อะเชะ (အချိတ်; [ʔət͡ɕʰeɪʔ]) หรือ ลู่นตะยา อะเชะ (လွန်းတစ်ရာအချိတ်) เป็นชื่อของลวดลายผ้าพื้นเมืองพม่า มีลักษณะเป็นลายลอนคลื่นที่สลับซับซ้อนแถบแนวนอน ที่ประดับด้วยการออกแบบคล้ายลายอาหรับ ลู่นตะยา (လွန်းတစ်ရာ; [lʊ́ɴtəjà]) ซึ่งแปลตรงตัวว่า "กระสวยร้อยอัน" สื่อถึงกระบวนการที่ต้องใช้เวลามาก มีราคาแพงและซับซ้อน ซึ่งต้องใช้กระสวย 50 ถึง 200 อัน แต่ละอันมีสีผ้าไหมที่ต่างกัน การทอผ้าต้องใช้แรงงานคนมาก โดยต้องใช้ช่างทออย่างน้อยสองคนจัดการกระสวยเพื่อให้ได้รูปแบบคล้ายเกลียวคลื่น
อะเชะ มักใช้เป็นสิ่งทอสำหรับ ปาโซ ของผู้ชาย และ ทะเมียน ของผู้หญิง รูปแบบสีใน อะเชะ มักใช้สีที่ตัดกันเพื่อสร้างเอฟเฟกต์ ศิลปะเชิง 3 มิติ รูปแบบสำหรับผู้ชายมักเป็นลวดลายซิกแซก หรือลวดลายที่ประสานกันง่ายกว่า ในขณะที่สำหรับผู้หญิงจะผสมผสานลายเกลียวคลื่นเข้ากับการตกแต่งแบบอาหรับ เช่น ลวดลายดอกไม้หรือไม้เลื้อย
การผลิต
เมืองอมรปุระและ ยังคงเป็นศูนย์กลางการทอผ้า อะเชะ แบบดั้งเดิมในประเทศ แม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาจะมีการเลียนแบบจากโรงงานที่มีราคาถูกกว่าจากจีน และ อินเดีย ได้ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมสิ่งทอแบบดั้งเดิมของพม่าอย่างมาก
ต้นกำเนิด
การทอผ้า อะเชะ มีต้นกำเนิดที่อมรปุระ ใกล้กับเจดีย์ ชื่อ อะเชะ อาจมาจากชื่อของย่านที่ช่างทออาศัยอยู่ และเชะด้าน (လက်ချိတ်တန်း) คำนี้เคยถูกเรียกมาก่อน ไวก์ (ဝိုက်) ซึ่งหมายถึงลวดลายทอซิกแซก
แม้ว่าบางแหล่งอ้างว่ารูปแบบ อะเชะ ได้รับมาจากช่างทอผ้ามณีปุระช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 แต่ไม่มีสิ่งทอของมณีปุระที่เทียบเคียงลักษณะคล้ายกับ อะเชะ รูปแบบคล้ายคลื่นอาจได้รับแรงบันดาลใจจากลวดลายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ (เช่น คลื่น เมฆ พืชและสัตว์พื้นเมือง) ลวดลาย อะเชะ พบได้ในเครื่องปั้นดินเผาที่มีอายุย้อนกลับไปถึงนครรัฐปยู เช่นเดียวกับภาพวาดฝาผนังของวัดที่มีอายุย้อนกลับไปถึงสมัยอาณาจักรพุกาม ของขวัญบรรณาการที่มอบให้กับราชสำนักพม่าอาจเป็นแหล่งบันดาลใจเพิ่มเติมด้วย สิ่งทอดังกล่าวได้รับความนิยมในสมัยราชวงศ์โก้นบอง ซึ่งมีกฎหมายป้องกันความฟุ่มเฟือย ควบคุมว่าใครสามารถสวมเสื้อผ้า อะเชะ ได้ รูปแบบ อะเชะ สวมใส่โดยราชวงศ์ เจ้าหน้าที่ และผู้ติดตามเท่านั้น
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Green, Gillian (2012-05-25). "Verging on Modernity: A Late Nineteenth-Century Burmese Painting on Cloth Depicting the Vessantara Jataka". Journal of Burma Studies. 16 (1): 79–121. doi:10.1353/jbs.2012.0000. ISSN 2010-314X. S2CID 162846149.
- "Silk acheik-luntaya | V&A Search the Collections". collections.vam.ac.uk (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-12-05.
- Green, Alexandra (2008). Eclectic Collecting: Art from Burma in the Denison Museum (ภาษาอังกฤษ). NUS Press. ISBN .
- Lynn, Kyaw Ye (26 January 2019). "Weavers of traditional textiles in Mandalay unite". Frontier Myanmar (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- Hardiman, John Percy (1901). Silk in Burma (ภาษาอังกฤษ). superintendent, Government printing, Burma.
- "The Tradition of Acheik Weaving in Myanmar – ICHCAP" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xaecha အခ တ ʔet ɕʰeɪʔ hrux luntaya xaecha လ န တစ ရ အခ တ epnchuxkhxnglwdlayphaphunemuxngphma milksnaepnlaylxnkhlunthislbsbsxnaethbaenwnxn thipradbdwykarxxkaebbkhlaylayxahrb luntaya လ န တစ ရ lʊ ɴteja sungaepltrngtwwa kraswyrxyxn suxthungkrabwnkarthitxngichewlamak mirakhaaephngaelasbsxn sungtxngichkraswy 50 thung 200 xn aetlaxnmisiphaihmthitangkn karthxphatxngichaerngngankhnmak odytxngichchangthxxyangnxysxngkhncdkarkraswyephuxihidrupaebbkhlayekliywkhlunsmachiksphasntiphaphaelakarphthnaaehngrthkhxngphma aetngkayinchudolncixaechachud xaecha thaemiyn sahrbstri xaecha mkichepnsingthxsahrb paos khxngphuchay aela thaemiyn khxngphuhying rupaebbsiin xaecha mkichsithitdknephuxsrangexfefkt silpaeching 3 miti rupaebbsahrbphuchaymkepnlwdlaysikaesk hruxlwdlaythiprasanknngaykwa inkhnathisahrbphuhyingcaphsmphsanlayekliywkhlunekhakbkartkaetngaebbxahrb echn lwdlaydxkimhruximeluxykarphlitemuxngxmrpuraaela yngkhngepnsunyklangkarthxpha xaecha aebbdngediminpraeths aemwainchwngimkipithiphanmacamikareliynaebbcakorngnganthimirakhathukkwacakcin aela xinediy idsngphlkrathbtxxutsahkrrmsingthxaebbdngedimkhxngphmaxyangmaktnkaenidkarthxpha xaecha mitnkaenidthixmrpura iklkbecdiy chux xaecha xacmacakchuxkhxngyanthichangthxxasyxyu aelaechadan လက ခ တ တန khaniekhythukeriykmakxn iwk ဝ က sunghmaythunglwdlaythxsikaesk aemwabangaehlngxangwarupaebb xaecha idrbmacakchangthxphamnipurachwngplaykhriststwrrsthi 17 aetimmisingthxkhxngmnipurathiethiybekhiynglksnakhlaykb xaecha rupaebbkhlaykhlunxacidrbaerngbndaliccaklwdlaypraktkarnthangthrrmchati echn khlun emkh phuchaelastwphunemuxng lwdlay xaecha phbidinekhruxngpndinephathimixayuyxnklbipthungnkhrrthpyu echnediywkbphaphwadfaphnngkhxngwdthimixayuyxnklbipthungsmyxanackrphukam khxngkhwybrrnakarthimxbihkbrachsankphmaxacepnaehlngbndalicephimetimdwy singthxdngklawidrbkhwamniyminsmyrachwngsoknbxng sungmikdhmaypxngknkhwamfumefuxy khwbkhumwaikhrsamarthswmesuxpha xaecha id rupaebb xaecha swmisodyrachwngs ecahnathi aelaphutidtamethannduephimkaraetngkaykhxngphmaxangxingGreen Gillian 2012 05 25 Verging on Modernity A Late Nineteenth Century Burmese Painting on Cloth Depicting the Vessantara Jataka Journal of Burma Studies 16 1 79 121 doi 10 1353 jbs 2012 0000 ISSN 2010 314X S2CID 162846149 Silk acheik luntaya V amp A Search the Collections collections vam ac uk phasaxngkvs subkhnemux 2017 12 05 Green Alexandra 2008 Eclectic Collecting Art from Burma in the Denison Museum phasaxngkvs NUS Press ISBN 978 9971 69 404 3 Lynn Kyaw Ye 26 January 2019 Weavers of traditional textiles in Mandalay unite Frontier Myanmar phasaxngkvs subkhnemux 2020 03 28 Hardiman John Percy 1901 Silk in Burma phasaxngkvs superintendent Government printing Burma The Tradition of Acheik Weaving in Myanmar ICHCAP phasaxngkvsaebbxemrikn subkhnemux 2020 03 28