่มีมวลหนึ่ง ๆ และมีปริมาตรคงตัว ความดันที่กระทำต่อภาชนะจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์
แสดงความสัมพันธ์ดังกล่าวได้ดังสมการ
หรือ
ดังนั้น
เมื่อ
- คือ ความดัน
- คือ อุณหภูมิ (K)
- คือ ค่าคงตัวในสมการนี้ (ไม่เท่ากันกับค่าคงตัวของสมการอื่นในบทความนี้)
กฎของอโวกาโดร
กฎของอโวกาโดรสันนิษฐานว่าค้นพบเมื่อปี 1811 กล่าวว่า หากอุณหภูมิและความดันคงตัว ปริมาตรของแก็สอุดมคติจะแปรผันตรงกับจำนวนโมเลกุลของแก๊สในภาชนะ นำมาสู่ปริมาตรโมลาร์ของแก๊สที่ STP (273.1 K, 1 atm) ประมาณ 22.4 L
แสดงความสัมพันธ์ดังกล่าวได้ดังสมการ
หรือ
เมื่อ
- คือ ปริมาตร
- คือ จำนวนโมเลกุลของแก๊ส (หรือจำนวนโมลของแก๊ส)
กฎรวมแก๊สและกฎของแก๊สอุดมคติ
จากกฎทั้งสามกฎข้างต้น นำมารวมได้เป็นกฎรวมแก๊ส ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิ ของแก๊สที่มีมวล (ปริมาณ) คงตัว ดังสมการ
หรือเขียนได้อีกแบบหนึ่งว่า
อาศัยกฎของอาโวกาโดร สามารถเปลี่ยนกฎรวมแก๊สให้เป็นกฎของแก๊สอุดมคติหรือกฎแก๊สสมบูรณ์ ดังสมการ
เมื่อ
- คือ ความดัน (Pa)
- คือ ปริมาตร (m2)
- คือ จำนวนโมลของแก๊ส
- คือ ค่าคงตัวสากลของแก๊ส (8.3144598 kPa∙L∙mol−1∙K−1)
- คือ อุณหภูมิ (K)
สูตรที่เหมือนกับกฎนี้คือ
เมื่อ
- คือ ความดัน (Pa)
- คือ ปริมาตร (m2)
- คือ จำนวนโมเลกุลของแก๊ส
- คือ ค่าคงตัวของโบลต์ซมันน์ (1.381×10−23 J∙K−1)
- คือ อุณหภูมิ (K)
สมการเหล่านี้ใช้สำหรับแก๊สอุดมคติอยู่ในสภาวะที่สมมติขึ้นมา ซึ่งไม่ได้พิจารณาปรากฏการณ์ระหว่างโมเลกุล (ดู) กฎเหล่านี้จึงไม่สามารถอธิบายพฤติกรรมที่แท้จริงของแก๊สจริงได้ อย่างไรก็ตาม กฎของแก๊สอุดมคติเป็นการประมาณที่ดีสำหรับแก๊สส่วนมากภายใต้ความดันและอุณภูมิที่พอดี
กฎนี้ส่งผลกระทบที่สำคัญ ดังนี้
- หากอุณหภูมิและความดันของแก๊สคงตัว ปริมาตรจะแปรผันตรงกับจำนวนโมเลกุลของแก๊ส
- หากอุณหภูมิและปริมาตรของแก๊สคงตัว ความดันจะแปรผันตรงกับจำนวนโมเลกุลของแก๊ส
- หากจำนวนโมเลกุลและอุณหภูมิของแก๊สคงตัว ความดันจะแปรผกผันกับปริมาตรของแก๊ส
- หากอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงแต่จำนวนโมเลกุลของแก๊สยังคงตัว ความดันและ/หรือปริมาตรของแก๊สจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ
กฎอื่น ๆ ของแก๊ส
อัตราการแพร่ของโมเลกุลของแก๊สแปรผกผันกับรากที่สองของความหนาแน่นของแก๊ส ณ อุณหภูมิคงตัว นำมารวมกับกฎของอโวกาโดรเนื่องจากปริมาตรเท่ากันจะมีจำนวนโมเลกุลเท่ากัน นั่นคืออัตราการแพร่จะแปรผกผันกับรากที่สองของมวลโมเลกุล
ดังนั้น
เมื่อ
- คือ อัตราการแพร่ผ่านของแก๊ส 1
- คือ อัตราการแพร่ผ่านของแก๊ส 2
- คือ มวลโมลาร์ของแก๊ส 1
- คือ มวลโมลาร์ของแก๊ส 2
กฎของ
หากแก๊สแต่ละชนิดและแก๊สผสมอยู่ในอุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน ความดันของแก๊สผสมคือผลรวมของความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด ดังนี้
เมื่อ
- คือ ความดันรวมของแก๊สผสม
- คือ ความดันย่อยหรือความดันของแก๊สแต่ละชนิดในอุณหภูมิและปริมาตรหนึ่ง ๆ
กฎของ
หากแก๊สแต่ละชนิดและแก๊สผสมอยู่ในอุณหภูมิและความดันเดียวกัน ปริมาตรของแก๊สผสมคือผลรวมของปริมาตรย่อยของแต่ละส่วนประกอบ ดังนี้
เมื่อ
- คือ ปริมาตรรวมของแก๊สผสม
- คือ ปริมาตรย่อยหรือปริมาตรของแก๊สแต่ละชนิดในอุณหภูมิและความดันหนึ่ง ๆ
หากอุณหภูมิคงที่ ปริมาณของแก๊สหนึ่ง ๆ ที่ละลายในของเหลวชนิดและปริมาตรหนึ่ง ๆ จะแปรผันตรงกับของแก๊สในสภาวะสมดุลที่อยู่ในของเหลวนั้น
คิดค้นในปี 1873 โดย
อ้างอิง
- Castka, Joseph F.; Metcalfe, H. Clark; Davis, Raymond E.; Williams, John E. (2002). Modern Chemistry. Holt, Rinehart and Winston. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Guch, Ian (2003). The Complete Idiot's Guide to Chemistry. Alpha, Penguin Group Inc. ISBN .
- Zumdahl, Steven S (1998). Chemical Principles. Houghton Mifflin Company. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kdkhxngaeks xngkvs Gas laws phthnakhunemuxplaystwrrsthi 18 emuxnkwithyasastrerimtrahnkwasamarthhakhwamsmphnthrahwangkhwamdn P displaystyle P primatr V displaystyle V aelaxunhphumi T displaystyle T khxngaekstwxyang sungcaepnkhapramansahrbaeksthnghmd sahrbraylaexiydkhxngkdkhangtnaelakdxun caidxthibaykhanglangnikdkhxngbxylinpi 1662 orebirt bxyl Robert Boyle nkekhmiaelankfisikschawxngkvs suksakhwamsmphnthrahwangprimatraelakhwamdnkhxngaeksthimiprimanaelaxunhphumikhngtw ekhasngektwaprimatrkhxngaeksthimimwlhnung aeprphkphnkbkhwamdnkhxngaeks kdkhxngbxyltiphimphinpi 1662 klawwa hakxunhphumikhngtw phlkhunkhxngkhwamdnaelaprimatrkhxngaeksxudmkhtithimimwlhnung inrabbpidepnkhakhngtwesmx samarthyunynidodykarthdlxngichekhruxngwdkhwamdnaelaphachnathimiprimatrimkhngtw aelaynghaidcakthvsdiclnkhxngaeks emuxldprimatrphachnathimicanwnomelkulthiaennxnxyuphayin thaihomelkulchnkbphunphiwkhxngphachnamakkhuntxhnwyewla sngphlihkhwamdnephimkhun kdkhxngbxylepndngtxniprimatrkhxngaeksthimimwlhnung aeprphkphnkbkhwamdnemuxxunhphumikhngtw aesdngkhwamsmphnthdngklawiddngsmkarV 1P displaystyle V propto frac 1 P hmaykhwamwa primatraeprphkphnkbkhwamdn hrux P 1V displaystyle P propto frac 1 V hmaykhwamwa khwamdnaeprphkphnkbprimatr hrux PV k1 displaystyle PV k 1 hmaykhwamwa phlkhunkhxngkhwamdnaelaprimatrkhxngaeksethakbkhakhngtw dngnn P1V1 P2V2 displaystyle P 1 V 1 P 2 V 2 emux P displaystyle P khux khwamdn V displaystyle V khux primatr k1 displaystyle k 1 khux khakhngtwinsmkarni imethaknkbkhakhngtwkhxngsmkarxuninbthkhwamni kdkhxngcharlkdkhxngcharlkhnphbinpi 1787 ody Jacques Alexandre Cesar Charles nkwithyasastrchawfrngess klawwa aeksxudmkhtithimimwlhnung inkhwamdnkhngtw primatrcaaeprphntrngkbxunhphumismburnkhxngaeksnn inrabbpid kdkhxngcharlepndngtxipniprimatrkhxngaeksthimimwlhnung inkhwamdnkhngtwcaaeprphntrngkbxunhphumi aesdngkhwamsmphnthdngklawiddngsmkarV T displaystyle V propto T hrux VT k2 displaystyle frac V T k 2 dngnn V1T1 V2T2 displaystyle frac V 1 T 1 frac V 2 T 2 emux V displaystyle V khux primatr T displaystyle T khux xunhphumi K k2 displaystyle k 2 khux khakhngtwinsmkarni imethaknkbkhakhngtwkhxngsmkarxuninbthkhwamni kdkhxngaek luwskkdkhxngaek luwsk bangkhrngekhiynwakdkhxngek lsaeskhruxkdkhxngekylusaesk khnphbodyochaesf hluys aek luwsk Joseph Louis Gay Lussac nkfisiksaelankekhmichawfrngessinpi 1808 klawwa aeksxudmkhtithimimwlhnung aelamiprimatrkhngtw khwamdnthikrathatxphachnacaaeprphntrngkbxunhphumismburn aesdngkhwamsmphnthdngklawiddngsmkar P T displaystyle P propto T hrux PT k3 displaystyle frac P T k 3 dngnn P1T1 P2T2 displaystyle frac P 1 T 1 frac P 2 T 2 emux P displaystyle P khux khwamdn T displaystyle T khux xunhphumi K k3 displaystyle k 3 khux khakhngtwinsmkarni imethaknkbkhakhngtwkhxngsmkarxuninbthkhwamni kdkhxngxowkaodrkdkhxngxowkaodrsnnisthanwakhnphbemuxpi 1811 klawwa hakxunhphumiaelakhwamdnkhngtw primatrkhxngaeksxudmkhticaaeprphntrngkbcanwnomelkulkhxngaeksinphachna namasuprimatromlarkhxngaeksthi STP 273 1 K 1 atm praman 22 4 L aesdngkhwamsmphnthdngklawiddngsmkar V n displaystyle V propto n hrux V1n1 V2n2 displaystyle frac V 1 n 1 frac V 2 n 2 emux V displaystyle V khux primatr n displaystyle n khux canwnomelkulkhxngaeks hruxcanwnomlkhxngaeks kdrwmaeksaelakdkhxngaeksxudmkhticakkdthngsamkdkhangtn namarwmidepnkdrwmaeks sungaesdngkhwamsmphnthrahwangkhwamdn primatr aelaxunhphumi khxngaeksthimimwl priman khngtw dngsmkar PV k5T displaystyle PV k 5 T hruxekhiynidxikaebbhnungwa P1V1T1 P2V2T2 displaystyle frac P 1 V 1 T 1 frac P 2 V 2 T 2 xasykdkhxngxaowkaodr samarthepliynkdrwmaeksihepnkdkhxngaeksxudmkhtihruxkdaekssmburn dngsmkar PV nRT displaystyle PV nRT emux P displaystyle P khux khwamdn Pa V displaystyle V khux primatr m2 n displaystyle n khux canwnomlkhxngaeks R displaystyle R khux khakhngtwsaklkhxngaeks 8 3144598 kPa L mol 1 K 1 T displaystyle T khux xunhphumi K sutrthiehmuxnkbkdnikhux PV NkBT displaystyle PV Nk B T emux P displaystyle P khux khwamdn Pa V displaystyle V khux primatr m2 N displaystyle N khux canwnomelkulkhxngaeks kB displaystyle k B khux khakhngtwkhxngobltsmnn 1 381 10 23 J K 1 T displaystyle T khux xunhphumi K smkarehlaniichsahrbaeksxudmkhtixyuinsphawathismmtikhunma sungimidphicarnapraktkarnrahwangomelkul du kdehlanicungimsamarthxthibayphvtikrrmthiaethcringkhxngaekscringid xyangirktam kdkhxngaeksxudmkhtiepnkarpramanthidisahrbaeksswnmakphayitkhwamdnaelaxunphumithiphxdi kdnisngphlkrathbthisakhy dngni hakxunhphumiaelakhwamdnkhxngaekskhngtw primatrcaaeprphntrngkbcanwnomelkulkhxngaeks hakxunhphumiaelaprimatrkhxngaekskhngtw khwamdncaaeprphntrngkbcanwnomelkulkhxngaeks hakcanwnomelkulaelaxunhphumikhxngaekskhngtw khwamdncaaeprphkphnkbprimatrkhxngaeks hakxunhphumiepliynaeplngaetcanwnomelkulkhxngaeksyngkhngtw khwamdnaela hruxprimatrkhxngaekscaaeprphkphnkbxunhphumikdxun khxngaeksxtrakaraephrkhxngomelkulkhxngaeksaeprphkphnkbrakthisxngkhxngkhwamhnaaennkhxngaeks n xunhphumikhngtw namarwmkbkdkhxngxowkaodrenuxngcakprimatrethakncamicanwnomelkulethakn nnkhuxxtrakaraephrcaaeprphkphnkbrakthisxngkhxngmwlomelkul r 1d displaystyle r propto frac 1 sqrt d dngnn Rate1Rate2 M2M1 displaystyle frac textrm Rate 1 textrm Rate 2 sqrt frac M 2 M 1 emux Rate1 displaystyle textrm Rate 1 khux xtrakaraephrphankhxngaeks 1 Rate2 displaystyle textrm Rate 2 khux xtrakaraephrphankhxngaeks 2 M1 displaystyle M 1 khux mwlomlarkhxngaeks 1 M2 displaystyle M 2 khux mwlomlarkhxngaeks 2kdkhxng hakaeksaetlachnidaelaaeksphsmxyuinxunhphumiaelaprimatrediywkn khwamdnkhxngaeksphsmkhuxphlrwmkhxngkhwamdnyxykhxngaeksaetlachnid dngni Ptotal P1 P2 P3 Pn i 1nPi displaystyle P textrm total P 1 P 2 P 3 cdots P n equiv sum i 1 n P i emux Ptotal displaystyle P textrm total khux khwamdnrwmkhxngaeksphsm Pi displaystyle P i khux khwamdnyxyhruxkhwamdnkhxngaeksaetlachnidinxunhphumiaelaprimatrhnung kdkhxng hakaeksaetlachnidaelaaeksphsmxyuinxunhphumiaelakhwamdnediywkn primatrkhxngaeksphsmkhuxphlrwmkhxngprimatryxykhxngaetlaswnprakxb dngni Vtotal V1 V2 V3 Vn i 1nVi displaystyle V textrm total V 1 V 2 V 3 cdots V n equiv sum i 1 n V i emux Vtotal displaystyle V textrm total khux primatrrwmkhxngaeksphsm Vi displaystyle V i khux primatryxyhruxprimatrkhxngaeksaetlachnidinxunhphumiaelakhwamdnhnung hakxunhphumikhngthi primankhxngaekshnung thilalayinkhxngehlwchnidaelaprimatrhnung caaeprphntrngkbkhxngaeksinsphawasmdulthixyuinkhxngehlwnn p kHc displaystyle p k rm H c khidkhninpi 1873 odyxangxingCastka Joseph F Metcalfe H Clark Davis Raymond E Williams John E 2002 Modern Chemistry Holt Rinehart and Winston ISBN 0 03 056537 5 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk Guch Ian 2003 The Complete Idiot s Guide to Chemistry Alpha Penguin Group Inc ISBN 1 59257 101 8 Zumdahl Steven S 1998 Chemical Principles Houghton Mifflin Company ISBN 0 395 83995 5 bthkhwamwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk