สัมประสิทธิ์ (coefficient) ความหมายในทางคณิตศาสตร์หมายถึงตัวประกอบการคูณในบางของนิพจน์ (หรือของอนุกรม) ปกติแล้วจะเป็นจำนวนจำนวนหนึ่ง ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับตัวแปรของนิพจน์ ตัวอย่างเช่นดังต่อไปนี้
สามพจน์แรกมีสัมประสิทธิ์เป็น 7, −3 และ 1.5 ตามลำดับ (พจน์ที่สามไม่มีตัวแปร ดังนั้นพจน์ดังกล่าวจึงเป็นสัมประสิทธิ์โดยตัวเอง เรียกว่าหรือสัมประสิทธิ์คงตัวของนิพจน์) ส่วนพจน์สุดท้ายไม่ปรากฏการเขียนสัมประสิทธิ์อย่างชัดเจน แต่ปกติจะพิจารณาว่ามีสัมประสิทธิ์เท่ากับ 1 เนื่องจากการคูณด้วยตัวประกอบนี้จะไม่ทำให้พจน์เปลี่ยนแปลง บ่อยครั้งที่สัมประสิทธิ์เป็นจำนวนดังเช่นตัวอย่างดังกล่าว แต่ก็สามารถเป็นพารามิเตอร์ของข้อปัญหาได้เช่นในประโยคต่อไปนี้
พารามิเตอร์ a, b และ c จะไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นตัวแปร
ดังนั้นพหุนามตัวแปรเดียว x สามารถเขียนได้เป็น
สำหรับจำนวนเต็ม k บางจำนวน จะมี เป็นสัมประสิทธิ์ เพื่อให้นิพจน์เช่นนี้เป็นจริงในทุกกรณี เราจะต้องไม่ให้พจน์แรกมีสัมประสิทธิ์เป็น 0
สำหรับจำนวนที่มากที่สุด i โดยที่ ai ≠ 0 แล้ว ai จะเรียกว่า สัมประสิทธิ์นำ ของพหุนาม เช่นจากตัวอย่างนี้
สัมประสิทธิ์นำของพหุนามคือ 4
สัมประสิทธิ์เฉพาะหลายชนิดถูกกำหนดขึ้นในเอกลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เช่นทฤษฎีบททวินามซึ่งเกี่ยวข้องกับ สัมประสิทธิ์เหล่านี้ถูกจัดระเบียบอยู่ใน
พีชคณิตเชิงเส้น
ในพีชคณิตเชิงเส้น สัมประสิทธิ์นำ คือค่าแรกที่ไม่เป็นศูนย์ในแต่ละแถวของเมทริกซ์ เช่นกำหนดให้
สัมประสิทธิ์นำของแถวแรกคือ 1 สัมประสิทธิ์นำของแถวที่สองคือ 2 สัมประสิทธิ์นำของแถวที่สามคือ 4 ส่วนแถวสุดท้ายไม่มีสัมประสิทธิ์นำ
แม้ว่าสัมประสิทธิ์มักจะมองเห็นเป็นค่าคงตัวในพีชคณิตมูลฐาน แต่โดยทั่วไปมันก็สามารถเป็นตัวแปรได้ เช่นพิกัด ของ v ในที่มี พิกัดจะเป็นสัมประสิทธิ์ของเวกเตอร์ฐานหลักในนิพจน์นี้
ตัวอย่างสัมประสิทธิ์ทางฟิสิกส์
- สัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความร้อน (อุณหพลศาสตร์; ปริมาณไร้มิติ) เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเทียบกับการเปลี่ยนแปลงมิติของวัสดุ
- (KD; เคมี) อัตราส่วนของความเข้มข้นของสารผสมในสองสถานะ ซึ่งเป็นส่วนผสมของตัวทำละลายที่เข้ากันไม่ได้สองชนิดในภาวะสมดุล
- (ฟิสิกส์ไฟฟ้า) เกี่ยวกับสนามแม่เหล็กที่ให้กับวัตถุ เทียบกับความต่างศักย์ที่สร้างขึ้น ปริมาณของกระแสไฟฟ้า และความหนาของวัตถุ เป็นลักษณะเฉพาะของวัสดุที่นำมาใช้ทำตัวนำไฟฟ้า
- (CL หรือ CZ; อากาศพลศาสตร์; ปริมาณไร้มิติ) เกี่ยวกับแรงยกที่สร้างขึ้นโดยแพนอากาศ ด้วยแรงดันพลวัตของของไหลรอบ ๆ แพนอากาศ และพื้นที่ผิวของแพนอากาศ
- (BC; อากาศพลศาสตร์; มีหน่วยเป็น kg/m2) การวัดความสามารถของวัตถุที่จะเอาชนะแรงต้านของอากาศในการบิน เป็นฟังก์ชันของมวล เส้นผ่านศูนย์กลาง และสัมประสิทธิ์แรงต้าน
