ในทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ น้ำหนัก หมายถึงบนวัตถุอันเนื่องมาจากความโน้มถ่วง ขนาดของน้ำหนักในปริมาณสเกลาร์ มักเขียนแทนด้วย W แบบตัวเอน คือผลคูณของมวลของวัตถุ m กับขนาดของ g นั่นคือ W = mg ถ้าหากพิจารณาน้ำหนักว่าเป็นเวกเตอร์ จะเขียนแทนด้วย W แบบตัวหนา หน่วยวัดของน้ำหนักใช้อย่างเดียวกันกับหน่วยวัดของแรง ซึ่งหน่วยเอสไอก็คือนิวตัน ยกตัวอย่าง วัตถุหนึ่งมีมวลเท่ากับ 1 กิโลกรัม มีน้ำหนักประมาณ 9.8 นิวตันบนพื้นผิวโลก มีน้ำหนักประมาณหนึ่งในหกเท่าบนพื้นผิวดวงจันทร์ และมีน้ำหนักที่เกือบจะเป็นศูนย์ในห้วงอวกาศที่ไกลออกไปจากเทห์ฟ้าอันจะส่งผลให้เกิดความโน้มถ่วง
ในทางนิติศาสตร์และการพาณิชย์ น้ำหนัก มีความหมายเดียวกันกับมวล ดังเช่นที่ปรากฏบนฉลากบรรจุภัณฑ์และข้อมูลโภชนาการ การใช้ในชีวิตประจำวันทั่วไป มักจะถือว่าน้ำหนักก็หมายถึงมวล และใช้หน่วยวัดของมวลเป็นหน่วยวัดของน้ำหนัก ด้วยเหตุว่า ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงบนพื้นผิวโลกแทบจะเป็นค่าคงตัว หมายความว่า อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของวัตถุนิ่งบนพื้นผิวโลกต่อมวลของวัตถุนั้น แทบจะเป็นอิสระจากตำแหน่งที่วัตถุนั้นตั้งอยู่บนพื้นผิวโลก ดังนั้นน้ำหนักของวัตถุบนพื้นผิวโลกจึงเป็นตัวแทนของมวลได้โดยอนุโลม
ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ และดวงจันทร์
ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ และดวงจันทร์ โดยคิดเทียบกับความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก
เทห์ฟ้า | จำนวนเท่า เมื่อเทียบกับโลก | ความโน้มถ่วงพื้นผิว (m/s²) |
---|---|---|
ดวงอาทิตย์ | 27.90 | 274.1 |
ดาวพุธ | 0.3770 | 3.703 |
ดาวศุกร์ | 0.9032 | 8.872 |
โลก | 1 (ตามนิยาม) | 9.8226 |
ดวงจันทร์ | 0.1655 | 1.625 |
ดาวอังคาร | 0.3895 | 3.728 |
ดาวพฤหัสบดี | 2.640 | 25.93 |
ดาวเสาร์ | 1.139 | 11.19 |
ดาวยูเรนัส | 0.917 | 9.01 |
ดาวเนปจูน | 1.148 | 11.28 |
อ้างอิง
- Richard C. Morrison (1999). "Weight and gravity - the need for consistent definitions". . 37: 51. Bibcode:1999PhTea..37...51M. doi:10.1119/1.880152.
- Igal Galili (2001). "Weight versus gravitational force: historical and educational perspectives". International Journal of Science Education. 23: 1073. Bibcode:2001IJSEd..23.1073G. doi:10.1080/09500690110038585.
- Gat, Uri (1988). "The weight of mass and the mess of weight". ใน Richard Alan Strehlow (บ.ก.). Standardization of Technical Terminology: Principles and Practice – second volume. . pp. 45–48. ISBN .
- The National Standard of Canada, CAN/CSA-Z234.1-89 Canadian Metric Practice Guide, January 1989:
- 5.7.3 Considerable confusion exists in the use of the term "weight." In commercial and everyday use, the term "weight" nearly always means mass. In science and technology "weight" has primarily meant a force due to gravity. In scientific and technical work, the term "weight" should be replaced by the term "mass" or "force," depending on the application.
- 5.7.4 The use of the verb "to weigh" meaning "to determine the mass of," e.g., "I weighed this object and determined its mass to be 5 kg," is correct.
- ค่านี้ปราศจากการปรับแก้จากแรงหนีศูนย์กลางอันเนื่องมาจากการหมุนของโลก จึงทำให้มีค่ามากกว่า 9.806 m/s²
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangwithyasastraelawiswkrrmsastr nahnk hmaythungbnwtthuxnenuxngmacakkhwamonmthwng khnadkhxngnahnkinprimanseklar mkekhiynaethndwy W aebbtwexn khuxphlkhunkhxngmwlkhxngwtthu m kbkhnadkhxng g nnkhux W mg thahakphicarnanahnkwaepnewketxr caekhiynaethndwy W aebbtwhna hnwywdkhxngnahnkichxyangediywknkbhnwywdkhxngaerng sunghnwyexsixkkhuxniwtn yktwxyang wtthuhnungmimwlethakb 1 kiolkrm minahnkpraman 9 8 niwtnbnphunphiwolk minahnkpramanhnunginhkethabnphunphiwdwngcnthr aelaminahnkthiekuxbcaepnsunyinhwngxwkasthiiklxxkipcakethhfaxncasngphlihekidkhwamonmthwngepnekhruxngmuxchnidhnungthiichwdkhnadkhxngnahnk inthangnitisastraelakarphanichy nahnk mikhwamhmayediywknkbmwl dngechnthipraktbnchlakbrrcuphnthaelakhxmulophchnakar karichinchiwitpracawnthwip mkcathuxwanahnkkhmaythungmwl aelaichhnwywdkhxngmwlepnhnwywdkhxngnahnk dwyehtuwa khwamerngenuxngcakkhwamonmthwngbnphunphiwolkaethbcaepnkhakhngtw hmaykhwamwa xtraswnrahwangnahnkkhxngwtthuningbnphunphiwolktxmwlkhxngwtthunn aethbcaepnxisracaktaaehnngthiwtthunntngxyubnphunphiwolk dngnnnahnkkhxngwtthubnphunphiwolkcungepntwaethnkhxngmwlidodyxnuolmkhwamerngenuxngcakkhwamonmthwngkhxngdawekhraah aeladwngcnthrkhwamerngenuxngcakkhwamonmthwngkhxngdawekhraah aeladwngcnthr odykhidethiybkbkhwamerngenuxngcakkhwamonmthwngkhxngolk ethhfa canwnetha emuxethiybkbolk khwamonmthwngphunphiw m s dwngxathity 27 90 274 1dawphuth 0 3770 3 703dawsukr 0 9032 8 872olk 1 tamniyam 9 8226dwngcnthr 0 1655 1 625dawxngkhar 0 3895 3 728dawphvhsbdi 2 640 25 93dawesar 1 139 11 19dawyuerns 0 917 9 01dawenpcun 1 148 11 28xangxingRichard C Morrison 1999 Weight and gravity the need for consistent definitions 37 51 Bibcode 1999PhTea 37 51M doi 10 1119 1 880152 Igal Galili 2001 Weight versus gravitational force historical and educational perspectives International Journal of Science Education 23 1073 Bibcode 2001IJSEd 23 1073G doi 10 1080 09500690110038585 Gat Uri 1988 The weight of mass and the mess of weight in Richard Alan Strehlow b k Standardization of Technical Terminology Principles and Practice second volume pp 45 48 ISBN 978 0 8031 1183 7 The National Standard of Canada CAN CSA Z234 1 89 Canadian Metric Practice Guide January 1989 5 7 3 Considerable confusion exists in the use of the term weight In commercial and everyday use the term weight nearly always means mass In science and technology weight has primarily meant a force due to gravity In scientific and technical work the term weight should be replaced by the term mass or force depending on the application 5 7 4 The use of the verb to weigh meaning to determine the mass of e g I weighed this object and determined its mass to be 5 kg is correct khaniprascakkarprbaekcakaernghnisunyklangxnenuxngmacakkarhmunkhxngolk cungthaihmikhamakkwa 9 806 m s