เภสัชกรรมอาหรับยุคกลาง เป็นยุคในประวัติเภสัชกรรมที่กล่าวถึงพัฒนาการทางเภสัชกรรมอาหรับในช่วงตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 โดยมีศูนย์กลางอยู่บริเวณอ่าวเปอร์เซีย
ประวัติ
ชาวเนสตอเรีย ซึ่งเดิมเป็นผู้ปกครองกรุงคอนสแตนติโนเปิล ได้ย้ายไปตั้งเมืองในดินแดนเปอร์เซีย ซีเรีย และอินเดีย และได้เปิดสถาบันทางการศึกษาทั่วไป และนิยมแปลบทความจากอารยธรรมกรีก-โรมัน การแปลบทความของชาวอาหรับมิได้เป็นเพียงแปลวรรณคดีและบทประพันธ์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงวิทยาการทั้งศาสตร์ต่างๆอีกด้วย อารยธรรมกรีก-โรมันจึงเป็นรากฐานความรู้ของอารยธรรมอาหรับด้วย ซึ่งความรู้เหล่านี้เป็นสิ่งกระตุ้นให้นักวิทยาศาสตร์อาหรับค้นคว้าสิ่งใหม่ๆเพิ่มเติมด้วยตนเอง Theodoq แพทย์ชาวอาหรับได้เขียนเนื้อหาเกี่ยวกับยา, ผลิตภัณฑ์ยา และการเรียกชื่อยา ต่อมา Ibn Masawaih แพทย์ชาวอาหรับผู้เป็นบุตรของเภสัชกรได้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับพืชสมุนไพรอะโรมาติก และได้กล่าวถึงสมุนไพรสำคัญ 5 ชนิดได้แก่สารที่มีกลิ่นฉุน (musk), ไขลำไส้ปลาวาฬ (ambergis), ยาดำหรือว่านหางจระเข้ (aloe), การบูร (camphor) และหญ้าฝรั่น (saffron) ความนิยมในการเขียนและแปลบทความของชาวอาหรับทำให้เกิดองค์ความรู้จำนวนมาก Sami K. Hamarneh จึงได้นำมาจัดแบ่งเป็น 4 ประเภทคือ สูตรตำรับ ซึ่งเป็นการรวบรวมสูตรตำรับตามลำดับอักษรอย่างเป็นระบบ และวิธีการปรุงเรียงรวมถึงวิธีการใช้, สมุนไพรและวัตถุทางการแพทย์ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมกรีก-โรมันของ Dioscorides อย่างมาก, พิษวิทยา เกี่ยวกับความเสี่ยงของความเป็นพิษโดยตั้งใจและมิได้ตั้งใจ และ การบำบัดด้วยความสัมพันธ์อาหารและยากับนิเวศวิทยาของมนุษย์
การเติบโตและฝึกปฏิบัติเภสัชกรรม
ในสมัยอาหรับซึ่งมีความรู้ทางการแพทย์และเภสัชกรรมมากขึ้น ประกอบกับนโยบายของรัฐที่ส่งเสริมด้านสุขภาพแก่ประชากรชาวอาหรับ ทำให้เกิดการสร้างขึ้นซึ่งส่งผลให้เภสัชกรมีลักษณะวิชาชีพที่จำเพาะของตนเอง เดิมการแพทย์ของอาหรับเป็นลักษณะการแพทย์โดยนักบวช แต่ภายหลังคริสต์ศตวรรษที่ 8 ได้มีการจัดตั้งโรงพยาบาลในเมืองดามัสกัสซึ่งเชื่อว่าเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของชาวอิสลาม ทำให้เกิดระบบสุขภาพที่ชัดเจนทำให้เภสัชกรรมได้รับการยกระดับขึ้นเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ โรงพยาบาลที่สนับสนุนโดยรัฐก็มีแผนกเภสัชกรรมเป็นของตนเอง โดยมีห้องปฏิบัติการเพื่อผสมยาและการจ่ายยาในเบื้องต้น เช่น ในรูปแบบ, และ และในสมัยกาหลีบ Al-Mansur นครแบกแดดได้กลายเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และการบริหาร การพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งสิ่งอำนวยความสะดวกและองค์ความรู้ทำให้ราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 มีการเปิดร้านยามากมายในนครแบกแดดและเมืองใกล้เคียง เภสัชกรในสมัยนั้นอาศัยการฝึกปฏิบัติในร้านยาจนเกิดความชำนาญทั้งด้านการผสมยา, การเก็บรักษาและบรรจุภัณฑ์ และ นอกจากนี้ยังมีการตรวจสอบโดยผู้ที่รัฐบาลแต่งตั้งขึ้น (Muhtasib) เพื่อตรวจสอบมาตรฐานของร้านยาถึงมาตรฐานด้านการตวงวัดและความบริสุทธิ์ของตัวยา แต่ทว่าเป็นการประกอบการโดยผู้ที่ปราศจากความรู้ด้านเภสัชกรรม จึงทำให้เกิดการสอนเภสัชกรรมแก่กลุ่มพลเมืองชั้นสูงในสังคมโดยเรียกกลุ่มผู้ฝึกหัดว่า "sayadilah" ซึ่งยังคงเป็นคำที่ใช้เรียกผู้ฝึกหัดเภสัชกรรมในอาหรับจนกระทั่งปัจจุบัน
Al-Biruni ได้กล่าวว่าเภสัชกรรมเป็น "ศิลปะของความรู้เกี่ยวกับวัตถุทางการแพทย์ในชนิด, ประเภท และรูปร่างที่หลากหลาย จากสิ่งเหล่านี้ เภสัชกรจึงทำหน้าที่ผสมยาและจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์" แนวคิดเหล่านี้ส่งผลให้สังคมสามารถพบผู้เชี่ยวชาญจากทั้งด้านเคมีและด้านการแพทย์ได้ในร้านยา และได้ขยายขอบเขตของเภสัชกรรมไปรวมถึงด้านเครื่องสำอางและเภสัชภัณฑ์อื่นๆ อีกมากมาย นอกจากนี้ชาวอาหรับยังมีการรวบรวมตำรับยาสำหรับเภสัชกรทั่วประเทศเรียกว่า Antidorium หมายถึง "การแก้ไขความเจ็บป่วยโดยใช้ยา" ซึ่งนับได้ว่าเป็นต้นแบบของการทำเภสัชตำรับ (pharmacopoeia)
อ้างอิง
- NCBI เรียกข้อมูลวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2553
- วิทยาลัยเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยวอชิงตันสเตจ เก็บถาวร 2012-02-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ร้านยาแห่งแรก เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
- islamset.com เก็บถาวร 2020-03-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประวัติเภสัชกรรมอาหรับ เรียกข้อมูลวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2553
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ephschkrrmxahrbyukhklang epnyukhinprawtiephschkrrmthiklawthungphthnakarthangephschkrrmxahrbinchwngtngaetkhriststwrrsthi 7 thungkhriststwrrsthi 12 odymisunyklangxyubriewnxawepxresiyephschkrrminsmyxahrbprawtichawenstxeriy sungedimepnphupkkhrxngkrungkhxnsaetntionepil idyayiptngemuxngindinaednepxresiy sieriy aelaxinediy aelaidepidsthabnthangkarsuksathwip aelaniymaeplbthkhwamcakxarythrrmkrik ormn karaeplbthkhwamkhxngchawxahrbmiidepnephiyngaeplwrrnkhdiaelabthpraphnthethann aetyngrwmthungwithyakarthngsastrtangxikdwy xarythrrmkrik ormncungepnrakthankhwamrukhxngxarythrrmxahrbdwy sungkhwamruehlaniepnsingkratunihnkwithyasastrxahrbkhnkhwasingihmephimetimdwytnexng Theodoq aephthychawxahrbidekhiynenuxhaekiywkbya phlitphnthya aelakareriykchuxya txma Ibn Masawaih aephthychawxahrbphuepnbutrkhxngephschkridekhiyneruxngrawekiywkbphuchsmuniphrxaormatik aelaidklawthungsmuniphrsakhy 5 chnididaeksarthimiklinchun musk ikhlaisplawal ambergis yadahruxwanhangcraekh aloe karbur camphor aelahyafrn saffron khwamniyminkarekhiynaelaaeplbthkhwamkhxngchawxahrbthaihekidxngkhkhwamrucanwnmak Sami K Hamarneh cungidnamacdaebngepn 4 praephthkhux sutrtarb sungepnkarrwbrwmsutrtarbtamladbxksrxyangepnrabb aelawithikarprungeriyngrwmthungwithikarich smuniphraelawtthuthangkaraephthy sungidrbxiththiphlcakxarythrrmkrik ormnkhxng Dioscorides xyangmak phiswithya ekiywkbkhwamesiyngkhxngkhwamepnphisodytngicaelamiidtngic aela karbabddwykhwamsmphnthxaharaelayakbniewswithyakhxngmnusy karetibotaelafukptibtiephschkrrm insmyxahrbsungmikhwamruthangkaraephthyaelaephschkrrmmakkhun prakxbkbnoybaykhxngrththisngesrimdansukhphaphaekprachakrchawxahrb thaihekidkarsrangkhunsungsngphlihephschkrmilksnawichachiphthicaephaakhxngtnexng edimkaraephthykhxngxahrbepnlksnakaraephthyodynkbwch aetphayhlngkhriststwrrsthi 8 idmikarcdtngorngphyabalinemuxngdamskssungechuxwaepnorngphyabalaehngaerkkhxngchawxislam thaihekidrabbsukhphaphthichdecnthaihephschkrrmidrbkarykradbkhunepnsakhahnungkhxngwithyasastr orngphyabalthisnbsnunodyrthkmiaephnkephschkrrmepnkhxngtnexng odymihxngptibtikarephuxphsmyaaelakarcayyainebuxngtn echn inrupaebb aela aelainsmykahlib Al Mansur nkhraebkaeddidklayepnsunyklangkareriynruaelakarbrihar karphthnaxyangrwderwthngsingxanwykhwamsadwkaelaxngkhkhwamruthaihrawplaykhriststwrrsthi 8 thungtnkhriststwrrsthi 9 mikarepidranyamakmayinnkhraebkaeddaelaemuxngiklekhiyng ephschkrinsmynnxasykarfukptibtiinranyacnekidkhwamchanaythngdankarphsmya karekbrksaaelabrrcuphnth aela nxkcakniyngmikartrwcsxbodyphuthirthbalaetngtngkhun Muhtasib ephuxtrwcsxbmatrthankhxngranyathungmatrthandankartwngwdaelakhwambrisuththikhxngtwya aetthwaepnkarprakxbkarodyphuthiprascakkhwamrudanephschkrrm cungthaihekidkarsxnephschkrrmaekklumphlemuxngchnsunginsngkhmodyeriykklumphufukhdwa sayadilah sungyngkhngepnkhathiicheriykphufukhdephschkrrminxahrbcnkrathngpccubn Al Biruni idklawwaephschkrrmepn silpakhxngkhwamruekiywkbwtthuthangkaraephthyinchnid praephth aelaruprangthihlakhlay caksingehlani ephschkrcungthahnathiphsmyaaelacayyatamibsngaephthy aenwkhidehlanisngphlihsngkhmsamarthphbphuechiywchaycakthngdanekhmiaeladankaraephthyidinranya aelaidkhyaykhxbekhtkhxngephschkrrmiprwmthungdanekhruxngsaxangaelaephschphnthxun xikmakmay nxkcaknichawxahrbyngmikarrwbrwmtarbyasahrbephschkrthwpraethseriykwa Antidorium hmaythung karaekikhkhwamecbpwyodyichya sungnbidwaepntnaebbkhxngkarthaephschtarb pharmacopoeia xangxingNCBI eriykkhxmulwnthi 13 minakhm ph s 2553 withyalyephschkrrm mhawithyalywxchingtnsetc ekbthawr 2012 02 07 thi ewyaebkaemchchin ranyaaehngaerk eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 islamset com ekbthawr 2020 03 25 thi ewyaebkaemchchin prawtiephschkrrmxahrb eriykkhxmulwnthi 13 minakhm ph s 2553