วัคซีนซับยูนิต (อังกฤษ: subunit vaccine) เป็นวัคซีนที่ทำด้วยส่วนประกอบของเชื้อโรคที่ทำให้ภูมิคุ้มกันตอบสนอง (คือมีสภาพเป็นแอนติเจนได้) วัคซีนซับยูนิตไม่ได้ใช้เชื้อโรคทั้งตัวซึ่งไม่เหมือนกับวัคซีนเชื้อลดฤทธิ์ (attenuated vaccine) หรือวัคซีนเชื้อตาย (inactivated vaccine) แต่ใช้เพียงส่วนของเชื้อโรคซึ่งทำให้ภูมิคุ้มกันตอบสนอง ส่วนต่าง ๆ เช่น โปรตีน พอลิแซ็กคาไรด์ หรือเพปไทด์ เพราะวัคซีนไม่มีส่วนที่ "ยังมีชีวิต" อยู่ของเชื้อโรค จึงไม่เสี่ยงก่อโรค ปลอดภัย และคงสภาพได้ดีกว่าวัคซีนที่ใช้เชื้อโรคทั้งตัว (เช่น วัคซีนเชื้อลดฤทธิ์และวัคซีนเชื้อตาย) ข้อดีอื่น ๆ รวมทั้งเป็นเทคโนโลยีที่ได้ใช้มานานแล้วและเหมาะใช้กับบุคคลที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ข้อเสียรวมทั้งการผลิตซับซ้อนกว่าวัคซีนบางชนิด (เช่น วัคซีนอาร์เอ็นเอ) อาจต้องเติมยาเสริม (adjuvant) หรืออาจจะต้องให้วัคซีนบูสต์ และต้องหาส่วนประกอบผสมจากเชื้อโรคเพื่อให้ก่อภูมิคุ้มกันได้ดีสุด
กลไก
วัคซีนซับยูนิตมีส่วนประกอบจากเชื้อโรค เช่น โปรตีนหรือพอลิแซ็กคาไรด์ โดยต้องเลือกส่วนประกอบผสมมาอย่างดีเพื่อก่อภูมิคุ้มกันที่ดีและสามารถกันโรคได้ เพราะภูมิคุ้มกันมีปฏิสัมพันธ์อย่างจำกัดกับเชื้อโรค โอกาสเสี่ยงผลข้างเคียงจึงน้อยกว่า วัคซีนที่มีประสิทธิภาพย่อมก่อการตอบสนองของภูมิคุ้มกันต่อเชื้อโรคและทำให้ระบบภูมิคุ้มกันจำโรคได้ ดังนั้น เมื่อติดโรคในอนาคต ก็จะทำให้ตอบสนองต่อเชื้อโรคได้อย่างรวดเร็ว
ข้อเสียอย่างหนึ่งก็คือส่วนประกอบของเชื้อโรคที่มีสภาพเป็นแอนติเจนอาจไม่มีรูปแบบทางโมเลกุลของเชื้อโรค (pathogen-associated molecular pattern) ซึ่งสามัญในเชื้อโรคกลุ่มหนึ่ง เป็นโครงสร้างที่เซลล์ภูมิคุ้มกันจัดว่าเป็นสัญญาณอันตราย ดังนั้น เมื่อไม่มี การตอบสนองของภูมิคุ้มกันจึงอ่อนกว่า ข้อเสียอีกอย่างก็คือ แอนติเจนเหล่านี้ไม่ทำให้เซลล์ติดเชื้อ ดังนั้น ภูมิคุ้มกันที่ก่อจึงอาจเกิดเพียงในน้ำเหลือง คือก่อแอนติบอดี แต่ไม่ก่อการตอบสนองของเซลล์ ภูมิจึงอาจอ่อนกว่าที่วัคซีนชนิดอื่น ๆ ทำให้เกิด เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกัน จึงอาจต้องเติมยาเสริม (adjuvant) หรือต้องให้วัคซีนบูสต์ (booster dose)
ชนิด
ชนิด | ความย่อ | ตัวอย่าง |
---|---|---|
โปรตีนซับยูนิต | มีโปรตีนโดยเฉพาะ ๆ จากเชื้อโรค (ไวรัสหรือแบคทีเรีย) | วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนป้องกันโรคไอกรน |
พอลิแซ็กคาไรด์ | มีโซ่พอลิแซ็กคาไรด์ (โมเลกุลน้ำตาล) จากแคปซูลหุ้มเชื้อโรค เช่น ผนังเซลล์ของแบคทีเรียบางชนิด | วัคซีนพอลิแซ็กคาไรด์สำหรับโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส, วัคซีนไข้กาฬหลังแอ่นซึ่งป้องกันโรคจากแบคทีเรีย Neisseria meningitidis กลุ่ม A, C, W-135, แล Y |
คอนจูเกต | มีโซ่พอลิแซ็กคาไรด์ซึ่งเชื่อมกับโปรตีนพาหะ (carrier protein) เช่น ทอกซอยด์ของเชื้อโรคคอตีบหรือของเชื้อโรคบาดทะยัก เพื่อเพิ่มการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน | วัคซีนคอนจูเกตสำหรับโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส, วัคซีนคอนจูเกตสำหรับเชื้อฮีโมฟิลุส อินฟลูเอนซา ชนิดบี, วัคซีนคอนจูเกตสำหรับไข้กาฬหลังแอ่น |
ข้อดี
- วัคซีนไม่เสี่ยงก่อโรคที่มุ่งจะป้องกัน
- ปลอดภัยสำหรับผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
- คงสภาพได้ดีในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ (เช่น ทนอุณหภูมิต่าง ๆ ทนแสง ทนความชื้น)
ข้อเสีย
- ก่อภูมิคุ้มกันน้อยกว่าเทียบกับวัคซีนเชื้อลดฤทธิ์
- จึงอาจต้องเติมยาเสริม
- มักต้องให้วัคซีนหลายครั้งเพื่อให้มีภูมิคุ้มกันในระยะยาว
- ไม่ง่ายในการแยกหาส่วนผสมแอนติเจนโดยเฉพาะ ๆ เพื่อก่อภูมิคุ้มกันที่ได้ผล
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "Module 2 - Subunit vaccines". WHO Vaccine Safety Basics e-learning course. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-08.
- "What are protein subunit vaccines and how could they be used against COVID-19?". GAVI. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-17.
- Baxter, D (December 2007). "Active and passive immunity, vaccine types, excipients and licensing". Occupational Medicine. 57 (8): 552–56. doi:10.1093/occmed/kqm110. PMID 18045976.
- Moyle, PM; Toth, I (March 2013). "Modern subunit vaccines: development, components, and research opportunities". ChemMedChem. 8 (3): 360–76. doi:10.1002/cmdc.201200487. PMID 23316023. S2CID 205647062.
- Vartak, A; Sucheck, SJ (April 2016). "Recent Advances in Subunit Vaccine Carriers". Vaccines. 4 (2): 12. doi:10.3390/vaccines4020012. PMC 4931629. PMID 27104575.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wkhsinsbyunit xngkvs subunit vaccine epnwkhsinthithadwyswnprakxbkhxngechuxorkhthithaihphumikhumkntxbsnxng khuxmisphaphepnaexntiecnid wkhsinsbyunitimidichechuxorkhthngtwsungimehmuxnkbwkhsinechuxldvththi attenuated vaccine hruxwkhsinechuxtay inactivated vaccine aetichephiyngswnkhxngechuxorkhsungthaihphumikhumkntxbsnxng swntang echn oprtin phxliaeskkhaird hruxephpithd ephraawkhsinimmiswnthi yngmichiwit xyukhxngechuxorkh cungimesiyngkxorkh plxdphy aelakhngsphaphiddikwawkhsinthiichechuxorkhthngtw echn wkhsinechuxldvththiaelawkhsinechuxtay khxdixun rwmthngepnethkhonolyithiidichmananaelwaelaehmaaichkbbukhkhlthimiphumikhumknbkphrxng khxesiyrwmthngkarphlitsbsxnkwawkhsinbangchnid echn wkhsinxarexnex xactxngetimyaesrim adjuvant hruxxaccatxngihwkhsinbust aelatxnghaswnprakxbphsmcakechuxorkhephuxihkxphumikhumkniddisudklikwkhsinsbyunitmiswnprakxbcakechuxorkh echn oprtinhruxphxliaeskkhaird odytxngeluxkswnprakxbphsmmaxyangdiephuxkxphumikhumknthidiaelasamarthknorkhid ephraaphumikhumknmiptismphnth xyangcakdkbechuxorkh oxkasesiyngphlkhangekhiyngcungnxykwa wkhsinthimiprasiththiphaphyxmkxkartxbsnxngkhxngphumikhumkntxechuxorkhaelathaihrabbphumikhumkncaorkhid dngnn emuxtidorkhinxnakht kcathaihtxbsnxngtxechuxorkhidxyangrwderw khxesiyxyanghnungkkhuxswnprakxbkhxngechuxorkhthimisphaphepnaexntiecnxacimmirupaebbthangomelkulkhxngechuxorkh pathogen associated molecular pattern sungsamyinechuxorkhklumhnung epnokhrngsrang thiesllphumikhumkncdwaepnsyyanxntray dngnn emuximmi kartxbsnxngkhxngphumikhumkncungxxnkwa khxesiyxikxyangkkhux aexntiecnehlaniimthaiheslltidechux dngnn phumikhumknthikxcungxacekidephiynginnaehluxng khuxkxaexntibxdi aetimkxkartxbsnxngkhxngesll phumicungxacxxnkwathiwkhsinchnidxun thaihekid ephuxephimphumikhumkn cungxactxngetimyaesrim adjuvant hruxtxngihwkhsinbust booster dose chnidkhwamyxekiywkbwkhsinsbyunitchnidtang chnid khwamyx twxyangoprtinsbyunit mioprtinodyechphaa cakechuxorkh iwrshruxaebkhthieriy wkhsintbxkesbbi wkhsinpxngknorkhixkrnphxliaeskkhaird miosphxliaeskkhaird omelkulnatal cakaekhpsulhumechuxorkh echn phnngesllkhxngaebkhthieriybangchnid wkhsinphxliaeskkhairdsahrborkhtidechuxniwomkhxkhkhs wkhsinikhkalhlngaexnsungpxngknorkhcakaebkhthieriy Neisseria meningitidis klum A C W 135 ael Ykhxncuekt miosphxliaeskkhairdsungechuxmkboprtinphaha carrier protein echn thxksxydkhxngechuxorkhkhxtibhruxkhxngechuxorkhbadthayk ephuxephimkartxbsnxngkhxngphumikhumkn wkhsinkhxncuektsahrborkhtidechuxniwomkhxkhkhs wkhsinkhxncuektsahrbechuxhiomfilus xinfluexnsa chnidbi wkhsinkhxncuektsahrbikhkalhlngaexnkhxdiwkhsinimesiyngkxorkhthimungcapxngkn plxdphysahrbphumiphumikhumknbkphrxng khngsphaphiddiinsingaewdlxmtang echn thnxunhphumitang thnaesng thnkhwamchun khxesiykxphumikhumknnxykwaethiybkbwkhsinechuxldvththicungxactxngetimyaesrim mktxngihwkhsinhlaykhrngephuxihmiphumikhumkninrayayaw imngayinkaraeykhaswnphsmaexntiecnodyechphaa ephuxkxphumikhumknthiidphlechingxrrthaelaxangxing Module 2 Subunit vaccines WHO Vaccine Safety Basics e learning course cakaehlngedimemux 2021 08 08 What are protein subunit vaccines and how could they be used against COVID 19 GAVI cakaehlngedimemux 2021 08 17 Baxter D December 2007 Active and passive immunity vaccine types excipients and licensing Occupational Medicine 57 8 552 56 doi 10 1093 occmed kqm110 PMID 18045976 Moyle PM Toth I March 2013 Modern subunit vaccines development components and research opportunities ChemMedChem 8 3 360 76 doi 10 1002 cmdc 201200487 PMID 23316023 S2CID 205647062 Vartak A Sucheck SJ April 2016 Recent Advances in Subunit Vaccine Carriers Vaccines 4 2 12 doi 10 3390 vaccines4020012 PMC 4931629 PMID 27104575 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk