บทความนี้ไม่มีจาก |
ในคณิตศาสตร์และคณิตตรรกศาสตร์ พีชคณิตแบบบูล (หรือเรียกชื่ออื่นว่า พีชคณิตบูลเลียน หรือ แลตทิซแบบบูล) (อังกฤษ: Boolean algebra) คือโครงสร้างเชิงพีชคณิตซึ่งเป็นการรวบรวมแก่นความหมายของการดำเนินการทางตรรกศาสตร์และทฤษฎีเซต โดยชื่อพีชคณิตแบบบูลนั้นตั้งตามจอร์จ บูล ผู้พัฒนาพีชคณิตแบบนี้
พีชคณิตบูลีนเป็นสาขาของพีชคณิตซึ่งค่าของตัวแปรคือค่าความจริง จริงและเท็จ โดยปกติจะแสดงเป็น 1 และ 0 ตามลำดับ แต่ต่างจากพีชคณิตขั้นพื้นฐาน ที่ค่าของตัวแปรเป็นตัวเลขและการดำเนินการเฉพาะคือการบวกและการคูณ การดำเนินการหลักของพีชคณิตบูลีน (ตัวดำเนินการตรรกะ) คือ การรวม (และ) แสดงเป็น ∧ การไม่แยก (หรือ) แสดงเป็น ∨ และการปฏิเสธ (ไม่) แสดงเป็น ¬ เป็นวิธีการทางคณิตศาสตร์สำหรับอธิบายการดำเนินการเชิงตรรกะ ในลักษณะเดียวกับที่พีชคณิตขั้นพื้นฐานที่ใช้อธิบายการดำเนินการเชิงตัวเลข
พีชคณิตแบบบูล คิดค้นขึ้นโดย จอร์จ บูล (George Boole) ในหนังสือเล่มแรกของเขาเรื่อง The Mathematical Analysis of Logic (ค.ศ.1847) และมีเนื้อหาครบถ้วนมากขึ้นใน An Investigation of the Laws of Thought (ค.ศ.1854) พีชคณิตบูลีนเป็นหลักคณิตศาสตร์พื้นฐานในการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล และ ใช้ประยุกต์ในการเขียนภาษาโปรแกรมสมัยใหม่ทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีการใช้พีชคณิตแบบบูลในทฤษฎีเซตและสถิติศาสตร์
ประวัติ
จอร์จ บูล นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่มหาวิทยาลัย College Cork ผู้ที่นิยามพีชคณิตดังกล่าวขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางตรรกศาสตร์ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 พีชคณิตแบบบูลนำเทคนิคทางพีชคณิตมาใช้กับนิพจน์ในตรรกศาสตร์เชิงประพจน์ ในปัจจุบันพีชคณิตแบบบูลได้ถูกนำไปประยุกต์อย่างแพร่หลายในการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่นำไปใช้คนแรกคือคลาวด์ อี. แชนนอน นักวิทยาศาสตร์แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratory) ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยนำมาใช้ในการวิเคราะห์วงจรเน็ตเวิร์กที่ทำงานต่อกันหลาย ๆ ภาค เช่น วงจรของโทรศัพท์ เป็นต้น เมื่อมีการพัฒนาวงจร คอมพิวเตอร์ขึ้นก็ได้มีการนำเอาพีชคณิตบูลีนมาใช้ในการคำนวณ ออกแบบ และอธิบายสภาวะการทำงานของสถานะวงจรภายในระบบคอมพิวเตอร์ โดยพีชคณิตบูลีนเป็นพื้นฐานสำคัญในการออกแบบวงจรตรรกของระบบดิจิทัล
นิยาม
พีชคณิตแบบบูล คือ เซต A ที่ประกอบด้วยการดำเนินการทวิภาค คือ (AND) กับ (OR) , การดำเนินการเอกภาค คือ / ~ (NOT) และสมาชิกคือ 0 (FALSE) กับ 1 (TRUE) ซึ่งสำหรับสมาชิก a, b และ c ของเซต A จะมีคุณสมบัติเป็นไปตามสัจพจน์เหล่านี้
สมบัติของ | สมบัติของ | ชื่อเรียก |
---|---|---|
absorption | ||
การแจกแจง | ||
ส่วนเติมเต็ม |
สำหรับสมาชิก a และ b ใน A มันจะมีเอกลักษณ์ดังต่อไปนี้
สมบัติของ | สมบัติของ | ชื่อเรียก |
---|---|---|
นิจพล (idempotency) | ||
(boundedness) | ||
0 และ 1 เป็นส่วนเติมเต็มกัน | ||
กฎเดอมอร์แกน (de Morgan's laws) | ||
(involution) |
ตัวดำเนินการของบูลในรูปแบบต่างๆ
ตรรกศาสตร์ | ทฤษฏีเซต | วงจรดิจิทัล |
---|---|---|
() | ||
(เซตว่าง) | ||
การนำไปใช้
- เรานำพีชคณิตแบบบูลไปใช้ในตรรกศาสตร์ได้ โดยตีความให้ 0 หมายถึง เท็จ, 1 หมายถึง จริง, ∧ แทนคำว่า และ, ∨ แทนคำว่า หรือ, และ ¬ แทนคำว่า ไม่
- พีชคณิตแบบบูลที่มีสมาชิก 2 ตัวนั้น นำไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบวงจรไฟฟ้าในงานวิศวกรรมไฟฟ้าได้ โดย 0 และ 1 แทนสถานะที่แตกต่างกันของบิตใน นั่นก็คือสถานะศักย์ไฟฟ้าสูงและต่ำ
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir inkhnitsastraelakhnittrrksastr phichkhnitaebbbul hruxeriykchuxxunwa phichkhnitbuleliyn hrux aeltthisaebbbul xngkvs Boolean algebra khuxokhrngsrangechingphichkhnitsungepnkarrwbrwmaeknkhwamhmaykhxngkardaeninkarthangtrrksastraelathvsdiest odychuxphichkhnitaebbbulnntngtamcxrc bul phuphthnaphichkhnitaebbni phichkhnitbulinepnsakhakhxngphichkhnitsungkhakhxngtwaeprkhuxkhakhwamcring cringaelaethc odypkticaaesdngepn 1 aela 0 tamladb aettangcakphichkhnitkhnphunthan thikhakhxngtwaeprepntwelkhaelakardaeninkarechphaakhuxkarbwkaelakarkhun kardaeninkarhlkkhxngphichkhnitbulin twdaeninkartrrka khux karrwm aela aesdngepn karimaeyk hrux aesdngepn aelakarptiesth im aesdngepn epnwithikarthangkhnitsastrsahrbxthibaykardaeninkarechingtrrka inlksnaediywkbthiphichkhnitkhnphunthanthiichxthibaykardaeninkarechingtwelkh phichkhnitaebbbul khidkhnkhunody cxrc bul George Boole inhnngsuxelmaerkkhxngekhaeruxng The Mathematical Analysis of Logic kh s 1847 aelamienuxhakhrbthwnmakkhunin An Investigation of the Laws of Thought kh s 1854 phichkhnitbulinepnhlkkhnitsastrphunthaninkarphthnaxupkrnxielkthrxniksdicithl aela ichprayuktinkarekhiynphasaopraekrmsmyihmthnghmd nxkcakniyngmikarichphichkhnitaebbbulinthvsdiestaelasthitisastrprawticxrc bul nkkhnitsastrchawxngkvs thimhawithyaly College Cork phuthiniyamphichkhnitdngklawkhunmaephuxepnswnhnungkhxngrabbthangtrrksastrinklangkhriststwrrsthi 19 phichkhnitaebbbulnaethkhnikhthangphichkhnitmaichkbniphcnintrrksastrechingpraphcn inpccubnphichkhnitaebbbulidthuknaipprayuktxyangaephrhlayinkarxxkaebbthangxielkthrxniks phuthinaipichkhnaerkkhuxkhlawd xi aechnnxn nkwithyasastraehnghxngthdlxngebll Bell Laboratory inkhriststwrrsthi 20 odynamaichinkarwiekhraahwngcrentewirkthithangantxknhlay phakh echn wngcrkhxngothrsphth epntn emuxmikarphthnawngcr khxmphiwetxrkhunkidmikarnaexaphichkhnitbulinmaichinkarkhanwn xxkaebb aelaxthibaysphawakarthangankhxngsthanawngcrphayinrabbkhxmphiwetxr odyphichkhnitbulinepnphunthansakhyinkarxxkaebbwngcrtrrkkhxngrabbdicithlniyamphichkhnitaebbbul khux est A thiprakxbdwykardaeninkarthwiphakh khux displaystyle land AND kb displaystyle lor OR kardaeninkarexkphakh khux displaystyle lnot NOT aelasmachikkhux 0 FALSE kb 1 TRUE sungsahrbsmachik a b aela c khxngest A camikhunsmbtiepniptamscphcnehlani smbtikhxng displaystyle lor smbtikhxng displaystyle land chuxeriyka b c a b c displaystyle a lor b lor c a lor b lor c a b c a b c displaystyle a land b land c a land b land c a b b a displaystyle a lor b b lor a a b b a displaystyle a land b b land a a a b a displaystyle a lor a land b a a a b a displaystyle a land a lor b a absorptiona b c a b a c displaystyle a lor b land c a lor b land a lor c a b c a b a c displaystyle a land b lor c a land b lor a land c karaeckaecnga a 1 displaystyle a lor lnot a 1 a a 0 displaystyle a land lnot a 0 swnetimetm sahrbsmachik a aela b in A mncamiexklksndngtxipni smbtikhxng displaystyle lor smbtikhxng displaystyle land chuxeriyka a a displaystyle a lor a a a a a displaystyle a land a a nicphl idempotency a 0 a displaystyle a lor 0 a a 1 a displaystyle a land 1 a boundedness a 1 1 displaystyle a lor 1 1 a 0 0 displaystyle a land 0 0 0 1 displaystyle lnot 0 1 1 0 displaystyle lnot 1 0 0 aela 1 epnswnetimetmkn a b a b displaystyle lnot a lor b lnot a land lnot b a b a b displaystyle lnot a land b lnot a lor lnot b kdedxmxraekn de Morgan s laws a a displaystyle lnot lnot a a involution twdaeninkarkhxngbulinrupaebbtangtwdaeninkarkhxngbultrrksastr thvstiest wngcrdicithltrue displaystyle true U displaystyle U 1 displaystyle 1 false displaystyle false displaystyle emptyset estwang 0 displaystyle 0 displaystyle lor displaystyle cup displaystyle displaystyle land displaystyle cap displaystyle cdot karnaipicheranaphichkhnitaebbbulipichintrrksastrid odytikhwamih 0 hmaythung ethc 1 hmaythung cring aethnkhawa aela aethnkhawa hrux aela aethnkhawa im phichkhnitaebbbulthimismachik 2 twnn naipichpraoychninkarxxkaebbwngcriffainnganwiswkrrmiffaid ody 0 aela 1 aethnsthanathiaetktangknkhxngbitin nnkkhuxsthanaskyiffasungaelataxangxingGivant Steven 2009 Introduction to Boolean Algebras Undergraduate Texts in Mathematics ISBN 978 0 387 40293 2 2003 1854 An Investigation of the Laws of Thought Prometheus Books ISBN 978 1 59102 089 9 Givant Steven 2009 Introduction to Boolean Algebras Undergraduate Texts in Mathematics ISBN 978 0 387 40293 2