บทความนี้ไม่มีจาก |
กฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตัน (อังกฤษ: Newton's law of universal gravitation) ระบุว่า แต่ละจุดมวลในเอกภพจะดึงดูดจุดมวลอื่นๆ ด้วยแรงที่มีขนาดเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของมวลทั้งสอง และเป็นสัดส่วนผกผันกับค่ากำลังสองของระยะห่างระหว่างกัน นี่คือกฎฟิสิกส์ทั่วไปที่ได้จากการสังเกตการณ์ของไอแซก นิวตัน เป็นส่วนหนึ่งของกลศาสตร์ดั้งเดิม และเป็นส่วนสำคัญอยู่ในงานของนิวตันชื่อ ("the Principia") ซึ่งเผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1687
กฎดังกล่าวแสดงเป็นสมการได้ดังนี้
- ,
โดยที่:
- F คือแรงดึงดูดระหว่างมวล,
- G คือ ค่าคงที่โน้มถ่วงสากล,
- m1 คือมวลก้อนแรก,
- m2 คือมวลก้อนที่สอง, และ
- r คือระยะห่างระหว่างมวล
สมมติว่าระบบเอสไอ (SI units), F มีหน่วยวัดเป็นนิวตัน (N), m1 และ m2 เป็นกิโลกรัม (kg), r ในหน่วยเมตร (m) และ ค่าคงที่ G จะประมาณเท่ากับ 6.674×10−11 นิวตัน เมตร2 กิโลกรัม−2 ค่าคงที่ G เป็นค่าที่ถูกกำหนดได้อย่างถูกต้องเป็นครั้งแรกจากผลการทดลองของคาเวนดิช (Cavendish experiment) ที่ดำเนินการโดย เฮนรี คาเวนดิช นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษในปี ค.ศ. 1798, แม้ว่าคาเวนดิชจะไม่ได้คำนวณค่าเชิงตัวเลข G ด้วยตัวของเขาเองก็ตาม การทดลองครั้งนี้ยังเป็นครั้งแรกของการทดสอบทฤษฎีของนิวตันของความโน้มถ่วงระหว่างมวลในห้องปฏิบัติการอีกด้วย มันเกิดขึ้นหลังจากเวลาผ่านไป 111 ปี หลังจากการประกาศตีพิมพ์คัมภีร์ Principia ของนิวตันและ 71 ปีหลังจากการตายของนิวตัน, จึงยังไม่มีใครสามารถทำการคำนวณสมการของนิวตันให้สามารถใช้ค่าของ G; ได้แทนเขา ซึ่งมีแต่เขาผู้เดียวเท่านั้นที่สามารถคำนวณแรงที่สัมพันธ์กับแรงอื่น ๆ ได้
กฎของความโน้มถ่วงของนิวตันมีลักษณะคล้าย (Coulomb's law) ของแรงทางไฟฟ้า, ซึ่งจะใช้ในการคำนวณหาขนาดของแรงทางไฟฟ้าที่เกิดขึ้นระหว่างวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าสองก้อน กฎทั้งสองนี้ ต่างก็เป็น "" (inverse-square laws) ที่แรงจะเป็นสัดส่วนผกผันกับกำลังสองของระยะห่างระหว่างวัตถุ
กฎของนิวตันถูกแทนที่ด้วยทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ แต่ยังใช้เป็นการประมาณค่าที่ยอดเยี่ยมของผลแห่งความโน้มถ่วงในการประยุกต์ส่วนใหญ่ จำเป็นต้องใช้สัมพัทธภาพเฉพาะเมื่อมีความจำเป็นสำหรับความแม่นยำอย่างยิ่งเท่านั้น หรือเมื่อจัดการกับสนามความโน้มถ่วงที่เข้มจัด เช่น สนามความโน้มถ่วงที่พบใกล้กับวัตถุที่มีขนาดใหญ่และหนาแน่นอย่างยิ่ง หรือที่ระยะใกล้มาก (เช่นวงโคจรของดาวพุธรอบดวงอาทิตย์)
รูปแบบเวกเตอร์
กฎความโน้มถ่วงสากลสามารถเขียนเป็น (vector equation) เพื่ออธิบายสำหรับทิศทางของแรงโน้มถ่วงเช่นเดียวกับขนาดของมัน ในสูตรนี้ปริมาณที่เป็นตัวหนาเป็นตัวแทนของเวกเตอร์
where
- F12 คือแรงที่ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในวัตถุที่ 2 อันเนื่องมาจากวัตถุที่ 1,
- G คือ ค่าคงที่โน้มถ่วงสากล (gravitational constant),
- m1 และ m2 คือ มวลของวัตถุที่ 1 และ 2 ตามลำดับ,
- |r12| = |r2 − r1| คือ ระยะทางระหว่างวัตถุที่ 1 และ 2 และ
- คือ เวกเตอร์หนึ่งหน่วย (unit vector) จากวัตถุที่ 1 ถึง วัตถุที่ 2
หมายเหตุ
- (October 4, 1999). (videotape) (ภาษาอังกฤษ). Cambridge, MA USA: MIT OCW. เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ 1:21-10:10. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (ogg)เมื่อ 2012-10-28. สืบค้นเมื่อ December 23, 2010.
- Taylor, Barry N.; Newell, David B. (2008). "CODATA Recommended Values of the Fundamental Physical Constants: 2006" (PDF). 80: 633–730. doi:10.1103/RevModPhys.80.633.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () Direct link to value..
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir kdkhwamonmthwngsaklkhxngniwtn xngkvs Newton s law of universal gravitation rabuwa aetlacudmwlinexkphphcadungdudcudmwlxun dwyaerngthimikhnadepnsdswnodytrngkbphlkhunkhxngmwlthngsxng aelaepnsdswnphkphnkbkhakalngsxngkhxngrayahangrahwangkn nikhuxkdfisiksthwipthiidcakkarsngektkarnkhxngixaesk niwtn epnswnhnungkhxngklsastrdngedim aelaepnswnsakhyxyuinngankhxngniwtnchux the Principia sungephyaephrkhrngaerkemuxwnthi 5 krkdakhm kh s 1687 source source source source sastracarywxletxr elwin Prof kalngxthibaykdaerngonmthwngsaklkhxngniwtninhlksutr 8 01 thisthabnexmixthi MIT course 8 01 2012 10 28 thi ewyaebkaemchchin dawethiymaelakrasunpunthnghmdlwnaelwaetepniptamktaehngaerngonmthwngkhxngniwtnthngsin kddngklawaesdngepnsmkariddngni F Gm1m2r2 displaystyle F G frac m 1 m 2 r 2 odythi F khuxaerngdungdudrahwangmwl G khux khakhngthionmthwngsakl m1 khuxmwlkxnaerk m2 khuxmwlkxnthisxng aela r khuxrayahangrahwangmwl smmtiwarabbexsix SI units F mihnwywdepnniwtn N m1 aela m2 epnkiolkrm kg r inhnwyemtr m aela khakhngthi G capramanethakb 6 674 10 11 niwtn emtr2 kiolkrm 2 khakhngthi G epnkhathithukkahndidxyangthuktxngepnkhrngaerkcakphlkarthdlxngkhxngkhaewndich Cavendish experiment thidaeninkarody ehnri khaewndich nkwithyasastrchawxngkvsinpi kh s 1798 aemwakhaewndichcaimidkhanwnkhaechingtwelkh G dwytwkhxngekhaexngktam karthdlxngkhrngniyngepnkhrngaerkkhxngkarthdsxbthvsdikhxngniwtnkhxngkhwamonmthwngrahwangmwlinhxngptibtikarxikdwy mnekidkhunhlngcakewlaphanip 111 pi hlngcakkarprakastiphimphkhmphir Principia khxngniwtnaela 71 pihlngcakkartaykhxngniwtn cungyngimmiikhrsamarththakarkhanwnsmkarkhxngniwtnihsamarthichkhakhxng G idaethnekha sungmiaetekhaphuediywethannthisamarthkhanwnaerngthismphnthkbaerngxun id kdkhxngkhwamonmthwngkhxngniwtnmilksnakhlay Coulomb s law khxngaerngthangiffa sungcaichinkarkhanwnhakhnadkhxngaerngthangiffathiekidkhunrahwangwtthuthimipracuiffasxngkxn kdthngsxngni tangkepn inverse square laws thiaerngcaepnsdswnphkphnkbkalngsxngkhxngrayahangrahwangwtthu kdkhxngniwtnthukaethnthidwythvsdismphththphaphthwipkhxngxlebirt ixnsitn aetyngichepnkarpramankhathiyxdeyiymkhxngphlaehngkhwamonmthwnginkarprayuktswnihy caepntxngichsmphththphaphechphaaemuxmikhwamcaepnsahrbkhwamaemnyaxyangyingethann hruxemuxcdkarkbsnamkhwamonmthwngthiekhmcd echn snamkhwamonmthwngthiphbiklkbwtthuthimikhnadihyaelahnaaennxyangying hruxthirayaiklmak echnwngokhcrkhxngdawphuthrxbdwngxathity rupaebbewketxresnsnamthuklakesnsahrbcudmwlodyichesnsnam 24 esnsnamaerngonmthwngrxbolkcakmummxngdwytaepla kdkhwamonmthwngsaklsamarthekhiynepn vector equation ephuxxthibaysahrbthisthangkhxngaerngonmthwngechnediywkbkhnadkhxngmn insutrniprimanthiepntwhnaepntwaethnkhxngewketxr F21 Gm1m2 r12 2r 12 displaystyle mathbf F 21 G m 1 m 2 over vert mathbf r 12 vert 2 mathbf hat r 12 where F12 khuxaerngthithuknamaprayuktichinwtthuthi 2 xnenuxngmacakwtthuthi 1 G khux khakhngthionmthwngsakl gravitational constant m1 aela m2 khux mwlkhxngwtthuthi 1 aela 2 tamladb r12 r2 r1 khux rayathangrahwangwtthuthi 1 aela 2 aela r 12 def r2 r1 r2 r1 displaystyle mathbf hat r 12 stackrel mathrm def frac mathbf r 2 mathbf r 1 vert mathbf r 2 mathbf r 1 vert khux ewketxrhnunghnwy unit vector cakwtthuthi 1 thung wtthuthi 2hmayehtu October 4 1999 videotape phasaxngkvs Cambridge MA USA MIT OCW ehtukarnekidkhunthi 1 21 10 10 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim ogg emux 2012 10 28 subkhnemux December 23 2010 Taylor Barry N Newell David B 2008 CODATA Recommended Values of the Fundamental Physical Constants 2006 PDF 80 633 730 doi 10 1103 RevModPhys 80 633 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Direct link to value