ภาษาลาดัก (ทิเบต: ལ་དྭགས་སྐད་; La-dwags skad) หรือภาษาโภติ หรือที่นักภาษาศาสตร์เรียกว่าภาษาทิเบตโบราณตะวันตก เป็นภาษาหลักของในรัฐชัมมูและกัษมีระ และใช้พูดในบัลติสถาน ภาษาลาดักใกล้เคียงกับภาษาทิเบต ชาวลาดักเองก็มีวัฒนธรรมหลายอย่างใกล้ชิดกับชาวทิเบต รวมทั้งนับถือศาสนาพุทธแบบทิเบตด้วย อย่างไรก็ตาม ภาษาลาดักกับภาษาทิเบตกลางไม่สามารถเข้าใจกันได้ แม้ว่าจะมีการเขียนที่ถ่ายทอดมาจาก มีผู้พูดภาษาลาดักในอินเดีย 200,000 คน และอาจจะมีอีกราว 12,000 คนในทิเบตที่อยู่ภายใต้การปกครองของจีน สำเนียงย่อยหลายสำเนียง ส่วนใหญ่ไม่มีวรรณยุกต์ ยกเว้นสำเนียงสโตตสกัตและสำเนียงลาดักบนที่มีวรรณยุกต์เหมือนภาษาทิเบตกลาง
ภาษาลาดัก | |
---|---|
ལ་དྭགས་སྐད་ La-dwags skad | |
ประเทศที่มีการพูด | ประเทศอินเดีย, ประเทศจีน |
ภูมิภาค | ลาดัก |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | 110,826 คน (2011 census) |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | อักษรทิเบต |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | อย่างใดอย่างหนึ่ง:lbj – Ladakhizau – |
อักษร
ภาษาลาดักเขียนด้วยอักษรทิเบต โดยชาวลาดักจะออกเสียงตรงตามตัวอักษรและออกเสียงอุปสรรค ปัจจัย อักษรนำที่มักจะไม่ออกเสียงในภาษาทิเบตสำเนียงอัมโด คาม อู่จั้งและลาซา แนวโน้มการออกเสียงแบบนี้ ยังพบในภาษาบัลติอีกด้วย ตัวอย่างเช่น sta 'ขวาน ' ภาษาทิเบตออกเสียงเป็น [ta] แต่ภาษาลาดักยังออกเสียงเป็น [sta] ’bras 'ข้าว' ภาษาทิเบตออกเสียงเป็น[dre] ส่วนชาวลาดักออกเสียงเป็น [dras] การถอดเป็นอักษรโรมันใช้วิธีการเดียวกับภาษาฮินดี
อ้างอิง
- "Statement 1: Abstract of speakers' strength of languages and mother tongues – 2011". www.censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 15 June 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
- A. H. Francke 1901 A Sketch of Ladakhi GrammarJournal of the Royal Asiatic Society of Bengal 70.1 29 กรกฎาคม 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaladk thiebt ལ ད གས ས ད La dwags skad hruxphasaophti hruxthinkphasasastreriykwaphasathiebtobrantawntk epnphasahlkkhxnginrthchmmuaelaksmira aelaichphudinbltisthan phasaladkiklekhiyngkbphasathiebt chawladkexngkmiwthnthrrmhlayxyangiklchidkbchawthiebt rwmthngnbthuxsasnaphuththaebbthiebtdwy xyangirktam phasaladkkbphasathiebtklangimsamarthekhaicknid aemwacamikarekhiynthithaythxdmacak miphuphudphasaladkinxinediy 200 000 khn aelaxaccamixikraw 12 000 khninthiebtthixyuphayitkarpkkhrxngkhxngcin saeniyngyxyhlaysaeniyng swnihyimmiwrrnyukt ykewnsaeniyngsottsktaelasaeniyngladkbnthimiwrrnyuktehmuxnphasathiebtklangphasaladkལ ད གས ས ད La dwags skadpraethsthimikarphudpraethsxinediy praethscinphumiphakhladkchatiphnthucanwnphuphud110 826 khn 2011 census trakulphasacin thiebt thiebt kaenariobdichthiebtphasaladkrabbkarekhiynxksrthiebtrhsphasaISO 639 3xyangidxyanghnung a href https iso639 3 sil org code lbj class extiw title iso639 3 lbj lbj a Ladakhi a href https iso639 3 sil org code zau class extiw title iso639 3 zau zau a xksrphasaladkekhiyndwyxksrthiebt odychawladkcaxxkesiyngtrngtamtwxksraelaxxkesiyngxupsrrkh pccy xksrnathimkcaimxxkesiynginphasathiebtsaeniyngxmod kham xucngaelalasa aenwonmkarxxkesiyngaebbni yngphbinphasabltixikdwy twxyangechn sta khwan phasathiebtxxkesiyngepn ta aetphasaladkyngxxkesiyngepn sta bras khaw phasathiebtxxkesiyngepn dre swnchawladkxxkesiyngepn dras karthxdepnxksrormnichwithikarediywkbphasahindixangxing Statement 1 Abstract of speakers strength of languages and mother tongues 2011 www censusindia gov in Office of the Registrar General amp Census Commissioner India subkhnemux 15 June 2020 aehlngkhxmulxunwikitaramitarainhwkhx Research on Tibetan Languages A Bibliography wikithxngethiyw miefrsbuksahrb Lakakhi A H Francke 1901 A Sketch of Ladakhi GrammarJournal of the Royal Asiatic Society of Bengal 70 1 29 krkdakhm 2013 thi ewyaebkaemchchinmikarthdsxb phasaladk khxngwikiphiediy thiwikimiediy xinkhiwebetxr