วงศ์หอยขม ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: -ปัจจุบัน | |
---|---|
ชนิด | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Mollusca |
ชั้น: | Gastropoda |
วงศ์: | Viviparidae , 1847 |
วงศ์ย่อย: | |
ชนิด | |
|
หอยขม หรือภาษาในบางท้องถิ่นเรีอกว่า หอยจุ๊บ หรือหอยดูด เป็นที่รู้จักกันดีและมีขายในตลาดทั่วไป เป็นหอยฝาเดียวที่พบเฉพาะในแหล่งน้ำจืดเท่านั้น นิยมนำมาทำอาหาร เช่น แกงคั่วหอยขม แกงอ่อมหอยขม และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยส่วนมากจะพบจากแหล่งธรรมชาติ โดยชาวบ้านในท้องที่เก็บมาขาย หรือพบบริเวณบ่อเลี้ยงปลา ซึ่งเป็นผลพลอยได้สำหรับเจ้าของบ่อเลี้ยงปลา แต่ในปัจจุบันมีการทำฟาร์มเพื่อการเพาะเลี้ยงหอยขมในกระชังโดยเฉพาะ หอยขมเป็นสัตว์ที่มีความอดทนต่อสภาพแวดล้อม เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว และขยายพันธุ์เร็ว
ชีววิทยาของหอยขม
หอยขม มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Pond snail, Marsh snail, River snail มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Viviparidae ในประเทศไทยพบว่ามีความหลากหลายของหอยในวงศ์หอยขมมากพอสมควร เช่น ชนิด Filopaludina martensi
ลักษณะภายนอก
หอยขมเป็นหอยในกลุ่มหอยฝาเดียว มีเปลือกเป็นรูปกรวยรูปไข่ ลักษณะเป็นเกลียวเวียนขวาเรียวขึ้นไปถึงยอดปลายแหลม หอยขมแต่ละชนิดจะมีความหนาของเปลือก ความสูง ความโค้งและร่องลึกที่ผิวเปลือกที่แตกต่างกันไป เกลียววงยอดสุดมีขนาดเล็กเรียกว่า apex เป็นวงที่เกิดก่อนวงอื่น ถัดลงมา 2 วง เรียกว่า spire วงล่างสุดเรียกว่า body whorl บริเวณนี้มีช่องเปิดขนาดใหญ่ให้ส่วนหัวและส่วนเท้ายื่นออกมาได้ เรียกว่า aperture ขอบในของช่องเปิดเรียกว่า inner lip ขอบนอกของช่องเปิดเรียกว่า outer lip แกนกลางของเปลือกเป็นกลวงบิดโค้งเป็นเกลียวเรียกว่า columella มีช่องเปิด umbellicus ส่วนของฝาปิดเปลือกเป็นแผ่นบาง ๆ เรียกว่า operculum มีลายรูปวงรีอยู่ตรงกลางฝาปิดเป็นวงการแสดงการเจริญเติบโต สีของเปลือกขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย เปลือกหอยขมแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ ชั้น Periostracum เป็นชั้นนอกสุดประกอบด้วยสารอินทรีย์พวกโปรตีน cochiolin ชั้น Prismatic อยู่ชั้นกลางของเปลือก มีความหนาและแข็ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินปูน และชั้นในสุดคือ Nacreous ประกอบด้วยสารอินทรีย์จำพวกโปรตีนลักษณะเป็นสีมันวาว ซึ่งเป็นสารประกอบ calcite ในรูปผลึกหินปูน
ลักษณะภายใน
มีการแบ่งลำตัวออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ส่วนก้อนอวัยวะภายในเรียกว่า visceral mass และส่วนของเท้า
ส่วนหัว มีหนวด 1 คู่ สามารถยืดหดได้ ติดกับโคนหวดหนวดมีตาสีดำ 1 คู่อยู่บนก้านตา ปากมีลักษณะคล้ายท่อกลวงหรืองวงอยู่ตรงกลางระหว่างหนวด เรียกว่า siphon
ส่วนก้อนอวัยวะ เป็นส่วนที่รวมอวัยวะไว้เป็นก้อน ขดเป็นเกลียวตามรูปของเปลือก อวัยวะภายในประกอบไปด้วยต่อมน้ำลาย หัวใจ เหงือก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้ เป็นต้น
ส่วนเท้า กล้ามเนื้อเท้าจะยึดติดกับฝาปิดเปลือก กล้ามเนื้อเท้าเป็นแผ่นแบน ๆ กว้าง ๆ จะเคลื่อนที่ในลักษณะเป็นคลื่นแบบตัวหนอน การทำงานของกล้ามเนื้อเท้าจะทำงานไล่จากส่วนหน้าไปยังส่วนท้ายติดต่อกัน เวลาหอยขมเคลื่อนที่ไปจะยื่นส่วนหัว ส่วนเท้า และ siphon ออกมาจากเปลือก
การกินอาหาร
หอยขมมีปาก ระบบทางเดินอาหารเริ่มจากปาก อาหารที่ลอยอยู่ในน้ำ เช่น แพลงก์ตอนเล็ก ๆ สามารถถูกดูดเข้าไปในช่องใต้ปากได้ นอกจากนี้ภายในปากก็จะมี redula ซึ่งมีลักษณะแข็งทำหน้าที่คล้ายเป็นฟันใช้ขูดแทะอาหารที่ติดอยู่กับวัสดุ เช่น ตะไคร่น้ำ ภายในช่องปากมีท่อเปิดจากต่อมน้ำลาย ต่อจากช่องปากคือหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้ และทวาร ตามลำดับ อาหารของหอยขมได้แก่ ตะไคร่น้ำ พืชน้ำ แพลงก์ตอน และอินทรีย์สารที่เน่าเปื่อย
การหายใจ
หอยขมหายใจด้วยเหงือก เหงือกจะอยู่ในช่อง mantle cavity โดยน้ำจะไหลผ่านช่องนี้ไปทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างน้ำกับเส้นเลือดบริเวณเหงือก
การสืบพันธุ์
หอยขมมีอวัยวะเพศทั้งเพศผู้และเพศเมียอยู่ในตัวเดียวกัน สามารถผสมตัวเองหรือผสมข้ามโดยการมาประกบกันได้ และการผสมพันธุ์ได้ด้วยตัวของมันเองจะทำได้เมื่ออายุได้ 60 วัน หอยขมออกลูกเป็นตัวครั้งละ ประมาณ 40-50 ตัว ลูกหอยขมที่ออกมาใหม่ ๆ จะมีวุ้นหุ้มอยู่ แม่หอยขมจะใช้หนวดแทงวุ้นจนแตกเพื่อให้ลูกหอยหลุดออกจากวุ้น ลูกหอยขมสามารถเคลื่อนไหวได้ทันทีเมื่อออกจากตัวแม่ ระยะที่จะพบเห็นชุกชุมอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม-พฤษภาคม มีอายุขัยตั้งแต่ 3-11 ปี
แหล่งอาศัย
หอยขมมักอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำจืดธรรมชาติทั่วไป เช่น คู หนอง คลอง บึง และในนาข้าว ที่เป็นพื้นดินหรือโคลน ที่ระดับน้ำตั้งแต่ 10 ซม. ถึง 2 ม. โดยใช้เท้ายึดเกาะอยู่ตามวัตถุต่าง ๆ เช่น เสา สะพาน ตอไม้ พันธุ์ไม้น้ำ หรือจมอยู่ในโคลน หอยขมมักอยู่ในน้ำที่ไม่ไหลแรงนักหรือเป็นน้ำนิ่งในที่ร่ม มีการแพร่กระจายไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย สามารถพบได้ทั่วไปในทุกจังหวัด และมีการแพร่กระจายทั่วไปในประเทศใกล้เคียง เช่น พม่า ลาว เวียดนาม และกัมพูชา รวมถึงในจีน และ ญี่ปุ่น และแอฟริกา
พยาธิจากหอยขม
ในธรรมชาติหอยเป็นสัตว์ที่เป็นพาหะในการนำพยาธิมาสู่ผู้บริโถคในห่วงโซ่อาหาร เนื่องจากวงจรชีวิตของพยาธิในระยะตัวอ่อนจะเข้ามาฝังตัวในหอย โดยเฉพาะในหอยน้ำจืด สำหรับในหอยขมมีชนิดพยาธิที่ตรวจพบดังต่อไปนี้
- Echinostoma malayanum
- Echinostoma revolutum
- Echinostoma malayanum
- Echinostoma ilocanum
- Angiostrongylus cantonensis
อ้างอิง
- Kear B. P., Hamilton-Bruce R. J., Smith B. J. & Gowlett-Holmes K. L. (2003). "Reassessment of Australia's oldest freshwater snail, Viviparus (?) albascopularis Etheridge, 1902 (Mollusca : Gastropoda : Viviparidae), from the Lower Cretaceous (Aptian, Wallumbilla Formation) of White Cliffs, New South Wales". Molluscan Research 23(2): 149-158. doi:10.1071/MR03003, PDF.
- Gray J. E. (November 1847) (1833). "A list of genera of Recent Mollusca, their synonyma and types". Proceedings of the Zoological Society in London, 15: 129-182. Viviparidae at page 155.
- Strong E. E., Gargominy O., Ponder W. F. & Bouchet P. (2008). "Global Diversity of Gastropods (Gastropoda; Mollusca) in Freshwater". Hydrobiologia 595: 149-166. http://hdl.handle.net/10088/7390 doi:10.1007/s10750-007-9012-6.
- Heller J. (1990) "Longevity in molluscs". Malacologia 31(2): 259-295.
- ศักดิ์ชัย ชูโชติ. 2533. การเลี้ยงหอยขม. โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, กรุงเทพมหานคร
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wngshxykhm chwngewlathimichiwitxyu pccubnchnidkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Molluscachn Gastropodawngs Viviparidae 1847wngsyxy chnidphbraw 125 150 chnid hxykhm hruxphasainbangthxngthinerixkwa hxycub hruxhxydud epnthiruckkndiaelamikhayintladthwip epnhxyfaediywthiphbechphaainaehlngnacudethann niymnamathaxahar echn aekngkhwhxykhm aekngxxmhxykhm aelaxun xikmakmay odyswnmakcaphbcakaehlngthrrmchati odychawbaninthxngthiekbmakhay hruxphbbriewnbxeliyngpla sungepnphlphlxyidsahrbecakhxngbxeliyngpla aetinpccubnmikarthafarmephuxkarephaaeliynghxykhminkrachngodyechphaa hxykhmepnstwthimikhwamxdthntxsphaphaewdlxm eliyngngay ecriyetiboterw aelakhyayphnthuerwchiwwithyakhxnghxykhmhxykhm michuxphasaxngkvswa Pond snail Marsh snail River snail michuxwithyasastrwa Viviparidae inpraethsithyphbwamikhwamhlakhlaykhxnghxyinwngshxykhmmakphxsmkhwr echn chnid Filopaludina martensi lksnaphaynxk hxykhmepnhxyinklumhxyfaediyw miepluxkepnrupkrwyrupikh lksnaepnekliywewiynkhwaeriywkhunipthungyxdplayaehlm hxykhmaetlachnidcamikhwamhnakhxngepluxk khwamsung khwamokhngaelarxnglukthiphiwepluxkthiaetktangknip ekliywwngyxdsudmikhnadelkeriykwa apex epnwngthiekidkxnwngxun thdlngma 2 wng eriykwa spire wnglangsuderiykwa body whorl briewnnimichxngepidkhnadihyihswnhwaelaswnethayunxxkmaid eriykwa aperture khxbinkhxngchxngepideriykwa inner lip khxbnxkkhxngchxngepideriykwa outer lip aeknklangkhxngepluxkepnklwngbidokhngepnekliyweriykwa columella michxngepid umbellicus swnkhxngfapidepluxkepnaephnbang eriykwa operculum milayrupwngrixyutrngklangfapidepnwngkaraesdngkarecriyetibot sikhxngepluxkkhunxyukbsphaphaewdlxmthixyuxasy epluxkhxykhmaebngxxkepn 3 chn khux chn Periostracum epnchnnxksudprakxbdwysarxinthriyphwkoprtin cochiolin chn Prismatic xyuchnklangkhxngepluxk mikhwamhnaaelaaekhng swnihyprakxbdwyhinpun aelachninsudkhux Nacreous prakxbdwysarxinthriycaphwkoprtinlksnaepnsimnwaw sungepnsarprakxb calcite inrupphlukhinpun lksnaphayin mikaraebnglatwxxkepn 3 swn khux swnhw swnkxnxwywaphayineriykwa visceral mass aelaswnkhxngetha swnhw mihnwd 1 khu samarthyudhdid tidkbokhnhwdhnwdmitasida 1 khuxyubnkanta pakmilksnakhlaythxklwnghruxngwngxyutrngklangrahwanghnwd eriykwa siphon swnkxnxwywa epnswnthirwmxwywaiwepnkxn khdepnekliywtamrupkhxngepluxk xwywaphayinprakxbipdwytxmnalay hwic ehnguxk hlxdxahar kraephaaxahar lais epntn swnetha klamenuxethacayudtidkbfapidepluxk klamenuxethaepnaephnaebn kwang caekhluxnthiinlksnaepnkhlunaebbtwhnxn karthangankhxngklamenuxethacathanganilcakswnhnaipyngswnthaytidtxkn ewlahxykhmekhluxnthiipcayunswnhw swnetha aela siphon xxkmacakepluxk karkinxahar hxykhmmipak rabbthangedinxaharerimcakpak xaharthilxyxyuinna echn aephlngktxnelk samarththukdudekhaipinchxngitpakid nxkcakniphayinpakkcami redula sungmilksnaaekhngthahnathikhlayepnfnichkhudaethaxaharthitidxyukbwsdu echn taikhrna phayinchxngpakmithxepidcaktxmnalay txcakchxngpakkhuxhlxdxahar kraephaaxahar lais aelathwar tamladb xaharkhxnghxykhmidaek taikhrna phuchna aephlngktxn aelaxinthriysarthienaepuxy karhayic hxykhmhayicdwyehnguxk ehnguxkcaxyuinchxng mantle cavity odynacaihlphanchxngniipthaihekidkaraelkepliynkasrahwangnakbesneluxdbriewnehnguxkkarsubphnthuhxykhmmixwywaephsthngephsphuaelaephsemiyxyuintwediywkn samarthphsmtwexnghruxphsmkhamodykarmaprakbknid aelakarphsmphnthuiddwytwkhxngmnexngcathaidemuxxayuid 60 wn hxykhmxxklukepntwkhrngla praman 40 50 tw lukhxykhmthixxkmaihm camiwunhumxyu aemhxykhmcaichhnwdaethngwuncnaetkephuxihlukhxyhludxxkcakwun lukhxykhmsamarthekhluxnihwidthnthiemuxxxkcaktwaem rayathicaphbehnchukchumxyuinchwngeduxnthnwakhm phvsphakhm mixayukhytngaet 3 11 piaehlngxasyhxykhmmkxasyxyutamaehlngnacudthrrmchatithwip echn khu hnxng khlxng bung aelainnakhaw thiepnphundinhruxokhln thiradbnatngaet 10 sm thung 2 m odyichethayudekaaxyutamwtthutang echn esa saphan txim phnthuimna hruxcmxyuinokhln hxykhmmkxyuinnathiimihlaerngnkhruxepnnaninginthirm mikaraephrkracayipthwthukphumiphakhkhxngpraethsithy samarthphbidthwipinthukcnghwd aelamikaraephrkracaythwipinpraethsiklekhiyng echn phma law ewiydnam aelakmphucha rwmthungincin aela yipun aelaaexfrikaphyathicakhxykhminthrrmchatihxyepnstwthiepnphahainkarnaphyathimasuphubriothkhinhwngosxahar enuxngcakwngcrchiwitkhxngphyathiinrayatwxxncaekhamafngtwinhxy odyechphaainhxynacud sahrbinhxykhmmichnidphyathithitrwcphbdngtxipni Echinostoma malayanum Echinostoma revolutum Echinostoma malayanum Echinostoma ilocanum Angiostrongylus cantonensisxangxingKear B P Hamilton Bruce R J Smith B J amp Gowlett Holmes K L 2003 Reassessment of Australia s oldest freshwater snail Viviparus albascopularis Etheridge 1902 Mollusca Gastropoda Viviparidae from the Lower Cretaceous Aptian Wallumbilla Formation of White Cliffs New South Wales Molluscan Research 23 2 149 158 doi 10 1071 MR03003 PDF Gray J E November 1847 1833 A list of genera of Recent Mollusca their synonyma and types Proceedings of the Zoological Society in London 15 129 182 Viviparidae at page 155 Strong E E Gargominy O Ponder W F amp Bouchet P 2008 Global Diversity of Gastropods Gastropoda Mollusca in Freshwater Hydrobiologia 595 149 166 http hdl handle net 10088 7390 doi 10 1007 s10750 007 9012 6 Heller J 1990 Longevity in molluscs Malacologia 31 2 259 295 skdichy chuochti 2533 kareliynghxykhm ox exs phrinting ehas krungethphmhankhr wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb wngshxykhmaehlngkhxmulxunwikispichismikhxmulphasaxngkvsekiywkb Viviparidae