เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูประกอบ |
ดาวเนปจูนมีดาวบริวารเป็นที่รู้จักกันทั้งหมดสิบสี่ดวงโดยดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดคือดาวบริวารไทรทัน, ค้นพบโดย เมื่อ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1846 เพียง 17 วันหลังจากการค้นพบดาวเนปจูน กว่าศตวรรษผ่านไปจึงมีการค้นพบดาวบริวารดวงที่สองมีชื่อเรียกว่า ดาวบริวารของดาวเนปจูนเป็นชื่อของเทพแห่งน้ำในตำนานเทพเจ้ากรีก
การค้นพบและชื่อ
การค้นพบ
ไทรทันถูกค้นพบโดย เมื่อ ปี 1846 หลังจากที่ค้นพบดาวเนปจูนไปเพียง 17 วันเท่านั้น ต่อมา นีรีด ก็ถูกค้นพบโดยเจอราร์ด ไคเปอร์ใน ปี 1949 ดาวบริวารดวงที่สามซึ่งภายหลังให้ชื่อว่า ลาริสซา ได้ถูกค้นพบโดย แฮโรลด์ เจ. ไรต์เซมา, วิลเลียม บี. ฮับบาร์ด, แลร์รี่ เอ. เลบอฟสกี้ และ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 1981 เหล่านักดาราศาสตร์ได้ค้นพบดาวบริวารจากการสังเกตดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ดาวเนปจูน ซึ่งคล้ายวงแหวนที่อยู่รอบดาวยูเรนัสที่จะค้นพบใน 4 ปีถัดมา วงแหวนในปัจจุบันทำให้ดาวฤกษ์ที่เคลื่อนเข้าใกล้ดาวเนปจูนมีแสงสว่างลดน้อยลงไปก่อนที่จะเคลื่อนเข้าใกล้ดาวเคราะห์ ความสว่างของดาวฤกษ์เหล่านั้นลดน้อยลงไปเป็นเวลาหลายวินาทีซึ่งหมายความว่าวัตถุที่ทำให้แสงสว่างของดาวฤกษ์ลดน้อยลงเป็นดาวบริวารมากกว่าที่จะเป็นวงแหวนของดาวเนปจูน
หลังจากนั้นก็ไม่มีการค้นพบดาวบริวารของดาวเนปจูนจนกระทั่งยานวอยเอจเจอร์ 2 ได้เคลื่อนเข้าใกล้ดาวเนปจูนในปี 1989 วอยเอจเจอร์ 2 ได้สำรวจบริเวณของลาริสซา แล้วก็ค้นพบดาวบริวารชั้นในอีก 5 ดวง ได้แก่ เนแอด, , , และ ต่อมาในปี 2002 - 2003 ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินขนาดใหญ่สำรวจดาวเนปจูนแล้วในที่สุดก็ค้นพบดาวบริวารชั้นนอกทั้ง 5 ดวง ได้แก่ , , , และ ทำให้จำนวนดาวบริวารของดาวเนปจูนเป็น 13 ดวง
ในวันที่ พ.ศ. 2556 ได้มีการค้นพบดาวบริวารดวงที่ 14 ซึ่งเคยปรากฏเมื่อปี พ.ศ. 2547 - 2551 ในภาพที่ถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล มันอยู่ในตำแหน่งระหว่าง ลาริสซาและโพรเทียสและคาดว่าจะมีเส้นผ่านศูนยืกลาง 16 -20 กิโลเมตร ซึ่งผู้ค้นพบคือ และคณะ และได้ให้ชื่อว่า
ชื่อ
ไทรทันไม่ได้มีชื่อเป็นทางการมาจนกระทั่งศตวรรษที่ 20 ชื่อ ไทรทัน ได้ถูกเสนอโดย ในหนังสือ Astronomie Populaire ของเขาเมื่อปี 1880 but it did not come into common use until at least the 1930s. แต่ชื่อนี้ก็ไม่ได้รับการยอมรับให้ใช้ทั่วไปจนปี 1990 ในเวลานี้เหล่าดาวบริวารได้รู้จักในรูปแบบของ ดาวเทียมของดาวเนปจูน ส่วนดวงจันทร์ดวงอื่นตั้งชื่อตามตำนานเทพเจ้ากรีกและโรมัน โดยตั้งตามตำแหน่งของดาวบริวารของดาวเนปจูนกับเทพเจ้าแห่งท้องทะเล จากตำนานเทพเจ้ากรีกได้ตั้งชื่อตามลูกของโปเซดอน (ไทรทัน, โพรเทียส, ดิสพีนา, ทาแลสซา); ระดับชั้นของเทพเจ้าแห่งท้องทะเล (เนแอด, ) หรือ เจาะจงไปที่นีรีด (แฮลิมีดี, แกลาเทีย, นีโซ, เซโอ, เลโอเมเดีย, แซมาที)
ลักษณะ
ดาวบริวารของดาวเนปจูนได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ปกติและผิดปกติ ซึ่งกลุ่มเหล่านี้แบ่งตามวงโคจรตามเส้นศูนย์สูตรของดาวเนปจูน ในกลุ่มแรกคือ เหล่าดาวบริวารชั้นในทั้ง 7 ดวง ซึ่งมีวงโคจรที่ค่อนข้างจะเป็นระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สูตรของดาวเนปจูนส่วนกลุ่มที่สอง คือ ดาวบริวารชั้นนอกทั้ง 6 ดวง ซึ่งมีวงโคจรที่ค่อนข้างจะแตกต่างจากเส้นศูนย์สูตรและจากดาวบริวารด้วยกันเอง บางดวงนั้นก็มีวงโคจรที่มีสูง บางดวงก็มีสูง
ดาวบริวารปกติ
ในรายชื่อดาวบริวารตามระยะทางจากดาวเนปจูน ดาวบริวารปกติมี 6 ดวง ได้แก่ เนแอด, ,, , ลาริสซา, และ เป็นดาวบริวารที่อยู่ใกล้ดาวเนปจูนที่สุด แต่ก็เป็นดาวบริวารที่เล็กที่สุดในดาวบริวารชั้นใน ส่วนดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในดาวบริวารชั้นใน คือ ดาวบริวารชั้นในค่อนข้างที่จะอยู่ใกล้วงแหวนของดาวเนปจูน ดาวบริวารชั้นในที่ใกล้ดาวเนปจูนที่สุดคือ เนแอดและทาแลสซา โคจรอยู่ระหว่าง วงแหวนกอลล์และเลอร์แวเรีย ดีสพีนาเป็นดาวบริวารที่คอยควบคุมให้วงแหวนเลอร์แวเรียเข้าที่ วงโคจรของมันอยู่ภายในวงแหวนนี้
ดาวบริวารถัดมา โคจรอยู่บริเวณวงแหวนอดัมส์ วงแหวนนี้แคบมาก มันกว้างเพียงแค่ 50 กิโลเมตร แรงโน้มถ่วงของแกลาเทียช่วยให้สสารในวงแหวนอดัมส์เข้าที่และเสียงสะท้อนต่างๆของอนุภาคของวงแหวนและตัวดาวบริวารแกลาทีอาจจะมีบทบาทสำคัญในการช่วยรักษาส่วนโค้งของวงแหวน
ดาวบริวารผิดปกติ
ในรายชื่อดาวบริวารตามระยะทางจากดาวเนปจูน ดาวบริวารผิดปกติมี 7 ดวง ได้แก่ ไทรทัน ดาวบริวารเหล่านี้มีวงโคจรค่อนข้างที่จะมีความเยื้องและความเอียงของวงโคจรสูงแล้วมีบางดวงที่โคจรสวนทางกับวงโคจรของโลก เช่น นีโซ
อ้างอิง
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อLassell1846
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อKuiper1949
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อReitsema1982
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSmith1989
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อHolmanKavelaarsGrav2004
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSheppardJewittKleyna2006
- Kelly Beatty (15 July 2013). "Neptune's Newest Moon". Sky & Telescope. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-16. สืบค้นเมื่อ 15 July 2013.
- Flammarion, Camille (1880). Astronomie populaire (ภาษาฝรั่งเศส). p. 591. ISBN .
- "Camile Flammarion". Hellenica. สืบค้นเมื่อ 2008-01-18.
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อGazetteer
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อJewitt2007
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อMiner2007b
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อHorn1990
แหล่งข้อมูลอื่น
- Neptune's Moons 2007-06-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by NASA's Solar System Exploration
- Gazeteer of Planetary Nomenclature—Neptune (USGS)
- Simulation showing the position of Neptune's Moon 2012-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- The 13 Moons Of Neptune – Astronoo 2012-03-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
enuxhainbthkhwamnilasmy oprdprbprungkhxmulihepniptamehtukarnpccubnhruxlasud duhnaxphiprayprakxb dawenpcunmidawbriwarepnthiruckknthnghmdsibsidwngodydawbriwarthiihythisudkhuxdawbriwarithrthn khnphbody emux 10 tulakhm kh s 1846 ephiyng 17 wnhlngcakkarkhnphbdawenpcun kwastwrrsphanipcungmikarkhnphbdawbriwardwngthisxngmichuxeriykwa dawbriwarkhxngdawenpcunepnchuxkhxngethphaehngnaintananethphecakrikkarkhnphbaelachuxphaphcalxngkhxngdawenpcunbnthxngfakhxngithrthnkarkhnphb ithrthnthukkhnphbody emux pi 1846 hlngcakthikhnphbdawenpcunipephiyng 17 wnethann txma nirid kthukkhnphbodyecxrard ikhepxrin pi 1949 dawbriwardwngthisamsungphayhlngihchuxwa larissa idthukkhnphbody aehorld ec irtesma wileliym bi hbbard aelrri ex elbxfski aela emuxwnthi 24 phvsphakhm 1981 ehlankdarasastridkhnphbdawbriwarcakkarsngektdawvksthixyuikldawenpcun sungkhlaywngaehwnthixyurxbdawyuernsthicakhnphbin 4 pithdma wngaehwninpccubnthaihdawvksthiekhluxnekhaikldawenpcunmiaesngswangldnxylngipkxnthicaekhluxnekhaikldawekhraah khwamswangkhxngdawvksehlannldnxylngipepnewlahlaywinathisunghmaykhwamwawtthuthithaihaesngswangkhxngdawvksldnxylngepndawbriwarmakkwathicaepnwngaehwnkhxngdawenpcun hlngcaknnkimmikarkhnphbdawbriwarkhxngdawenpcuncnkrathngyanwxyexcecxr 2 idekhluxnekhaikldawenpcuninpi 1989 wxyexcecxr 2 idsarwcbriewnkhxnglarissa aelwkkhnphbdawbriwarchninxik 5 dwng idaek enaexd aela txmainpi 2002 2003 idichklxngothrthrrsnphakhphundinkhnadihysarwcdawenpcunaelwinthisudkkhnphbdawbriwarchnnxkthng 5 dwng idaek aela thaihcanwndawbriwarkhxngdawenpcunepn 13 dwng inwnthi ph s 2556 idmikarkhnphbdawbriwardwngthi 14 sungekhypraktemuxpi ph s 2547 2551 inphaphthithayodyklxngothrthrrsnxwkashbebil mnxyuintaaehnngrahwang larissaaelaophrethiysaelakhadwacamiesnphansunyuklang 16 20 kiolemtr sungphukhnphbkhux aelakhna aelaidihchuxwa chux ithrthnimidmichuxepnthangkarmacnkrathngstwrrsthi 20 chux ithrthn idthukesnxody inhnngsux Astronomie Populaire khxngekhaemuxpi 1880 but it did not come into common use until at least the 1930s aetchuxnikimidrbkaryxmrbihichthwipcnpi 1990 inewlaniehladawbriwaridruckinrupaebbkhxng dawethiymkhxngdawenpcun swndwngcnthrdwngxuntngchuxtamtananethphecakrikaelaormn odytngtamtaaehnngkhxngdawbriwarkhxngdawenpcunkbethphecaaehngthxngthael caktananethphecakrikidtngchuxtamlukkhxngopesdxn ithrthn ophrethiys disphina thaaelssa radbchnkhxngethphecaaehngthxngthael enaexd hrux ecaacngipthinirid aehlimidi aeklaethiy nios esox eloxemediy aesmathi lksnadawbriwarkhxngdawenpcunidthukaebngxxkepn 2 chnid idaek pktiaelaphidpkti sungklumehlaniaebngtamwngokhcrtamesnsunysutrkhxngdawenpcun inklumaerkkhux ehladawbriwarchninthng 7 dwng sungmiwngokhcrthikhxnkhangcaepnranabediywkbesnsunysutrkhxngdawenpcunswnklumthisxng khux dawbriwarchnnxkthng 6 dwng sungmiwngokhcrthikhxnkhangcaaetktangcakesnsunysutraelacakdawbriwardwyknexng bangdwngnnkmiwngokhcrthimisung bangdwngkmisung source source source source source track phaphekhluxnihw 3 mitikhxngophrethiysdawbriwarpkti inraychuxdawbriwartamrayathangcakdawenpcun dawbriwarpktimi 6 dwng idaek enaexd larissa aela epndawbriwarthixyuikldawenpcunthisud aetkepndawbriwarthielkthisudindawbriwarchnin swndawbriwarthiihythisudindawbriwarchnin khux dawbriwarchninkhxnkhangthicaxyuiklwngaehwnkhxngdawenpcun dawbriwarchninthiikldawenpcunthisudkhux enaexdaelathaaelssa okhcrxyurahwang wngaehwnkxllaelaelxraeweriy disphinaepndawbriwarthikhxykhwbkhumihwngaehwnelxraeweriyekhathi wngokhcrkhxngmnxyuphayinwngaehwnni dawbriwarthdma okhcrxyubriewnwngaehwnxdms wngaehwnniaekhbmak mnkwangephiyngaekh 50 kiolemtr aerngonmthwngkhxngaeklaethiychwyihssarinwngaehwnxdmsekhathiaelaesiyngsathxntangkhxngxnuphakhkhxngwngaehwnaelatwdawbriwaraeklathixaccamibthbathsakhyinkarchwyrksaswnokhngkhxngwngaehwn dawbriwarphidpkti The diagram illustrates the orbits of Neptune s excluding Triton The eccentricity is represented by the yellow segments extending from the pericenter to apocenter with the inclination represented on Y axis The moons above the X axis are those beneath are The X axis is labeled in Gm and the fraction of the s radius inraychuxdawbriwartamrayathangcakdawenpcun dawbriwarphidpktimi 7 dwng idaek ithrthn dawbriwarehlanimiwngokhcrkhxnkhangthicamikhwameyuxngaelakhwamexiyngkhxngwngokhcrsungaelwmibangdwngthiokhcrswnthangkbwngokhcrkhxngolk echn niosxangxingxangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Lassell1846 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Kuiper1949 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Reitsema1982 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Smith1989 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux HolmanKavelaarsGrav2004 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux SheppardJewittKleyna2006 Kelly Beatty 15 July 2013 Neptune s Newest Moon Sky amp Telescope khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 07 16 subkhnemux 15 July 2013 Flammarion Camille 1880 Astronomie populaire phasafrngess p 591 ISBN 2 08 011041 1 Camile Flammarion Hellenica subkhnemux 2008 01 18 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Gazetteer xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Jewitt2007 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Miner2007b xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Horn1990aehlngkhxmulxunNeptune s Moons 2007 06 09 thi ewyaebkaemchchin by NASA s Solar System Exploration Gazeteer of Planetary Nomenclature Neptune USGS Simulation showing the position of Neptune s Moon 2012 03 03 thi ewyaebkaemchchin The 13 Moons Of Neptune Astronoo 2012 03 28 thi ewyaebkaemchchin bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk