พายุโซโคลนกำลังแรงโอนิล (รหัสเรียกของ : ARB 03; รหัสเรียกของ JTWC: 03A) เป็นพายุหมุนเขตร้อนลูกแรกที่ได้รับการตั้งชื่อในมหาสมุทรอินเดียเหนือ ชื่อ โอนิล (เบงกอล: অনিল, อนิละ) เป็นชื่อที่ถูกส่งมาจากประเทศบังกลาเทศ พายุไซโคลนโอนิลก่อตัวขึ้นจากบริเวณการพาความร้อนที่อยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้หลายร้อยกิโลเมตรจากประเทศอินเดียในวันที่ 1 ตุลาคม ตัวพายุทวีกำลังแรงขึ้นอย่างรวดเร็วจนมีกำลังสูงสุดในวันที่ 2 ตุลาคม ด้วยความเร็วลม 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความกดอากาศต่ำสุดที่ศูนย์กลาง 990 มิลลิบาร์ อย่างไรก็ตาม เนื่องด้วยอากาศแห้งที่พัดเข้าสู่ระบบอย่างรวดเร็ว ทำให้พายุอ่อนกำลังลงอย่างรวดเร็วเป็นพายุดีเปรสชัน บริเวณนอกชายฝั่งรัฐคุชราต ประเทศอินเดีย หลายวันต่อมา ระบบพายุที่มีทิศทางการเคลื่อนตัวเอาแน่ไม่ได้ได้เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และพายุได้พัดขึ้นฝั่งใกล้กับนคร ในวันที่ 10 ตุลาคม และสลายตัวไปไม่นานหลังจากนั้น
พายุไซโคลนกำลังแรง () | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
พายุไซโคลนโอนิลบริเวณใกล้ชายฝั่งประเทศปากีสถานในวันที่ 2 ตุลาคม | |||
ก่อตัว | 30 กันยายน พ.ศ. 2547 | ||
สลายตัว | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2547 | ||
ความเร็วลม สูงสุด |
| ||
ความกดอากาศต่ำสุด | 990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท) | ||
ผู้เสียชีวิต | รวม 9 คน, สูญเสีย 300 คน | ||
ความเสียหาย | ไม่มี | ||
พื้นที่ได้รับ ผลกระทบ | ประเทศอินเดียและประเทศปากีสถาน | ||
ส่วนหนึ่งของ |
ตลอดทั้งด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศปากีสถานและตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย ประชาชนนับพันคนถูกอพยพออกไปก่อนที่พายุไซโคลนจะมาถึง ในบริเวณเหล่านั้น พายุได้สร้างปริมาณฝนปานกลางถึงหนัก ปริมาณน้ำฝนสะสมสูงสุดอยู่ที่ 145 มิลลิเมตร (5.7 นิ้ว) ในนคร แคว้นสินธ์ ประเทศปากีสถาน ปริมาณน้ำฝนสะสมเหล่านี้ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันในหลายพื้นที่ มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุหลายครั้งที่เกี่ยวข้องกับพายุในการาจี ระบบระบายน้ำของเมืองไฮเดอราบาดได้รับความเสียหายอย่างมีนัยสำคัญ ทำให้เกิดการประท้วงและการเดินขบวนของชาวเมืองจำนวนมาก บริเวณนอกชายฝั่ง เชื่อกันว่าชาวประมง 300 คน ได้สูญหายไปในระหว่างเกิดพายุ ทั้งนี้ไมมีรายงานยืนยันว่าพวกเขาหายไปไหน
ประวัติทางอุตุนิยมวิทยา
พายุไซโคลนกำลังแรงโอนิล ได้รับการระบุครั้งแรกเป็นพื้นที่การพาความร้อนในช่วงต้นของวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2547 อยู่ห่างจากมุมไบ ประเทศอินเดีย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงให้เห็นระบบที่มีการจัดระบบไม่ดีนัก กับมีการพาความร้อนระดับลึกในบางส่วนรอบ ๆ การไหลเวียนระดับต่ำ โดยขณะนั้นระบบตั้งอยู่บนน้ำอุ่นและบริเวณที่มีลมเฉือนปานกลางศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) ประเมินว่าระบบมีโอกาสพัฒนาขึ้นเป็นพายุหมุนเขตร้อนได้ "พอใช้" ในไม่กี่ชั่วโมงหลังจากมีการระบุครั้งแรกไปแล้ว กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD) เริ่มติดตามระบบในฐานะพายุดีเปรสชัน ARB 03 แม้ว่าการพาความร้อนจะลดลงในช่วงท้ายของวันที่ 30 กันยายน แต่ IMD ก็ปรับให้ ARB 03 เป็นพายุดีเปรสชันหมุนเร็ว เนื่องจากมีความเร็วลมต่อเนื่องในสามนาทีรอบศูนย์กลางถึง 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ช่วงต้นของวันถัดมา การจัดระบบของพายุดีขึ้น ทำให้ JTWC ออกการแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ต่อมาเวลาประมาณ 09:00 UTC ของวันที่ 1 ตุลาคม IMD ปรับให้ระบบเป็นพายุไซโคลน และให้ชื่อว่า โอนิล ทำให้พายุนี้กลายเป็นพายุลูกแรกที่ได้รับการตั้งชื่อในมหาสมุทรอินเดียเหนือ ตามที่ตกลงกันไว้ในนามคณะทำงาน WMO/ESCAP ในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2547 ว่าในเดือนกันยายน หากมีพายุหมุนเขตร้อนใดในมหาสมุทรอินเดียเหนือ ที่มีกำลังลมถึงกำหนดจะมีการตั้งชื่อตามที่กำหนดไว้
อ้างอิง
- Gary Padgett (May 17, 2005). "Monthly Tropical Weather Summary for October 2004". Australia Severe Weather. สืบค้นเมื่อ June 10, 2010.
- Joint Typhoon Warning Center (2005). (PDF). Naval Meteorology and Oceanography Command. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-06-07. สืบค้นเมื่อ June 13, 2010.
- . India Meteorological Department. 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 16, 2009. สืบค้นเมื่อ June 13, 2010.
- "Report on Cyclonic Disturbances Over North Indian Ocean During 2009" (PDF). India Meteorological Department. January 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ April 6, 2010. สืบค้นเมื่อ June 13, 2010.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phayuosokhlnkalngaerngoxnil rhseriykkhxng ARB 03 rhseriykkhxng JTWC 03A epnphayuhmunekhtrxnlukaerkthiidrbkartngchuxinmhasmuthrxinediyehnux chux oxnil ebngkxl অন ল xnila epnchuxthithuksngmacakpraethsbngklaeths phayuisokhlnoxnilkxtwkhuncakbriewnkarphakhwamrxnthixyuhangxxkipthangthistawntkechiyngithlayrxykiolemtrcakpraethsxinediyinwnthi 1 tulakhm twphayuthwikalngaerngkhunxyangrwderwcnmikalngsungsudinwnthi 2 tulakhm dwykhwamerwlm 100 kiolemtrtxchwomng khwamkdxakastasudthisunyklang 990 millibar xyangirktam enuxngdwyxakasaehngthiphdekhasurabbxyangrwderw thaihphayuxxnkalnglngxyangrwderwepnphayudieprschn briewnnxkchayfngrthkhuchrat praethsxinediy hlaywntxma rabbphayuthimithisthangkarekhluxntwexaaenimididepliynthisthangkarekhluxntwipthangthistawnxxkechiyngehnux aelaphayuidphdkhunfngiklkbnkhr inwnthi 10 tulakhm aelaslaytwipimnanhlngcaknnphayuisokhlnkalngaerngoxnil phayuisokhlnkalngaerng phayuosnrxn SSHWS phayuisokhlnoxnilbriewniklchayfngpraethspakisthaninwnthi 2 tulakhmphayuisokhlnoxnilbriewniklchayfngpraethspakisthaninwnthi 2 tulakhmkxtw 30 knyayn ph s 2547slaytw 11 tulakhm ph s 2547 epnhyxmkhwamkdxakastathihlngehluxhlngwnthi 10 tulakhm khwamerwlm sungsud echliylmin 3 nathi 100 km chm 65 iml chm echliylmin 1 nathi 65 km chm 40 iml chm khwamkdxakastasud 990 ehkotpaskal millibar 29 23 niwprxth phuesiychiwit rwm 9 khn suyesiy 300 khnkhwamesiyhay immiphunthiidrb phlkrathb praethsxinediyaelapraethspakisthanswnhnungkhxng tlxdthngdantawnxxkechiyngitkhxngpraethspakisthanaelatawntkechiyngehnuxkhxngxinediy prachachnnbphnkhnthukxphyphxxkipkxnthiphayuisokhlncamathung inbriewnehlann phayuidsrangprimanfnpanklangthunghnk primannafnsasmsungsudxyuthi 145 milliemtr 5 7 niw innkhr aekhwnsinth praethspakisthan primannafnsasmehlanithaihekidnathwmchbphlninhlayphunthi miphuesiychiwitcakxubtiehtuhlaykhrngthiekiywkhxngkbphayuinkaraci rabbrabaynakhxngemuxngihedxrabadidrbkhwamesiyhayxyangminysakhy thaihekidkarprathwngaelakaredinkhbwnkhxngchawemuxngcanwnmak briewnnxkchayfng echuxknwachawpramng 300 khn idsuyhayipinrahwangekidphayu thngniimmiraynganyunynwaphwkekhahayipihnprawtithangxutuniymwithyaaephnthiaesdngesnthang aelakhwamrunaerngkhxngphayutammatraswnaesfefxr simpsn khwamrunaerngkhxngphayumatraehxriekhnaesfefxr simpsn phayudieprschnekhtrxn 62 km chm phayuosnrxn 63 117 km chm phayuehxriekhnradb 1 118 153 km chm phayuehxriekhnradb 2 154 177 km chm phayuehxriekhnradb 3 178 208 km chm phayuehxriekhnradb 4 209 251 km chm phayuehxriekhnradb 5 252 km chm phayuthiimthrabkhwamerwlm praephthkhxngphayu phayuhmunekhtrxn phayuhmunkungekhtrxn phayuhmunnxkekhtrxn hyxmkhwamkdxakastathihlngehlux rbkwnkhxngekhtrxn lmmrsumphayudieprschnekhtrxn phayuisokhlnkalngaerngoxnil idrbkarrabukhrngaerkepnphunthikarphakhwamrxninchwngtnkhxngwnthi 30 knyayn ph s 2547 xyuhangcakmumib praethsxinediy ipthangthistawntkechiyngit phaphthaydawethiymaesdngihehnrabbthimikarcdrabbimdink kbmikarphakhwamrxnradblukinbangswnrxb karihlewiynradbta odykhnannrabbtngxyubnnaxunaelabriewnthimilmechuxnpanklangsunyetuxnitfunrwm JTWC praeminwarabbmioxkasphthnakhunepnphayuhmunekhtrxnid phxich inimkichwomnghlngcakmikarrabukhrngaerkipaelw krmxutuniymwithyaxinediy IMD erimtidtamrabbinthanaphayudieprschn ARB 03 aemwakarphakhwamrxncaldlnginchwngthaykhxngwnthi 30 knyayn aet IMD kprbih ARB 03 epnphayudieprschnhmunerw enuxngcakmikhwamerwlmtxenuxnginsamnathirxbsunyklangthung 55 kiolemtrtxchwomng chwngtnkhxngwnthdma karcdrabbkhxngphayudikhun thaih JTWC xxkkaraecngetuxnkarkxtwkhxngphayuhmunekhtrxn txmaewlapraman 09 00 UTC khxngwnthi 1 tulakhm IMD prbihrabbepnphayuisokhln aelaihchuxwa oxnil thaihphayuniklayepnphayulukaerkthiidrbkartngchuxinmhasmuthrxinediyehnux tamthitklngkniwinnamkhnathangan WMO ESCAP inchwngeduxnphvsphakhm ph s 2547 waineduxnknyayn hakmiphayuhmunekhtrxnidinmhasmuthrxinediyehnux thimikalnglmthungkahndcamikartngchuxtamthikahndiwxangxingGary Padgett May 17 2005 Monthly Tropical Weather Summary for October 2004 Australia Severe Weather subkhnemux June 10 2010 Joint Typhoon Warning Center 2005 PDF Naval Meteorology and Oceanography Command khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 06 07 subkhnemux June 13 2010 India Meteorological Department 2009 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux November 16 2009 subkhnemux June 13 2010 Report on Cyclonic Disturbances Over North Indian Ocean During 2009 PDF India Meteorological Department January 2010 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux April 6 2010 subkhnemux June 13 2010