บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ หรือ อีเอ็ม (อังกฤษ: Effective Microorganisms: EM) เป็นเครื่องหมายการค้าของบริษัท EM Research Organization, Inc. สำนักงานใหญ่อยู่ที่โอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น โดยทั่วไป อีเอ็มหมายถึงส่วนผสมของเหลวที่มี (anaerobic organsims) อยู่อย่างน้อย 3 ชนิด
อีเอ็มเทคโนโลยี ใช้ส่วนผสมของจุลชีพที่เพาะจากห้องปฏิบัติการ ส่วนผสมหลักนั้นประกอบด้วย (Lactic acid bacteria), (purple bacteria) และ ยีสต์
ผู้ผลิตน้ำจุลินทรีย์แบบอีเอ็มหลายแห่งอ้างว่าจุลชีพเหล่านี้สามารถอยู่ร่วมกันได้และมีประโยชน์กับสภาพแวดล้อม จุลชีพเหล่านั้นได้แก่ Lactobacillus casei (แบคทีเรียกรดแลคติค), Rhodopseudomonas palustris (แบคทีเรียสังเคราะห์แสง), Saccharomyces cerevisiae (ยีสต์) และจุลชีพอื่นๆที่อยู่ในสภาพธรรมชาติของส่วนผสมอีเอ็ม
จุดกำเนิด
แนวคิดของจุลชีพที่เป็นมิตร มาจากศาสตราจารย์ เทรูโอะ ฮิกะ (Teruo Higa) จากมหาวิทยาลัยริวกิว (University of the Ryukyus, โอกินาวา, ประเทศญี่ปุ่น) ในช่วงทศวรรษ 1980 ฮิกะได้รายงานถึงส่วนผสมที่ได้จากการจัดหมู่ของจุลชีพต่างๆ ที่มีความสามารถในการช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุโดยมีผลดีกับกระบวนการต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ฮิกะได้เสนอทฤษฎีหลักที่ใช้อธิบายผลของอีเอ็มไว้ว่า จุลชีพ 3 กลุ่มสามารถอยู่ร่วมกันได้โดย จุลชีพเชิงบวก (positive microorganisms) ทำหน้าที่สร้าง, จุลชีพเชิงลบ (negative microorganisms) ทำหน้าที่ย่อยสลาย, และจุลชีพฉวยโอกาส (opportunist microorganisms) ในตัวกลางชนิดต่างๆ (ไม่ว่าจะเป็นดิน น้ำ อากาศ หรือ ลำไส้มนุษย์) อัตราส่วนของจุลชีพเชิงบวกต่อจุลชีพเชิงลบนั้นสำคัญมากเพราะว่าจุลชีพฉวยโอกาสจะทำตามแนวโน้มไม่ว่าจะเป็นการสร้างหรือย่อยสลาย ดังนั้นฮิกะเชื่อว่า เป็นไปได้ที่จะสร้างผลกระทบด้านดีได้โดยการเพิ่มจุลชีพเชิงบวกเข้าไป
การตรวจสอบ
หลักการของอีเอ็มที่ฮิกะยังเป็นที่ถกโต้แย้งกันอยู่ และยังไม่มีหลักฐานเชิงวิทยาศาสตร์สนับสนุน เรื่องนี้ฮิกะเองก็ยอมรับดังปรากฏในรายงานของเขา ในปี 1994 ที่ฮิกะเขียนร่วมกับนักจุลชีววิทยาธรณี เจมส์ เอฟ, พาร์ (James F. Parr) ที่สรุปว่า "ข้อจำกัดโดยหลัก...คือปัญหาในการทำซ้ำอีกครั้งโดยให้ได้ผลเหมือนเดิม"
พาร์กับฮิกะบอกว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำปฏิกิริยาของอีเอ็มกับจุลินทรีย์พื้นถิ่น คือ ค่า pH ของดิน, การโดนแสง, อุณหภูมิของดิน และการเกิดน้ำท่วม รวมถึงยังมีปัจจัยอื่นๆ อีก แนวคิดเชิงหลักการที่ฮิกะกับพาร์เสนอขึ้นมาคือ การรักษาค่า pH และอุณหภูมิของดินให้อยู่ภายในขอบเขตเงื่อนไขซึ่งรู้กันว่าจะสร้างความเสียหายแก่จุลชีพเชิงลบ เช่นกันกับการเพิ่มอีเอ็มลงไปเพื่อรักษาสมดุลระหว่างจุลชีพเชิงบวกกับเชิงลบ เพื่อให้จุลชีพเชิงบวกอยู่ต่อไปได้[]
ด้วยเหตุผลเหล่านี้ ผู้คิดค้นหลักของเทคโนโลยีนี้ (ฮิกะกับพาร์) ได้ตัดจุลชีพที่เป็นประโยชน์ที่เพาะลงไป ซึ่งเป็นจุลชีพเดี่ยวเพียงตัวเดียวซึ่งไม่ได้ประสิทธิผลขึ้นกับความไม่แน่นอนของสภาวะเงื่อนไขที่จุลชีพเดี่ยวจะสามารถก่อประสิทธิผลขึ้นได้ พวกเขาระบุว่า การรับรู้ทางวิทยาศาสตร์ในหมู่นักวิทยาศาสตร์ว่าจุลชีพหลายๆ ตัว (เช่นในกรณีของ ซึ่งฮิกะเป็นผู้คิดค้นและทำการตลาดเอง) ร่วมกันกับการจัดการดินที่ดี จะส่งผลทางบวกต่อจุลชีพในดินและการเจริญเติบโตของพืชพรรณได้ ทั้งสองร้องขอให้มีการทำวิจัยเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาข้อมูลเกี่ยวกับจุลชีพในดินและปฏิกิริยาของพวกมัน
มีงานวิจัยต่อๆ มาอีกหลายชิ้นที่ได้ทดสอบทฤษฎีของฮิกะ เช่น งานของ ลวินี (Myint Lwini) และระนามุกคาราชชี (S. L. Ranamukhaarachchi) ที่ศึกษาการใช้การควบคุมทางชีวภาพกับโรคเหี่ยวเฉาจากแบคทีเรีย และแสดงให้เห็นว่า การใช้อีเอ็ม และ ปุ๋ยหมักอีเอ็ม (EM Bokashi) เป็นตัวควบคุมชีวภาพ 2 ตัวที่มีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนั้นยังมีงานอื่นๆอีก เช่น ยามาดะและซูที่ศึกษาการใช้อีเอ็มในการทำปุ๋ยอินทรีย์, ฮุย-เลียน-ซูที่ศึกษาอีเอ็มกับการสังเคราะห์แสงและผลผลิตของข้าวโพดหวาน เป็นต้น
การใช้งานอีเอ็ม
อีเอ็มเทคโนโลยี นั้นถูกใช้ในกิจกรรมของการเกษตรและการดำเนินชีวิตตามแนวคิดหยั่งยืน และยังถูกอ้างถึง การช่วยให้สุขภาพของคนและสัตว์เลี้ยงดีขึ้น รวมถึงประโยชน์ในการจัดการกับของเสีย
อ้างอิง
- Szymanski, N.; Patterson, R.A. (2003). "Effective Microorganisms (EM) and Wastewater Systems in Future Directions for On-site Systems: Best Management Practice.". In R.A. and Jones, M.J. (Eds). (PDF). Proceedings of On-site ’03 Conference. Armidale, NSW, Australia: Lanfax Laboratories. pp. 347–354. . [1]. Retrieved 2006-11-14.
- Higa, Dr. Teruo (1994). (PDF). Beneficial and Effective Microorganisms for a Sustainable Agriculture and Environment. Atami, Japan: International Nature Farming Research Center. p. 7. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-11-11. สืบค้นเมื่อ 21 January 2008.
{{}}
:|archive-url=
missing title ((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - MYINT LWIN1 AND S.L. RANAMUKHAARACHCHI. Development of Biological Control of Ralstonia solanacearum Through Antagonistic Microbial Populations. International Journal of Agriculture & Biology. 8(5), 2006. Pp 657-660.
- Yamada, K and Xu, H. Properties and Applications of an Organic Fertilizer Inoculanted with Effective Microorganisms. Journal of Crop Production. 3(1) June 2001. Pp 255-268
- Xu, Hui-Lian. Effects of a Microbial Inoculant and Organic Fertilizers on the Growth, Photosynthesis and Yield of Sweet Corn. Journal of Crop Production. 3(1). June 2001. Pp 183-214.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchayineruxngnn oprdephimpharamietxr reason hrux talk lnginaemaebbniephuxxthibaypyhakhxngbthkhwamemuxwangaethkni ihphicarnaechuxmoyngkhakhxnikbokhrngkarwiki klumculinthriythimiprasiththiphaph hrux xiexm xngkvs Effective Microorganisms EM epnekhruxnghmaykarkhakhxngbristh EM Research Organization Inc sanknganihyxyuthioxkinawa praethsyipun odythwip xiexmhmaythungswnphsmkhxngehlwthimi anaerobic organsims xyuxyangnxy 3 chnid xiexmethkhonolyi ichswnphsmkhxngculchiphthiephaacakhxngptibtikar swnphsmhlknnprakxbdwy Lactic acid bacteria purple bacteria aela yist phuphlitnaculinthriyaebbxiexmhlayaehngxangwaculchiphehlanisamarthxyurwmknidaelamipraoychnkbsphaphaewdlxm culchiphehlannidaek Lactobacillus casei aebkhthieriykrdaelkhtikh Rhodopseudomonas palustris aebkhthieriysngekhraahaesng Saccharomyces cerevisiae yist aelaculchiphxunthixyuinsphaphthrrmchatikhxngswnphsmxiexmcudkaenidaenwkhidkhxngculchiphthiepnmitr macaksastracary ethruoxa hika Teruo Higa cakmhawithyalyriwkiw University of the Ryukyus oxkinawa praethsyipun inchwngthswrrs 1980 hikaidraynganthungswnphsmthiidcakkarcdhmukhxngculchiphtang thimikhwamsamarthinkarchwyyxyslayxinthriywtthuodymiphldikbkrabwnkartang khxngsingmichiwit hikaidesnxthvsdihlkthiichxthibayphlkhxngxiexmiwwa culchiph 3 klumsamarthxyurwmknidody culchiphechingbwk positive microorganisms thahnathisrang culchiphechinglb negative microorganisms thahnathiyxyslay aelaculchiphchwyoxkas opportunist microorganisms intwklangchnidtang imwacaepndin na xakas hrux laismnusy xtraswnkhxngculchiphechingbwktxculchiphechinglbnnsakhymakephraawaculchiphchwyoxkascathatamaenwonmimwacaepnkarsranghruxyxyslay dngnnhikaechuxwa epnipidthicasrangphlkrathbdandiidodykarephimculchiphechingbwkekhaipkartrwcsxbhlkkarkhxngxiexmthihikayngepnthithkotaeyngknxyu aelayngimmihlkthanechingwithyasastrsnbsnun eruxngnihikaexngkyxmrbdngpraktinrayngankhxngekha inpi 1994 thihikaekhiynrwmkbnkculchiwwithyathrni ecms exf phar James F Parr thisrupwa khxcakdodyhlk khuxpyhainkarthasaxikkhrngodyihidphlehmuxnedim pharkbhikabxkwa pccythisngphltxkarthaptikiriyakhxngxiexmkbculinthriyphunthin khux kha pH khxngdin karodnaesng xunhphumikhxngdin aelakarekidnathwm rwmthungyngmipccyxun xik aenwkhidechinghlkkarthihikakbpharesnxkhunmakhux karrksakha pH aelaxunhphumikhxngdinihxyuphayinkhxbekhtenguxnikhsungruknwacasrangkhwamesiyhayaekculchiphechinglb echnknkbkarephimxiexmlngipephuxrksasmdulrahwangculchiphechingbwkkbechinglb ephuxihculchiphechingbwkxyutxipid txngkarxangxing dwyehtuphlehlani phukhidkhnhlkkhxngethkhonolyini hikakbphar idtdculchiphthiepnpraoychnthiephaalngip sungepnculchiphediywephiyngtwediywsungimidprasiththiphlkhunkbkhwamimaennxnkhxngsphawaenguxnikhthiculchiphediywcasamarthkxprasiththiphlkhunid phwkekharabuwa karrbruthangwithyasastrinhmunkwithyasastrwaculchiphhlay tw echninkrnikhxng sunghikaepnphukhidkhnaelathakartladexng rwmknkbkarcdkardinthidi casngphlthangbwktxculchiphindinaelakarecriyetibotkhxngphuchphrrnid thngsxngrxngkhxihmikarthawicyephimetimephuxphthnakhxmulekiywkbculchiphindinaelaptikiriyakhxngphwkmn minganwicytx maxikhlaychinthiidthdsxbthvsdikhxnghika echn ngankhxng lwini Myint Lwini aelaranamukkharachchi S L Ranamukhaarachchi thisuksakarichkarkhwbkhumthangchiwphaphkborkhehiywechacakaebkhthieriy aelaaesdngihehnwa karichxiexm aela puyhmkxiexm EM Bokashi epntwkhwbkhumchiwphaph 2 twthimiprasiththiphaphsungsud nxkcaknnyngminganxunxik echn yamadaaelasuthisuksakarichxiexminkarthapuyxinthriy huy eliyn suthisuksaxiexmkbkarsngekhraahaesngaelaphlphlitkhxngkhawophdhwan epntnkarichnganxiexmxiexmethkhonolyi nnthukichinkickrrmkhxngkarekstraelakardaeninchiwittamaenwkhidhyngyun aelayngthukxangthung karchwyihsukhphaphkhxngkhnaelastweliyngdikhun rwmthungpraoychninkarcdkarkbkhxngesiyxangxingSzymanski N Patterson R A 2003 Effective Microorganisms EM and Wastewater Systems in Future Directions for On site Systems Best Management Practice In R A and Jones M J Eds PDF Proceedings of On site 03 Conference Armidale NSW Australia Lanfax Laboratories pp 347 354 ISBN 0 9579438 1 4 1 Retrieved 2006 11 14 Higa Dr Teruo 1994 PDF Beneficial and Effective Microorganisms for a Sustainable Agriculture and Environment Atami Japan International Nature Farming Research Center p 7 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 11 11 subkhnemux 21 January 2008 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite conference title aemaebb Cite conference cite conference a archive url missing title help imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help MYINT LWIN1 AND S L RANAMUKHAARACHCHI Development of Biological Control of Ralstonia solanacearum Through Antagonistic Microbial Populations International Journal of Agriculture amp Biology 8 5 2006 Pp 657 660 Yamada K and Xu H Properties and Applications of an Organic Fertilizer Inoculanted with Effective Microorganisms Journal of Crop Production 3 1 June 2001 Pp 255 268 Xu Hui Lian Effects of a Microbial Inoculant and Organic Fertilizers on the Growth Photosynthesis and Yield of Sweet Corn Journal of Crop Production 3 1 June 2001 Pp 183 214 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk