บทความนี้ไม่มีจาก |
โรคไมเกรนหรือโรคปวดหัวข้างเดียว (อังกฤษ: migraine) เป็นความผิดปกติทางประสาทเรื้อรังอย่างหนึ่ง ลักษณะเด่นคือปวดศีรษะปานกลางถึงรุนแรงเป็นซ้ำ มักสัมพันธ์กับอาการทางระบบประสาทอิสระจำนวนหนึ่ง
โรคไมเกรน (Migraine) | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | G43 |
ICD- | 346 |
157300 | |
8207 (Migraine) 31876 () 4693 () | |
000709 | |
neuro/218 neuro/517 emerg/230 neuro/529 | |
MeSH | D008881 |
ตรงแบบ อาการปวดศีรษะมีผลต่อศีรษะครึ่งซีก มีสภาพปวดตามจังหวะ (หัวใจเต้น) และกินเวลาตั้งแต่ 2 ถึง 72 ชั่วโมง อาการที่สัมพันธ์อาจมีคลื่นไส้ อาเจียน และไวต่อแสง เสียงหรือกลิ่น โดยทั่วไปความเจ็บปวดรุนแรงขึ้นจากกิจกรรมทางกาย ผู้ป่วยไมเกรนถึงหนึ่งในสามมี (aura) คือ การรบกวนภาพ การรับความรู้สึก ภาษาหรือการสั่งการร่างกายซึ่งบ่งบอกว่าจะเกิดปวดศีรษะในไม่ช้า บางครั้งสัญญาณบอกเหตุเกิดได้โดยมีการปวดศีรษะตามมาน้อยหรือไม่ปวดเลย
เชื่อว่า ไมเกรนมีสาเหตุจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมและพันธุกรรมผสมกัน ผู้ป่วยประมาณสองในสามเป็นในครอบครัว การเปลี่ยนระดับฮอร์โมนผสมกัน เพราะไมเกรนมีผลต่อเด็กชายมากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อยก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ แต่ในผู้ใหญ่ หญิงเป็นมากกว่าชายประมาณสองถึงสามเท่า ความเสี่ยงของไมเกรนปกติลดลงระหว่างการตั้งครรภ์ ยังไม่ทราบกลไกที่แน่ชัดของไมเกรน แต่เชื่อว่าเป็นความผิดปกติของประสาทควบคุมหลอดเลือด ทฤษฎีหลักสัมพันธ์กับการเร้าได้ (excitability) ที่เพิ่มขึ้นของเปลือกสมองและการควบคุมผิดปกติของเซลล์ประสาทรับความเจ็บปวดในนิวเคลียสของประสาทไทรเจมินัลในก้านสมอง
เริ่มต้น การรักษาแนะนำ คือ ยาระงับปวดธรรมดา เช่น ไอบูโปรเฟนและพาราเซตามอล (หรืออะเซตามิโนเฟน) สำหรับปวดศีรษะ สำหรับคลื่นไส้ และการเลี่ยงตัวกระตุ้น อาจใช้สารเฉพาะเช่น ทริพแทนหรือเออร์โกทามีนในผู้ที่ยาระงับปวดธรรมดาใช้ไม่ได้ผล 15% ของประชากรทั่วโลกเคยเป็นไมเกรนครั้งหนึ่งในชีวิต
พยาธิกำเนิด
อาการปวดศีรษะไมเกรนเกี่ยวข้องกับหลอดเลือด สารชีวเคมีกลุ่ม peptide สารก่อการอักเสบที่ปลายประสาท Trigeminal และระบบประสาท โดยกลไกการเกิดล่าสุดที่พบ คือ genetic mutation ซึ่งผลของความผิดปกติของยีนส์เหล่านี้ทำให้มีปริมาณโปแทสเซียมและกลูตาเมตภายนอกเซลล์มากขึ้นซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของหลอดเลือดร่วมกับการกระตุ้นประสาทส่งผลให้การไหลเวียนเลือดเพิ่มมากขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ จากการขยายเส้นเลือดบริเวณศีรษะ หลังจากนั้นจะมีการไหลเวียนเลือดน้อยลงจากการหดหลอดเลือดบริเวณศีรษะ ซึ่งเป็นผลมาจากภาวะที่มีการกดประสาทจากการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือด นี้ทำให้เกิดการปวดศีรษะไมเกรนขึ้น
ขณะที่มี aura เกิดจากการที่มีกระแสประสาทผ่านไปยัง occipital lobe ส่งผลให้การทำงานของ visual cortex เปลี่ยนแปลงไปด้วย ทำให้มีอาการผิดปกติทางสายตา เช่น เห็นแสงซิกแซก หรือแสงวาบ แต่ในกรณีของ migraine without aura อาจเกิดจากกระแสประสาทไม่ผ่านไปยัง occipital lobe หรือกระแสประสาทไม่แรงพอที่จะกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ visual cortex จึงไม่เกิดอาการผิดปกติทางสายตา
นอกจากนี้ที่ปลายประสาท trigeminal มี serotonin subtype 1 receptor (5-HT1d) อยู่ โดยที่ 5-HT1d ที่พบที่ปลายประสาท trigeminal และ 5-HT1b ที่พบที่ human cerebral blood vessel ซึ่งทำให้หลอดเลือดหดตัวดังนั้นการกระตุ้นที่ 5-HT1 จึงช่วยลดอาการปวดศีรษะ
อาการแสดง
อาการปวดศีรษะไมเกรนมักจะปวดศีรษะครึ่งซีก แต่บางครั้งเป็นสองข้างก็ได้ โดยมักกินเวลาปวด 4-72 ชั่วโมง ซึ่งมักจะมีการปวดตุ๊บๆ และส่วนมากจะพบอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย รวมถึงอาจมีหรือไม่มีอาการนำทางสายตา เช่น เห็นแสงซิกแซก, แสงวาบ เป็นต้น อาการปวดศีรษะไมเกรนแบ่งตามอาการนำได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
- Migraine without aura จะไม่มีอาการผิดปกติทางสายตานำมาก่อนการปวดศีรษะ มักจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย
- Migraine with aura จะมีอาการผิดปกติผิดปกตินำมาก่อนการปวดศีรษะ เช่น เห็นแสงซิกแซก, แสงวาบ โดยมักจะอาการเหล่านี้ก่อนปวดศีรษะประมาณ 1 ชั่วโมง นอกจากนั้นจะมีอาการเหมือน migraine without aura
อาการทางคลินิก
แบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ ระยะอาการนำ (Prodrome), ระยะออรา (aura), ระยะปวดศีรษะ, ระยะหายปวดศีรษะ (Resolution) และระยะภายหลังจากหายปวดศีรษะ (Postdrome) อาการแสดงทางคลินิกนี้ ผู้ป่วยแต่ละคนอาจมีอาการที่แตกต่างกัน เช่น migraine without aura จะไม่พบระยะออรา เป็นต้น
- ระยะอาการนำ (Prodome) - จะพบอาการภายใน 24 ชั่วโมงก่อนมีอาการปวดศีรษะ เช่น หงุดหงิด อาการหิว ท้องเดิน ไม่มีสมาธิ อ่อนเพลีย เหม็นกลิ่นอาหาร เป็นต้น ซึ่งจะอาการเหล่านี้ในผู้ป่วยที่ปวดศีรษะไมเกรนประมาณ 50% ของผู้ป่วยไมเกรน
- ระยะออรา (aura) - จะพบอาการก่อนการปวดศีรษะประมาณ 1 ชั่วโมง จะพบอาการผิดปกติทางสายตา เช่น เกิดจุดเมื่อมองวัตถุ เห็นภาพผิดขนาด เห็นภาพเพียงครึ่งเดียว แสงซิกแซก มองเห็นเป็นเส้นคลื่น ซึ่งจะอาการเหล่านี้ในผู้ป่วยที่ปวดศีรษะไมเกรนประมาณ 20% ของผู้ป่วยไมเกรน
- ระยะปวดศีรษะ - มีอาการปวดศีรษะแบบจุดๆ ส่วนใหญ่จะปวดข้างเดียว แต่ก็พบที่ปวดศีรษะทั้งข้างได้เช่นกัน โดยมักจะมีเหล่านี้ร่วมด้วย ได้แก่ ปวดกระบอกตา ปวดต้นคอ คลื่นไส้อาเจียน กลัวแสง กลัวเสียง ซึ่งระยะมีระยะเวลา 4-72 ชั่วโมง
- ระยะหายปวดศีรษะ (Resolution) - อาการปวดศีรษะมักจะหายไปหลังจากที่ได้พักผ่อน เช่น การนอนหลับ
- ระยะภายหลังจากหายปวดศีรษะ (Postdrome) - หายจากอาการปวดศีรษะแต่ร่างกายมีอาการอ่อนล้า ศีรษะตื๊อๆ ความคิดไม่แล่น เฉยเมย จึงควรที่จะนอนพัก
ปัจจัยกระตุ้นอาการปวดศีรษะไมเกรน
ปัจจัยที่เป็นมีหลากหลาย ผู้ป่วยแต่ละรายควรสังเกตว่าปัจจัยใดบ้างที่กระตุ้นอาการปวดศีรษะในตัวเอง ซึ่งจะได้หลีกเลี่ยงปัจจัยเหล่านั้น ซึ่งปัจจัยกระตุ้นได้แก่
- อาหาร - อาหารบางชนิดกระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะได้เช่น คาเฟอีน, สารไทรามีนเช่น ชีส ผงชูรส (monosodium glutamate) ช็อกโกแลต สารที่ให้รสหวาน เช่น aspartame ผลไม้รสเปรี้ยว โยเกิร์ต และสารไนเตรทเช่น ไส้กรอก เป็นต้น
- ระดับฮอร์โมน - ระดับฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงกระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะได้ เช่น ช่วงที่มีประจำเดือน รับประทานยาเม็ดคุมกำเนิด ได้รับฮอร์โมนทดแทน และกำลังตั้งครรภ์ เป็นต้น
- สภาพร่างกาย - สภาพร่างกายที่อาจกระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะได้ เช่น นอนไม่พอ เครียด ทำงานหนักมากเกินไป และอดอาหาร เป็นต้น
- การออกกำลังกาย - การออกกำลังกายที่มากเกินก็สามารถกระตุ้นให้เกิดการกำเริบของอาการปวดหัวไมเกรนได้
- สภาวะแวดล้อม - สภาวะแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะได้ เช่น อาการร้อนหรือหนาวจัด แสงแดดจ้า กลิ่นไม่พึงประสงค์บางอย่าง เช่น กลิ่นบุหรี่หรือกลิ่นน้ำหอม เป็นต้น
- ยาและสารเคมีบางชนิด - ยาและสารเคมีบางชนิดกระตุ้นให้เกิดการปวดศีรษะได้ เช่น nitroglycerine, Hydralazine, Histamine, Resepine เป็นต้น
เกณฑ์การวินิจฉัยไมเกรน
แนวทางการวินิจฉัยไมเกรนใช้หลักเกณฑ์ของ International Headche Society (IHS) ซึ่งจำแนกออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
ไมเกรน เป็นโรคปวดศีรษะชนิดหนึ่งที่เกิดจากความผิดปกติระบบประสาทที่หลอดเลือดแดงบริเวณศีรษะซึ่งเป็นโรคเรื้อรังไม่หายขาด ซึ่งอาจจะเป็นๆ หายๆ จึงควรได้รับการวินิจฉัยแยกจากกลุ่มที่มีอาการคล้ายไมเกรน เช่น Cluster Headche, Tension Headche ลักษณะที่สำคัญของไมเกรน ประกอบด้วย ส่วนใหญ่มักจะปวดศีรษะข้างเดียวประมาณ 60% หรือจะมีอาการปวดศีรษะทั้ง 2 ข้างก็ได้ โดยทั่วไปจะมีอาการปวดศีรษะนาน 4-72 ชั่วโมงและมักจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนและเวียนศีรษะร่วมด้วย รวมถึงอาการกลัวแสงหรืออาการกลัวเสียงได้
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไมเกรน มีทั้งให้การรักษาแบบไม่ใช้ยาโดยการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยว พยาธิกำเนิด ปัจจัยกระตุ้นต่างๆ ที่ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ รวมถึงการปรับเปลี่ยนวิถึชีวิต และการรักษาแบบใช้ยา โดยจำแนกออกเป็นยาป้องกันไมเกรนที่ต้องรับประทานทุกวันสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการตั้งแต่ 3 ครั้งต่อเดือน และยารักษาอาการปวดศีรษะเฉียบพลัน
โรคไมเกรนที่ไม่มีอาการนำ |
---|
1.ปวดศีรษะนาน 4-72 ชั่วโมง ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือรักษาไม่ได้ผล 2.อาการปวดศีรษะจะต้องประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 2 ข้อ ได้แก่
3.ระหว่างปวดศีรษะมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
4.เคยปวดศีรษะอย่างน้อย 5 ครั้ง และ มีอาการที่ระบุไว้ในข้อ 1-3 |
โรคไมเกรนที่มีอาการนำ |
---|
1.พบอาการนำอย่างน้อย 1 อาการ ดังนี้
2.พบอาการนำอย่างน้อย 2 อาการ ดังนี้
3.อาการปวดศีรษะ จะเกิดตามอาการนำในช่วงเวลาไม่เกิน 60 นาที 4.อาการปวดศีรษะนี้ได้รับการซักประวัติและตรวจร่างกายว่า ไม่ได้มาจากพยาธิสภาพที่อาจเกิดโรคในโพรงกะโหลกศีรษะ หรือ โครงสร้างอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงกับโพรงกะโหลกศีรษะ 5.เคยปวดศีรษะอย่างน้อย 2 ครั้งและมีอาการที่ระบุไว้ในข้อ 1-4 |
ขอบเขตในการดูแลรักษาผู้ป่วยไมเกรน
เนื่องด้วยการปวดศีรษะไมเกรน การดูแลรักษาจึงมีจุดประสงค์เพื่อควบคุมการปวดไม่ให้รบกวนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ซึ่งการรักษาจะได้ผลดีจะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ป่วยในการลดปัจจัยกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการปวด การรักษาด้วยยามี 2 วัตถุประสงค์ คือ รักษาอาการปวดในระยะเฉียบพลัน และ การป้องกันการปวดศีรษะไมเกรน
ยาที่ใช้รักษาอาการปวดศีรษะเฉียบพลัน
ยากลุ่มนี้จะใช้บรรเทาอาการปวดเมื่อมีอาการปวดศีรษะเท่านั้น ไม่ได้ลดความถี่ในการเกิดหรือใช้ป้องกัน ยาในกลุ่มนี้ได้แก่
- ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ (Nonsteroid anti-inflammatory drugs; NSAIDs) เช่น Ibuprofen, Naproxen sodium, Paracetamol, Aspirin เป็นต้น
- กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งเอมไซม์ ส่งผลให้ไม่สามารถสร้างสาร prostaglandins จึงลดอาการอักเสบได้
- ข้อบ่งใช้: บรรเทาอาการปวดระดับน้อยถึงปานกลาง
- ขนาดยาที่ใช้
- Ibuprofen รับประทานครั้งละ 200-600 มิลลิกรัม ทุก 4-6 ชั่วโมง ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 3.2 กรัมต่อวัน
- Naproxen sodium รับประทานครั้งละ 275-550 มิลลิกรัม ทุก 4-6 ชั่วโมง ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 1.65 กรัมต่อวัน
- Paracetamol รับประทานครั้งละ 500-1000 มิลลิกรัม ทุก 4-6 ชั่วโมง ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 2 กรัมต่อวัน
- Aspirin รับประทานครั้งละ 650-1300 มิลลิกรัม ทุก 4 ชั่วโมง ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 4 กรัมต่อวัน
- อาการข้างเคียง: แผลในกระเพาะอาหาร
- Ergot alkaloid เช่น ergotamine+caffeine tablet (Cafergot?)
- กลไกการออกฤทธิ์: nonselective 5-HT receptor agonists โดยผลที่ต้องการ คือ ทำให้หลอดเลือดที่สมองหดตัว
- ข้อบ่งใช้: บรรเทาอาการปวดรุนแรง โดยเป็นยา first line สำหรับรักษาอาการปวดศีรษะไมเกรนเฉียบพลัน
- ขนาดยาที่ใช้: Cafergot? (ergotamine 1 มิลลิกรัม และ caffeine 100 มิลลิกรัม) รับประทานครั้งแรก 2 มิลลิกรัม ซ้ำได้ทุก 30 นาที ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 6 เม็ดต่อวันหรือ 10 เม็ดต่อสัปดาห์
- อาการข้างเคียง: คลื่นไส้ อาเจียน
- Triptans เช่น Sumatriptan, Naratriptan
- กลไกการออกฤทธิ์: selective 5-HT receptor agonists โดยทำให้หลอดเลือดที่สมองหดตัวแต่เนื่องจากเป็น selective จึงไม่ได้ไปกระตุ้น receptor อื่นที่ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน เหมือนใน ergot alkaloid ส่งผลให้ไม่เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
- ข้อบ่งใช้: บรรเทาอาการปวดรุนแรงและเฉียบพลันรวมถึงอาการที่ดื้อต่อยาแก้ปวดขนานอื่นๆ โดยจัดเป็นยา first line สำหรับรักษาอาการปวดศีรษะ ไมเกรนเฉียบพลัน
- ขนาดยาที่ใช้:
- Sumatriptan รับประทานครั้งละ 25-100 มิลลิกรัม และสามารถรับประทานซ้ำในชั่วโมงที่ 2 ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 200 มิลลิกรัมต่อวัน
- Naratriptan รับประทานครั้งละ 2.5 มิลลิกรัมและสามารถรับประทานซ้ำในชั่วโมงที่ 4 ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อวัน
- อาการข้างเคียง: อาการแน่นหน้าอก, ใบหน้าร้อนแดง, คลื่นไส้อาเจียน
ยาป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรน
การเลือกใช้ยากลุ่มนี้เมื่อมีข้อที่ควรพิจารณาดังนี้
- ใช้เมื่อมีอาการมากกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์
- รบกวนการดำเนินชีวิต
- อาการปวดมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้นหรือระยะเวลาที่ปวดแต่ละครั้งนานขึ้น
การเลือกใช้ยาในแต่ละกลุ่มควรคำนึงถึงประสิทธิภาพและโรคร่วมอื่นๆ ของผู้ป่วยที่เป็นอยู่ โดยควรเริ่มต้นจากขนาดยาน้อยๆ ปรับเพิ่มทีละนิดจนได้ขนาดยาที่ต้องการ เมื่อใช้ยาได้ประมาณ 3 เดือน ให้ประเมินความถี่และความรุนแรงของอาการว่าลดลงหรือไม่ โดยส่วนมากยาจะได้ผลเมื่อรับประทานต่อเนื่อง 1 เดือนขึ้นไป เมื่อยาได้ผลควรทานอย่างน้อยนาน 6 เดือน แล้วค่อยๆ ลดขนาดยาลงทีละนิด จะหยุดไปเลย ?? เพื่อป้องกันการเกิดการเสพติด ยาป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรน ได้แก่
- ?-blocker จัดเป็นยา first line drug ของยาป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรน เช่น Propranolol, Atenolol
- กลไกการออกฤทธิ์: ปรับระดับสมดุลของ catecholamine
- ข้อบ่งใช้: ป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรน โดยลดความถี่ ระดับความรุนแรงและลดระยะเวลาอาการปวด จัดเป็น first line drug ที่ใช้ในการยาป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรน
- ขนาดยาที่ใช้:
- Propranolol รับประทานครั้งละ 80 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง
- Atenolol รับประทานครั้งละ 100 มิลลิกรัมวันละครั้ง
- ผลข้างเคียง: หัวใจเต้นช้าลง ความดันโลหิตต่ำลง หลอดลมหดตัว
- Calcium blocker เช่น Verapamil, Flunarizine
- กลไกการออกฤทธิ์: ปรับระดับการทำงานของสารสื่อประสาท
- ข้อบ่งใช้: ลดความถี่ของการเกิดอาการปวดศีรษะไมเกรนโดยที่ไม่ลดระดับความรุนแรงหรือระยะเวลาในการปวด
- ขนาดยาที่ใช้:
- Verapamil ขนาดรับประทานเริ่มต้น 40 มิลลิกรัมต่อวันแล้วค่อยเพิ่มเป็น 40 มิลลิกรัม 2 ครั้งต่อวัน
- Flunarizine ขนาดรับประทานเริ่มต้น 5 มิลลิกรัมก่อนนอนแล้วค่อยเพิ่มเป็น 10 มิลลิกรัม ก่อนนอนต่อวัน
- ผลข้างเคียง: หัวใจเต้นช้าลง ความดันโลหิตต่ำลง
- Tricyclic antidepressants เช่น Amitriptyline
- กลไกการออกฤทธิ์: ยับยั้งการเก็บกลับของ nore-epinephrine และ serotonin ส่งผลให้เพิ่มระดับของสารสื่อปรสาททั้งสองตัว
- ข้อบ่งใช้: เป็น first line drug ของยาป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรนในผู้ป่วยที่มี depression ร่วมด้วย
- ขนาดยาที่ใช้: Amitriptyline ขนาดรับประทานเริ่มต้น 10 มิลลิกรัมต่อวัน ก่อนนอน อาจเพิ่มขนาดยาจนถึง 200 มิลลิกรัม ก่อนนอน
- ผลข้างเคียง: ปากแห้ง, คอแห้ง, ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถอย่างรวดเร็ว
- Anticonvalsants เช่น Sodium valproate
- กลไกการออกฤทธิ์: เพิ่ม GABA activity
- ข้อบ่งใช้: เป็น first line drug ของยาป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรนที่มีอาการรุนแรงมาก
- ขนาดยาที่ใช้: Sodium valproate รับประทานเริ่มต้น 500 มิลลิกรัมแล้วค่อยเพิ่มเป็น 1000 มิลลิกรัม ก่อนนอน
- ผลข้างเคียง: ง่วงนอน, คลื่นไส้, ระดับเอนไซม์ตับสูงขึ้น
อ้างอิง
- "Advances in Migraine Prophylaxis: Current State of the Art and Future Prospects" (PDF). National Headache Foundation (CME monograph). http://www.headaches.org/pdf/botoxcme.pdf 2010-12-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Retrieved 2007-06-25.
- Modi S, Lowder DM (January 2006). "Medications for migraine prophylaxis". American Family Physician 73 (1) : 72–8. PMID 16417067. http://www.aafp.org/link_out?pmid=16417067.
- "NINDS Migraine Information Page". National Institute of Neurological Disorders and Stroke, National Institutes of Health. http://www.ninds.nih.gov/disorders/migraine/migraine.htm 2016-02-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Retrieved 2007-06-25.
- Kantor, D (2006-11-21). "MedlinePlus Medical Encyclopedia: Migraine". http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/000709.htm. Retrieved 2008-04-04.
- Bren, Linda (March-April 2006). "Managing Migraines". FDA Consumer magazine 40 (2). http://permanent.access.gpo.gov/lps1609/www.fda.gov/fdac/features/2006/206_migraines.html.
- กัมมันต์ พันธุมจินดา. แนวทางการรักษาไมเกรน. ใน: รศ. นพ. วิทยา ศรีดามา. Evidence-Based Clinical practice guideline ทางอายุรกรรม 2548. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุงแก้ไข). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548. หน้า 208-219.
- มัณฑนา ภาณุมาภรณ์, ศิรประภา ทับทิม, บรรณาธิการ. การบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยโรคระบบประสาทและจิจเวช. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร. 2550 หน้า 81-96
- จุฑามณี สุทธิสีสังข์. พยาธิกำเนิดและยาที่ใช้สำหรับรักษาอาการปวดศีรษะไมเกรน. Advances in Pharmacotherapeutics and Pharmacy practice 2006. พิมพ์ครั้งที่ 1. ประชาชน. กรุงเทพฯ. 2549. หน้า 67-75
- MIMs pharmacy guide Thailand. 6thed. Bangkok: MIMS (Thailand) ; 2006. P151-154
- Lacy CF, Armstrong LL, Goldman MP, Lance LL. Drug information handbook. 13th ed. Ohio: Lexi-comp; 2005. P.92-94, 1055-1056, 1414-1416, 1589-1591
- ยาไมเกรน
- Headache Classification Subcommittee of the International Headache Society (2004). "The International Classification of Headache Disorders: 2nd edition". Cephalalgia. 24 (Suppl 1): 9–160. doi:10.1111/j.1468-2982.2004.00653.x. PMID 14979299. as PDF 2010-03-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Piane, M (December 2007). "Genetics of migraine and pharmacogenomics: some considerations". The journal of headache and pain. 8 (6): 334–9. doi:10.1007/s10194-007-0427-2. PMC 2779399. PMID 18058067.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBart10
- Lay CL, Broner SW (May 2009). "Migraine in women". Neurologic Clinics. 27 (2): 503–11. doi:10.1016/j.ncl.2009.01.002. PMID 19289228.
- Stovner LJ, Zwart JA, Hagen K, Terwindt GM, Pascual J (April 2006). "Epidemiology of headache in Europe". European Journal of Neurology. 13 (4): 333–45. doi:10.1111/j.1468-1331.2006.01184.x. PMID 16643310.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Dodick DW, Gargus JJ (August 2008). "Why migraines strike". Sci. Am. 299 (2): 56–63. Bibcode:2008SciAm.299b..56D. doi:10.1038/scientificamerican0808-56. PMID 18666680.
- http://sukapapdeedee.com/disease/brain-disease/migraine/2.html[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir orkhimekrnhruxorkhpwdhwkhangediyw xngkvs migraine epnkhwamphidpktithangprasatheruxrngxyanghnung lksnaednkhuxpwdsirsapanklangthungrunaerngepnsa mksmphnthkbxakarthangrabbprasathxisracanwnhnungorkhimekrn Migraine bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10G43ICD 3461573008207 Migraine 31876 4693 000709neuro 218 neuro 517 emerg 230 neuro 529MeSHD008881 trngaebb xakarpwdsirsamiphltxsirsakhrungsik misphaphpwdtamcnghwa hwicetn aelakinewlatngaet 2 thung 72 chwomng xakarthismphnthxacmikhlunis xaeciyn aelaiwtxaesng esiynghruxklin odythwipkhwamecbpwdrunaerngkhuncakkickrrmthangkay phupwyimekrnthunghnunginsammi aura khux karrbkwnphaph karrbkhwamrusuk phasahruxkarsngkarrangkaysungbngbxkwacaekidpwdsirsainimcha bangkhrngsyyanbxkehtuekididodymikarpwdsirsatammanxyhruximpwdely echuxwa imekrnmisaehtucakpccysingaewdlxmaelaphnthukrrmphsmkn phupwypramansxnginsamepninkhrxbkhrw karepliynradbhxromnphsmkn ephraaimekrnmiphltxedkchaymakkwaedkhyingelknxykxnwyerimecriyphnthu aetinphuihy hyingepnmakkwachaypramansxngthungsametha khwamesiyngkhxngimekrnpktildlngrahwangkartngkhrrph yngimthrabklikthiaenchdkhxngimekrn aetechuxwaepnkhwamphidpktikhxngprasathkhwbkhumhlxdeluxd thvsdihlksmphnthkbkareraid excitability thiephimkhunkhxngepluxksmxngaelakarkhwbkhumphidpktikhxngesllprasathrbkhwamecbpwdinniwekhliyskhxngprasathithrecminlinkansmxng erimtn karrksaaenana khux yarangbpwdthrrmda echn ixbuoprefnaelapharaestamxl hruxxaestamionefn sahrbpwdsirsa sahrbkhlunis aelakareliyngtwkratun xacichsarechphaaechn thriphaethnhruxexxrokthamininphuthiyarangbpwdthrrmdaichimidphl 15 khxngprachakrthwolkekhyepnimekrnkhrnghnunginchiwitphyathikaenidxakarpwdsirsaimekrnekiywkhxngkbhlxdeluxd sarchiwekhmiklum peptide sarkxkarxkesbthiplayprasath Trigeminal aelarabbprasath odyklikkarekidlasudthiphb khux genetic mutation sungphlkhxngkhwamphidpktikhxngyinsehlanithaihmiprimanopaethsesiymaelaklutaemtphaynxkesllmakkhunsungthaihekidkarepliynaeplngkarihlewiynkhxnghlxdeluxdrwmkbkarkratunprasathsngphlihkarihlewiyneluxdephimmakkhuninchwngewlasn cakkarkhyayesneluxdbriewnsirsa hlngcaknncamikarihlewiyneluxdnxylngcakkarhdhlxdeluxdbriewnsirsa sungepnphlmacakphawathimikarkdprasathcakkarepliynaeplngkarihlewiyneluxd nithaihekidkarpwdsirsaimekrnkhun khnathimi aura ekidcakkarthimikraaesprasathphanipyng occipital lobe sngphlihkarthangankhxng visual cortex epliynaeplngipdwy thaihmixakarphidpktithangsayta echn ehnaesngsikaesk hruxaesngwab aetinkrnikhxng migraine without aura xacekidcakkraaesprasathimphanipyng occipital lobe hruxkraaesprasathimaerngphxthicakratunihekidkarepliynaeplngkhxng visual cortex cungimekidxakarphidpktithangsayta nxkcaknithiplayprasath trigeminal mi serotonin subtype 1 receptor 5 HT1d xyu odythi 5 HT1d thiphbthiplayprasath trigeminal aela 5 HT1b thiphbthi human cerebral blood vessel sungthaihhlxdeluxdhdtwdngnnkarkratunthi 5 HT1 cungchwyldxakarpwdsirsaxakaraesdngxakarpwdsirsaimekrnmkcapwdsirsakhrungsik aetbangkhrngepnsxngkhangkid odymkkinewlapwd 4 72 chwomng sungmkcamikarpwdtub aelaswnmakcaphbxakarkhlunisxaeciynrwmdwy rwmthungxacmihruximmixakarnathangsayta echn ehnaesngsikaesk aesngwab epntn xakarpwdsirsaimekrnaebngtamxakarnaidepn 2 klum idaek Migraine without aura caimmixakarphidpktithangsaytanamakxnkarpwdsirsa mkcamixakarkhlunisxaeciynrwmdwy Migraine with aura camixakarphidpktiphidpktinamakxnkarpwdsirsa echn ehnaesngsikaesk aesngwab odymkcaxakarehlanikxnpwdsirsapraman 1 chwomng nxkcaknncamixakarehmuxn migraine without auraxakarthangkhlinikaebngxxkepn 5 raya khux rayaxakarna Prodrome rayaxxra aura rayapwdsirsa rayahaypwdsirsa Resolution aelarayaphayhlngcakhaypwdsirsa Postdrome xakaraesdngthangkhlinikni phupwyaetlakhnxacmixakarthiaetktangkn echn migraine without aura caimphbrayaxxra epntn rayaxakarna Prodome caphbxakarphayin 24 chwomngkxnmixakarpwdsirsa echn hngudhngid xakarhiw thxngedin immismathi xxnephliy ehmnklinxahar epntn sungcaxakarehlaniinphupwythipwdsirsaimekrnpraman 50 khxngphupwyimekrn rayaxxra aura caphbxakarkxnkarpwdsirsapraman 1 chwomng caphbxakarphidpktithangsayta echn ekidcudemuxmxngwtthu ehnphaphphidkhnad ehnphaphephiyngkhrungediyw aesngsikaesk mxngehnepnesnkhlun sungcaxakarehlaniinphupwythipwdsirsaimekrnpraman 20 khxngphupwyimekrn rayapwdsirsa mixakarpwdsirsaaebbcud swnihycapwdkhangediyw aetkphbthipwdsirsathngkhangidechnkn odymkcamiehlanirwmdwy idaek pwdkrabxkta pwdtnkhx khlunisxaeciyn klwaesng klwesiyng sungrayamirayaewla 4 72 chwomng rayahaypwdsirsa Resolution xakarpwdsirsamkcahayiphlngcakthiidphkphxn echn karnxnhlb rayaphayhlngcakhaypwdsirsa Postdrome haycakxakarpwdsirsaaetrangkaymixakarxxnla sirsatux khwamkhidimaeln echyemy cungkhwrthicanxnphkpccykratunxakarpwdsirsaimekrnpccythiepnmihlakhlay phupwyaetlaraykhwrsngektwapccyidbangthikratunxakarpwdsirsaintwexng sungcaidhlikeliyngpccyehlann sungpccykratunidaek xahar xaharbangchnidkratunihekidxakarpwdsirsaidechn khaefxin sarithraminechn chis phngchurs monosodium glutamate chxkokaelt sarthiihrshwan echn aspartame phlimrsepriyw oyekirt aelasarinetrthechn iskrxk epntn radbhxromn radbhxromnthiepliynaeplngkratunihekidxakarpwdsirsaid echn chwngthimipracaeduxn rbprathanyaemdkhumkaenid idrbhxromnthdaethn aelakalngtngkhrrph epntn sphaphrangkay sphaphrangkaythixackratunihekidxakarpwdsirsaid echn nxnimphx ekhriyd thanganhnkmakekinip aelaxdxahar epntn karxxkkalngkay karxxkkalngkaythimakekinksamarthkratunihekidkarkaeribkhxngxakarpwdhwimekrnid sphawaaewdlxm sphawaaewdlxmthikratunihekidxakarpwdsirsaid echn xakarrxnhruxhnawcd aesngaeddca klinimphungprasngkhbangxyang echn klinbuhrihruxklinnahxm epntn yaaelasarekhmibangchnid yaaelasarekhmibangchnidkratunihekidkarpwdsirsaid echn nitroglycerine Hydralazine Histamine Resepine epntneknthkarwinicchyimekrnaenwthangkarwinicchyimekrnichhlkeknthkhxng International Headche Society IHS sungcaaenkxxkepn 2 klum idaek imekrn epnorkhpwdsirsachnidhnungthiekidcakkhwamphidpktirabbprasaththihlxdeluxdaedngbriewnsirsasungepnorkheruxrngimhaykhad sungxaccaepn hay cungkhwridrbkarwinicchyaeykcakklumthimixakarkhlayimekrn echn Cluster Headche Tension Headche lksnathisakhykhxngimekrn prakxbdwy swnihymkcapwdsirsakhangediywpraman 60 hruxcamixakarpwdsirsathng 2 khangkid odythwipcamixakarpwdsirsanan 4 72 chwomngaelamkcamixakarkhlunisxaeciynaelaewiynsirsarwmdwy rwmthungxakarklwaesnghruxxakarklwesiyngid aenwthangkarduaelrksaphupwyorkhimekrn mithngihkarrksaaebbimichyaodykarihkhwamruaekphupwyekiyw phyathikaenid pccykratuntang thithaihekidxakarpwdsirsa rwmthungkarprbepliynwithuchiwit aelakarrksaaebbichya odycaaenkxxkepnyapxngknimekrnthitxngrbprathanthukwnsahrbphupwythimixakartngaet 3 khrngtxeduxn aelayarksaxakarpwdsirsaechiybphln orkhimekrnthiimmixakarna1 pwdsirsanan 4 72 chwomng thaimidrbkarrksahruxrksaimidphl 2 xakarpwdsirsacatxngprakxbdwylksnadngtxipniimnxykwa 2 khx idaek 2 1 swnihypwdsirsakhangediywaetbangxacpwdthngsxngkhang2 2 pwdtub epncnghwa2 3 xakarpwdsirsaxyuinradbpanklangthungrunaerng2 4 xakarpwdsirsathaihimsamarththakicwtrpracawnidepnpkti 3 rahwangpwdsirsamixakarxyangidxyanghnungtxipni 3 1 xakarimsuaesng hrux xakarimsuesiyng3 2 khlunis hrux xaeciyn 4 ekhypwdsirsaxyangnxy 5 khrng aela mixakarthirabuiwinkhx 1 3orkhimekrnthimixakarna1 phbxakarnaxyangnxy 1 xakar dngni 1 1xakaraesdngthangsaytathiklbmaid echn ehnaesngwubwab ehnphaphepncud ehnaesngsikaesk epntn1 2xakaraesdngthangkarrbkhwamrusukthiklbmaid echn wingewiynsirsa miesiynginhu epntn 1 3xakaraesdngthiaesdngxakarphudlabakthiklbmaid 2 phbxakarnaxyangnxy 2 xakar dngni 2 1phbklumxakar aura thibngbxkthungkhwambkphrxngkarthangankhxng cerebral cortex hrux brain stem2 2phbxakar aura chnididchnidhnungekidnanmakkwa 5 nathi hruxekidxakar aura aetlachnidtxenuxngknepnladb2 3xakar aura ekidnanimekin 60 nathi nxkcakcaekidxakar aura hlaychnid 3 xakarpwdsirsa caekidtamxakarnainchwngewlaimekin 60 nathi 4 xakarpwdsirsaniidrbkarskprawtiaelatrwcrangkaywa imidmacakphyathisphaphthixacekidorkhinophrngkaohlksirsa hrux okhrngsrangxunthixyuiklekhiyngkbophrngkaohlksirsa 5 ekhypwdsirsaxyangnxy 2 khrngaelamixakarthirabuiwinkhx 1 4khxbekhtinkarduaelrksaphupwyimekrnenuxngdwykarpwdsirsaimekrn karduaelrksacungmicudprasngkhephuxkhwbkhumkarpwdimihrbkwnkhunphaphchiwitkhxngphupwy sungkarrksacaidphldicatxngidrbkhwamrwmmuxcakphupwyinkarldpccykratunthithaihekidxakarpwd karrksadwyyami 2 wtthuprasngkh khux rksaxakarpwdinrayaechiybphln aela karpxngknkarpwdsirsaimekrnyathiichrksaxakarpwdsirsaechiybphlnyaklumnicaichbrrethaxakarpwdemuxmixakarpwdsirsaethann imidldkhwamthiinkarekidhruxichpxngkn yainklumniidaek yaaekxkesbchnidimichsetrxyd Nonsteroid anti inflammatory drugs NSAIDs echn Ibuprofen Naproxen sodium Paracetamol Aspirin epntn klikkarxxkvththi ybyngexmism sngphlihimsamarthsrangsar prostaglandins cungldxakarxkesbid khxbngich brrethaxakarpwdradbnxythungpanklang khnadyathiich Ibuprofen rbprathankhrngla 200 600 millikrm thuk 4 6 chwomng khnadyasungsudimekin 3 2 krmtxwn Naproxen sodium rbprathankhrngla 275 550 millikrm thuk 4 6 chwomng khnadyasungsudimekin 1 65 krmtxwn Paracetamol rbprathankhrngla 500 1000 millikrm thuk 4 6 chwomng khnadyasungsudimekin 2 krmtxwn Aspirin rbprathankhrngla 650 1300 millikrm thuk 4 chwomng khnadyasungsudimekin 4 krmtxwn xakarkhangekhiyng aephlinkraephaaxahar Ergot alkaloid echn ergotamine caffeine tablet Cafergot klikkarxxkvththi nonselective 5 HT receptor agonists odyphlthitxngkar khux thaihhlxdeluxdthismxnghdtw khxbngich brrethaxakarpwdrunaerng odyepnya first line sahrbrksaxakarpwdsirsaimekrnechiybphln khnadyathiich Cafergot ergotamine 1 millikrm aela caffeine 100 millikrm rbprathankhrngaerk 2 millikrm saidthuk 30 nathi khnadyasungsudimekin 6 emdtxwnhrux 10 emdtxspdah xakarkhangekhiyng khlunis xaeciyn Triptans echn Sumatriptan Naratriptan klikkarxxkvththi selective 5 HT receptor agonists odythaihhlxdeluxdthismxnghdtwaetenuxngcakepn selective cungimidipkratun receptor xunthithaihekidxakarkhlunis xaeciyn ehmuxnin ergot alkaloid sngphlihimekidxakarkhlunis xaeciyn khxbngich brrethaxakarpwdrunaerngaelaechiybphlnrwmthungxakarthiduxtxyaaekpwdkhnanxun odycdepnya first line sahrbrksaxakarpwdsirsa imekrnechiybphln khnadyathiich Sumatriptan rbprathankhrngla 25 100 millikrm aelasamarthrbprathansainchwomngthi 2 khnadyasungsudimekin 200 millikrmtxwn Naratriptan rbprathankhrngla 2 5 millikrmaelasamarthrbprathansainchwomngthi 4 khnadyasungsudimekin 5 millikrmtxwn xakarkhangekhiyng xakaraennhnaxk ibhnarxnaedng khlunisxaeciynyapxngknxakarpwdsirsaimekrnkareluxkichyaklumniemuxmikhxthikhwrphicarnadngni ichemuxmixakarmakkwa 3 khrngtxspdah rbkwnkardaeninchiwit xakarpwdmiaenwonmrunaerngmakkhunhruxrayaewlathipwdaetlakhrngnankhun kareluxkichyainaetlaklumkhwrkhanungthungprasiththiphaphaelaorkhrwmxun khxngphupwythiepnxyu odykhwrerimtncakkhnadyanxy prbephimthilanidcnidkhnadyathitxngkar emuxichyaidpraman 3 eduxn ihpraeminkhwamthiaelakhwamrunaerngkhxngxakarwaldlnghruxim odyswnmakyacaidphlemuxrbprathantxenuxng 1 eduxnkhunip emuxyaidphlkhwrthanxyangnxynan 6 eduxn aelwkhxy ldkhnadyalngthilanid cahyudipely ephuxpxngknkarekidkaresphtid yapxngknxakarpwdsirsaimekrn idaek blocker cdepnya first line drug khxngyapxngknxakarpwdsirsaimekrn echn Propranolol Atenolol klikkarxxkvththi prbradbsmdulkhxng catecholamine khxbngich pxngknxakarpwdsirsaimekrn odyldkhwamthi radbkhwamrunaerngaelaldrayaewlaxakarpwd cdepn first line drug thiichinkaryapxngknxakarpwdsirsaimekrn khnadyathiich Propranolol rbprathankhrngla 80 millikrm wnla 2 khrng Atenolol rbprathankhrngla 100 millikrmwnlakhrng phlkhangekhiyng hwicetnchalng khwamdnolhittalng hlxdlmhdtw Calcium blocker echn Verapamil Flunarizine klikkarxxkvththi prbradbkarthangankhxngsarsuxprasath khxbngich ldkhwamthikhxngkarekidxakarpwdsirsaimekrnodythiimldradbkhwamrunaernghruxrayaewlainkarpwd khnadyathiich Verapamil khnadrbprathanerimtn 40 millikrmtxwnaelwkhxyephimepn 40 millikrm 2 khrngtxwn Flunarizine khnadrbprathanerimtn 5 millikrmkxnnxnaelwkhxyephimepn 10 millikrm kxnnxntxwn phlkhangekhiyng hwicetnchalng khwamdnolhittalng Tricyclic antidepressants echn Amitriptyline klikkarxxkvththi ybyngkarekbklbkhxng nore epinephrine aela serotonin sngphlihephimradbkhxngsarsuxprsaththngsxngtw khxbngich epn first line drug khxngyapxngknxakarpwdsirsaimekrninphupwythimi depression rwmdwy khnadyathiich Amitriptyline khnadrbprathanerimtn 10 millikrmtxwn kxnnxn xacephimkhnadyacnthung 200 millikrm kxnnxn phlkhangekhiyng pakaehng khxaehng khwamdnolhittaemuxepliynxiriyabthxyangrwderw Anticonvalsants echn Sodium valproate klikkarxxkvththi ephim GABA activity khxbngich epn first line drug khxngyapxngknxakarpwdsirsaimekrnthimixakarrunaerngmak khnadyathiich Sodium valproate rbprathanerimtn 500 millikrmaelwkhxyephimepn 1000 millikrm kxnnxn phlkhangekhiyng ngwngnxn khlunis radbexnismtbsungkhunxangxing Advances in Migraine Prophylaxis Current State of the Art and Future Prospects PDF National Headache Foundation CME monograph http www headaches org pdf botoxcme pdf 2010 12 30 thi ewyaebkaemchchin Retrieved 2007 06 25 Modi S Lowder DM January 2006 Medications for migraine prophylaxis American Family Physician 73 1 72 8 PMID 16417067 http www aafp org link out pmid 16417067 NINDS Migraine Information Page National Institute of Neurological Disorders and Stroke National Institutes of Health http www ninds nih gov disorders migraine migraine htm 2016 02 16 thi ewyaebkaemchchin Retrieved 2007 06 25 Kantor D 2006 11 21 MedlinePlus Medical Encyclopedia Migraine http www nlm nih gov medlineplus ency article 000709 htm Retrieved 2008 04 04 Bren Linda March April 2006 Managing Migraines FDA Consumer magazine 40 2 http permanent access gpo gov lps1609 www fda gov fdac features 2006 206 migraines html kmmnt phnthumcinda aenwthangkarrksaimekrn in rs nph withya sridama Evidence Based Clinical practice guideline thangxayurkrrm 2548 phimphkhrngthi 2 chbbprbprungaekikh orngphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2548 hna 208 219 mnthna phanumaphrn sirprapha thbthim brrnathikar karbribalthangephschkrrminphupwyorkhrabbprasathaelacicewch phimphkhrngthi 1 krungethph sankphimphkrungethphewchsar 2550 hna 81 96 cuthamni suththisisngkh phyathikaenidaelayathiichsahrbrksaxakarpwdsirsaimekrn Advances in Pharmacotherapeutics and Pharmacy practice 2006 phimphkhrngthi 1 prachachn krungethph 2549 hna 67 75 MIMs pharmacy guide Thailand 6thed Bangkok MIMS Thailand 2006 P151 154 Lacy CF Armstrong LL Goldman MP Lance LL Drug information handbook 13th ed Ohio Lexi comp 2005 P 92 94 1055 1056 1414 1416 1589 1591 yaimekrnHeadache Classification Subcommittee of the International Headache Society 2004 The International Classification of Headache Disorders 2nd edition Cephalalgia 24 Suppl 1 9 160 doi 10 1111 j 1468 2982 2004 00653 x PMID 14979299 as PDF 2010 03 31 thi ewyaebkaemchchin Piane M December 2007 Genetics of migraine and pharmacogenomics some considerations The journal of headache and pain 8 6 334 9 doi 10 1007 s10194 007 0427 2 PMC 2779399 PMID 18058067 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Bart10 Lay CL Broner SW May 2009 Migraine in women Neurologic Clinics 27 2 503 11 doi 10 1016 j ncl 2009 01 002 PMID 19289228 Stovner LJ Zwart JA Hagen K Terwindt GM Pascual J April 2006 Epidemiology of headache in Europe European Journal of Neurology 13 4 333 45 doi 10 1111 j 1468 1331 2006 01184 x PMID 16643310 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Dodick DW Gargus JJ August 2008 Why migraines strike Sci Am 299 2 56 63 Bibcode 2008SciAm 299b 56D doi 10 1038 scientificamerican0808 56 PMID 18666680 http sukapapdeedee com disease brain disease migraine 2 html lingkesiy