วีนัสหลับ หรือ วีนัสแห่งเดรสเดน (อังกฤษ: Sleeping Venus หรือ Dresden Venus, อิตาลี: I tre filosofi) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอร์โจเนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอจิตรกรรมชั้นครูแห่งเดรสเดนในประเทศเยอรมนี ภาพ “วีนัสหลับ” เขียนเสร็จราวระหว่างปี ค.ศ. 1510
วีนัสหลับ | |
---|---|
ศิลปิน | จอร์โจเน |
ปี | ราว ค.ศ. 1510 |
ประเภท | จิตรกรรมสีน้ำมันบนผ้าใบ |
สถานที่ | หอจิตรกรรมชั้นครูแห่งเดรสเดน |
ภาพ “วีนัสหลับ” เป็นภาพที่มีอิทธิพลต่องานเขียนอื่นๆ หลายชิ้น ในปัจจุบันเชื่อกันว่าทิเชียนเป็นผู้เขียนฉากหลังที่เป็นภูมิทัศน์ ที่มาเขียนหลังจากที่จอร์โจเนเสียชีวิตไปแล้ว ตามที่ตั้งข้อสังเกต
ภาพ “วีนัสหลับ” เป็นงานหนึ่งในงานเขียนสุดท้ายของจอร์โจเนที่เป็นภาพสตรีเปลือย ที่ดูเหมือนร่างจะมีส่วนโค้งเว้าตามแนวเนินในฉากหลัง ดูเหมือนว่าจอร์โจเนจะเขียนรายละเอียดของแสงเงาของฉากหลังอย่างบรรจง การเลือกเขียนสตรีเปลือยเป็นแนวการเขียนที่เป็นการปฏิวัติทางศิลปะและเป็นจุดที่ผู้เชี่ยวชาญบางท่านถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของศิลปะยุคใหม่ จอร์โจเนมาเสียชีวิตเสียก่อนที่ภาพเขียนนี้จะเขียนเสร็จ ซึ่งทำให้เชื่อกันว่าทิเชียนมาเขียนภูมิทัศน์และท้องฟ้าในฉากหลัง ที่ทิเชียนนำมาเขียนต่อมาในภาพ “วีนัสแห่งเออร์บิโน”
ความยั่วยวนของวีนัสในภาพนี้อยู่ที่การวางท่าและตำแหน่งของมือซ้ายที่วางระหว่างต้นขา ผ้าปูเขียนเป็นสีเงินและเป็นเงาเหมือนผ้าซาตินซึ่งเป็นสีเย็นแทนที่จะเป็นสีร้อนของผ้าลินนินที่นิยมเขียนกัน ลักษณะของผ้าดูแข็งเมื่อเทียบกับที่พบในภาพเขียนของทิเชียนหรือเดียโก เบลัซเกซ ภูมิทัศน์โค้งตามส่วนโค้งของร่างของวีนัสที่เป็นการสะท้อนให้เห็นความคิดของความเกี่ยวข้องระหว่างร่างกายของมนุษย์ว่าเป็นสิ่งธรรมชาติที่เป็นสิ่งที่มีชีวิตและเจริญเติบโตได้
มีผู้อ้างว่าการวางท่าของวีนัสมีลักษณะคล้ายกับภาพพิมพ์แกะไม้ The pose of the figure has been connected with a figure in one of the ภาพพิมพ์แกะไม้ประกอบของหนังสือ “” (โพลิฟิลิตามความรักในฝัน) ที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 1499 แต่ภาพเปลือยขนาดใหญ่เช่นภาพนี้ที่เป็นหัวเรื่องหลักของภาพเป็นสิ่งที่ไม่เคยทำกันมาก่อนในภาพเขียนในตะวันตก และเป็นภาพที่มีอิทธิพลต่อการเขียนภาพประเภทนี้ต่อมาอีกหลายร้อยปียกเว้นและงานที่แจ่มแจ้งไปกว่างานของจอร์โจเนเช่นงานพิมพ์ของจิโอวานนิ บัตติสตา พาลัมบา แม้ว่าจะมีภาพเขียนสตรีเปลือยโดยจิตรกรชั้นครูอื่นๆ ก่อนหน้านั้นอีกหลายภาพแต่ก็มีเพียงสองภาพที่เขียนโดยบอตติเชลลี “กำเนิดวีนัส” และ “ฤดูใบไม้ผลิ” เท่านั้นที่พอจะเป็นงานที่มีลักษณะใกล้เคียงพอกับภาพนี้ ความหยั่งคิดถึงธรรมชาติและความงามของสรีระเป็นเรื่องปกติของทัศนคติของจอร์โจเน การวางภาพนี้มีอิทธิพลต่อภาพเขียนในสมัยต่อมาเช่นในงานเขียนของฌอง โอกุสต์ โดมินิค อิงเกรส์ และ ปีเตอร์ พอล รูเบนส์ และงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับภาพนี้ของจอร์โจเนก็คือภาพ “วีนัสแห่งเออร์บิโน” ที่เขียนโดยทิเชียน และภาพ “” ที่เขียนโดยเอดวด มาเนท์
อ้างอิง
- พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ: ชีวประวัติของจอร์โจเน[1]
- See, for example, Charles Hope in David Jaffé (ed), Titian, The National Gallery Company/Yale, p.13, London 2003,
- Illustrated page 5, NGA Washington 2012-10-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน,
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha winshlb hrux winsaehngedrsedn xngkvs Sleeping Venus hrux Dresden Venus xitali I tre filosofi epnphaphekhiynsinamnthiekhiynodycxrocencitrkrsmyerxensxngskhnsakhychawxitali thipccubntngaesdngxyuthihxcitrkrrmchnkhruaehngedrsedninpraethseyxrmni phaph winshlb ekhiynesrcrawrahwangpi kh s 1510winshlbsilpincxrocenpiraw kh s 1510praephthcitrkrrmsinamnbnphaibsthanthihxcitrkrrmchnkhruaehngedrsedn phaph winshlb epnphaphthimixiththiphltxnganekhiynxun hlaychin inpccubnechuxknwathiechiynepnphuekhiynchakhlngthiepnphumithsn thimaekhiynhlngcakthicxrocenesiychiwitipaelw tamthitngkhxsngekt phaph winshlb epnnganhnunginnganekhiynsudthaykhxngcxrocenthiepnphaphstriepluxy thiduehmuxnrangcamiswnokhngewatamaenwenininchakhlng duehmuxnwacxrocencaekhiynraylaexiydkhxngaesngengakhxngchakhlngxyangbrrcng kareluxkekhiynstriepluxyepnaenwkarekhiynthiepnkarptiwtithangsilpaaelaepncudthiphuechiywchaybangthanthuxwaepncuderimtnkhxngsilpayukhihm cxrocenmaesiychiwitesiykxnthiphaphekhiynnicaekhiynesrc sungthaihechuxknwathiechiynmaekhiynphumithsnaelathxngfainchakhlng thithiechiynnamaekhiyntxmainphaph winsaehngexxrbion khwamywywnkhxngwinsinphaphnixyuthikarwangthaaelataaehnngkhxngmuxsaythiwangrahwangtnkha phapuekhiynepnsienginaelaepnengaehmuxnphasatinsungepnsieynaethnthicaepnsirxnkhxngphalinninthiniymekhiynkn lksnakhxngphaduaekhngemuxethiybkbthiphbinphaphekhiynkhxngthiechiynhruxediyok eblseks phumithsnokhngtamswnokhngkhxngrangkhxngwinsthiepnkarsathxnihehnkhwamkhidkhxngkhwamekiywkhxngrahwangrangkaykhxngmnusywaepnsingthrrmchatithiepnsingthimichiwitaelaecriyetibotid winshlb cxrocen winsaehngexxrbion thiechiyn exdwd maenth miphuxangwakarwangthakhxngwinsmilksnakhlaykbphaphphimphaekaim The pose of the figure has been connected with a figure in one of the phaphphimphaekaimprakxbkhxnghnngsux ophlifilitamkhwamrkinfn thiphimphinpi kh s 1499 aetphaphepluxykhnadihyechnphaphnithiepnhweruxnghlkkhxngphaphepnsingthiimekhythaknmakxninphaphekhiynintawntk aelaepnphaphthimixiththiphltxkarekhiynphaphpraephthnitxmaxikhlayrxypiykewnaelanganthiaecmaecngipkwangankhxngcxrocenechnnganphimphkhxngcioxwanni bttista phalmba aemwacamiphaphekhiynstriepluxyodycitrkrchnkhruxun kxnhnannxikhlayphaphaetkmiephiyngsxngphaphthiekhiynodybxttiechlli kaenidwins aela vduibimphli ethannthiphxcaepnnganthimilksnaiklekhiyngphxkbphaphni khwamhyngkhidthungthrrmchatiaelakhwamngamkhxngsriraepneruxngpktikhxngthsnkhtikhxngcxrocen karwangphaphnimixiththiphltxphaphekhiyninsmytxmaechninnganekhiynkhxngchxng oxkust odminikh xingekrs aela pietxr phxl ruebns aelanganthiekiywkhxngodytrngkbphaphnikhxngcxrocenkkhuxphaph winsaehngexxrbion thiekhiynodythiechiyn aelaphaph thiekhiynodyexdwd maenthxangxingphiphithphnthsilpaewb chiwprawtikhxngcxrocen 1 See for example Charles Hope in David Jaffe ed Titian The National Gallery Company Yale p 13 London 2003 ISBN 1 857099036 Illustrated page 5 NGA Washington 2012 10 12 thi ewyaebkaemchchin duephimcxrocen