- (กลศาสตร์ควอนตัม; ปริมาณไร้มิติ) ฟลักซ์ที่เป็นไปได้ของคลื่นที่ส่งผ่าน เทียบกับฟลักซ์ที่เป็นไปได้ของคลื่นที่เกิดโดยไม่ตั้งใจ มักใช้สำหรับอธิบายความเป็นไปได้ของอนุภาคที่จะลอดผ่านสิ่งขวางกั้น
- หรือรู้จักในชื่อ สัมประสิทธิ์การหน่วงหนืด (วิศวกรรมฟิสิกส์; มีหน่วยเป็น N·s/m) เกี่ยวกับแรงหน่วงที่มีความเร็วของวัตถุซึ่งกำลังเคลื่อนที่อยู่
สูตรเคมี
สัมประสิทธิ์คือจำนวนที่อยู่หน้าพจน์ใน เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีอนุภาคเท่าไรที่มีส่วนในการเกิดปฏิกิริยา ตัวอย่างเช่นในสูตร จำนวน 2 ที่อยู่หน้า และ คือสัมประสิทธิ์
อ้างอิง
- Sabah Al-hadad and C.H. Scott (1979) College Algebra with Applications, page 42, Winthrop Publishers, Cambridge Massachusetts .
- Gordon Fuller, Walter L Wilson, Henry C Miller, (1982) College Algebra, 5th edition, page 24, Brooks/Cole Publishing, Monterey California .
- Steven Schwartzman (1994) The Words of Mathematics: an etymological dictionary of mathematical terms used in English, page 48, , .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smprasiththi coefficient khwamhmayinthangkhnitsastrhmaythungtwprakxbkarkhuninbangkhxngniphcn hruxkhxngxnukrm pktiaelwcaepncanwncanwnhnung sungimekiywkhxngkbtwaeprkhxngniphcn twxyangechndngtxipni 7x2 3xy 1 5 y displaystyle 7x 2 3xy 1 5 y dd samphcnaerkmismprasiththiepn 7 3 aela 1 5 tamladb phcnthisamimmitwaepr dngnnphcndngklawcungepnsmprasiththiodytwexng eriykwahruxsmprasiththikhngtwkhxngniphcn swnphcnsudthayimpraktkarekhiynsmprasiththixyangchdecn aetpkticaphicarnawamismprasiththiethakb 1 enuxngcakkarkhundwytwprakxbnicaimthaihphcnepliynaeplng bxykhrngthismprasiththiepncanwndngechntwxyangdngklaw aetksamarthepnpharamietxrkhxngkhxpyhaidechninpraoykhtxipni ax2 bx c displaystyle ax 2 bx c dd pharamietxr a b aela c caimthukphicarnawaepntwaepr dngnnphhunamtwaeprediyw x samarthekhiynidepn akxk a1x1 a0 displaystyle a k x k cdots a 1 x 1 a 0 dd sahrbcanwnetm k bangcanwn cami ak a1 a0 displaystyle a k a 1 a 0 epnsmprasiththi ephuxihniphcnechnniepncringinthukkrni eracatxngimihphcnaerkmismprasiththiepn 0 sahrbcanwnthimakthisud i odythi ai 0 aelw ai caeriykwa smprasiththina khxngphhunam echncaktwxyangni 4x5 x3 2x2 displaystyle 4x 5 x 3 2x 2 dd smprasiththinakhxngphhunamkhux 4 smprasiththiechphaahlaychnidthukkahndkhuninexklksnthangkhnitsastr echnthvsdibththwinamsungekiywkhxngkb smprasiththiehlanithukcdraebiybxyuinphichkhnitechingesninphichkhnitechingesn smprasiththina khuxkhaaerkthiimepnsunyinaetlaaethwkhxngemthriks echnkahndih M 1206029400040000 displaystyle M begin pmatrix 1 amp 2 amp 0 amp 6 0 amp 2 amp 9 amp 4 0 amp 0 amp 0 amp 4 0 amp 0 amp 0 amp 0 end pmatrix dd smprasiththinakhxngaethwaerkkhux 1 smprasiththinakhxngaethwthisxngkhux 2 smprasiththinakhxngaethwthisamkhux 4 swnaethwsudthayimmismprasiththina aemwasmprasiththimkcamxngehnepnkhakhngtwinphichkhnitmulthan aetodythwipmnksamarthepntwaeprid echnphikd x1 x2 xn displaystyle x 1 x 2 x n khxng v inthimi e1 e2 en displaystyle lbrace e 1 e 2 e n rbrace phikdcaepnsmprasiththikhxngewketxrthanhlkinniphcnni v x1e1 x2e2 xnen displaystyle v x 1 e 1 x 2 e 2 cdots x n e n dd twxyangsmprasiththithangfisikssmprasiththikhxngkarkhyaytwcakkhwamrxn xunhphlsastr primanirmiti ekiywkbkarepliynaeplngxunhphumiethiybkbkarepliynaeplngmitikhxngwsdu KD ekhmi xtraswnkhxngkhwamekhmkhnkhxngsarphsminsxngsthana sungepnswnphsmkhxngtwthalalaythiekhaknimidsxngchnidinphawasmdul fisiksiffa ekiywkbsnamaemehlkthiihkbwtthu ethiybkbkhwamtangskythisrangkhun primankhxngkraaesiffa aelakhwamhnakhxngwtthu epnlksnaechphaakhxngwsduthinamaichthatwnaiffa CL hrux CZ xakasphlsastr primanirmiti ekiywkbaerngykthisrangkhunodyaephnxakas dwyaerngdnphlwtkhxngkhxngihlrxb aephnxakas aelaphunthiphiwkhxngaephnxakas BC xakasphlsastr mihnwyepn kg m2 karwdkhwamsamarthkhxngwtthuthicaexachnaaerngtankhxngxakasinkarbin epnfngkchnkhxngmwl esnphansunyklang aelasmprasiththiaerngtan klsastrkhwxntm primanirmiti flksthiepnipidkhxngkhlunthisngphan ethiybkbflksthiepnipidkhxngkhlunthiekidodyimtngic mkichsahrbxthibaykhwamepnipidkhxngxnuphakhthicalxdphansingkhwangkn hruxruckinchux smprasiththikarhnwnghnud wiswkrrmfisiks mihnwyepn N s m ekiywkbaernghnwngthimikhwamerwkhxngwtthusungkalngekhluxnthixyusutrekhmismprasiththikhuxcanwnthixyuhnaphcnin ephuxaesdngihehnwamixnuphakhethairthimiswninkarekidptikiriya twxyangechninsutr 2H2 O2 2H2O displaystyle 2H 2 O 2 rightarrow 2H 2 O canwn 2 thixyuhna H2 displaystyle H 2 aela H2O displaystyle H 2 O khuxsmprasiththixangxingSabah Al hadad and C H Scott 1979 College Algebra with Applications page 42 Winthrop Publishers Cambridge Massachusetts ISBN 0876261403 Gordon Fuller Walter L Wilson Henry C Miller 1982 College Algebra 5th edition page 24 Brooks Cole Publishing Monterey California ISBN 0534011381 Steven Schwartzman 1994 The Words of Mathematics an etymological dictionary of mathematical terms used in English page 48 ISBN 0883855119