บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
พยางค์ หมายถึงหน่วยหนึ่งขององค์ประกอบในลำดับของเสียงที่ใช้สื่อสารด้วยคำพูด พยางค์โดยทั่วไปเกิดขึ้นจาก (syllable nucleus) ซึ่งมักจะเป็นเสียงสระ และอาจมีเสียงขึ้นต้นและเสียงลงท้ายเป็นเสียงพยัญชนะในพยางค์ พยางค์ถูกจัดว่าเป็นส่วนประกอบของคำใน (phonology) ซึ่งมีอิทธิพลต่อจังหวะในภาษา ลักษณะคำประพันธ์ รูปแบบ เป็นต้น คำหนึ่งคำอาจอบขึ้นจากพยางค์เพียงพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้
การเขียนสัญลักษณ์แทนพยางค์เริ่มมีขึ้นเมื่อไม่กี่ร้อยปีก่อนที่จะมีการใช้ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรก สัญลักษณ์แทนพยางค์ในสมัยนั้นถูกบันทึกลงบนแผ่นจารึกเมื่อประมาณ 2,800 ปีก่อนคริสตกาลโดยชาวสุเมเรียน สิ่งนี้เป็นตัวผลักดันให้อักษรภาพที่เขียนกันมาแต่เดิมถูกเปลี่ยนเป็นการเขียนแทนพยางค์ ซึ่งเป็นก้าวหนึ่งที่สำคัญในประวัติศาสตร์ของระบบการเขียน
คุณลักษณะทางฉันทลักษณ์
คุณลักษณะทาง (suprasegmental) คือคุณที่ทำให้พยางค์ออกเสียงต่างไปจากปกติ ซึ่งไม่ใช่การเพิ่มเสียงใหม่ที่ทำให้โครงสร้างพยางค์เปลี่ยนไป คุณลักษณะดังกล่าวประกอบด้วย (stress) และวรรณยุกต์ (tone)
โครงสร้างพยางค์มักมีการเน้นเสียงอยู่บ่อยๆ ตัวอย่างเช่นในภาษาที่ใช้อักษรละติน (syllable weight) โดยปกติคือตัวบ่งบอกการเน้นเสียงในพยางค์ พยางค์หนึ่งจะถือว่าเป็นพยางค์หนักเมื่อเข้าสู่เงื่อนไขอย่างน้อยหนึ่งข้อต่อไปนี้ ซึ่งแต่ละข้อถูกจัดว่ามี 2 มอรา (mora)
- แกนพยางค์เป็นสระเสียงยาว
- แกนพยางค์เป็นสระประสมสองเสียง
- ท้ายพยางค์มีเสียงตั้งแต่หนึ่งเสียงขึ้นไป
บางครั้ง (syllable length) ก็ถูกจัดว่าเป็นคุณลักษณะทางฉันทลักษณ์อีกอันหนึ่ง เช่นในภาษากลุ่มเจอร์มานิก เสียงสระจะยาวขึ้นก็ต่อเมื่อเสียงพยัญชนะสั้น และจะสั้นลงก็ต่อเมื่อเสียงพยัญชนะยาว เป็นต้น อย่างไรก็ตาม พยางค์อาจถูกวิเคราะห์ว่าเป็นการประกอบขึ้นจากหน่วยเสียง (phoneme) ที่สั้นและยาวแตกต่างกัน ซึ่งความยาวของเสียงพยัญชนะและเสียงสระแยกจากกันอย่างอิสระ ดังเช่นภาษาฟินแลนด์และภาษาญี่ปุ่น จึงไม่เป็นคุณลักษณะทางฉันทลักษณ์
สระคลาย (lax vowel) สามารถเกิดขึ้นได้เฉพาะพยางค์ปิดในภาษากลุ่มเจอร์มานิกส่วนใหญ่ ดังนั้นเสียงสระนี้จึงถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าพยางค์หยุด ตรงข้ามกับสระเกร็ง (tense vowel) เพราะเกิดขึ้นในพยางค์เปิด โดยทั้งสองกรณีไม่เกี่ยวข้องกับความยาวพยางค์
ข้อกำหนดของการเรียงหน่วยเสียง
กฎเกณฑ์ของ (phonotactics) เป็นตัวบ่งบอกว่าเสียงใดที่อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้มีในโครงสร้างพยางค์ ภาษาอังกฤษอนุญาตให้มีพยางค์ที่ซับซ้อนมากๆ ได้ บางพยางค์อาจมีต้นพยางค์สามเสียง (string, splash) หรือในบางโอกาสก็มีท้ายพยางค์สี่เสียง (prompts) เป็นต้น แต่ในภาษาอื่นหลายภาษาก็มีข้อจำกัดที่เพิ่มขึ้น เช่น ภาษาไทยกำหนดให้มีต้นพยางค์มากที่สุดสองเสียงดังเห็นได้จาก ส่วนภาษาญี่ปุ่นกำหนดให้เสียง ん /n/ เป็นเสียงท้ายพยางค์เท่านั้น และใช้พยัญชนะหลายตัวประกอบเข้าด้วยกันเพื่อแทนต้นพยางค์เพียงเสียงเดียว
ภาษาฮีบรู ภาษาอาหรับ และสำเนียงอื่นของภาษาเยอรมัน ได้กำหนดว่าพยางค์จะต้องมีเสียงแทนต้นพยางค์เสมอ ตัวอย่างเช่นคำว่า อิสราเอล, อะบราฮัม, โอมาร์, อาลี, อับดุลลาห์ พยางค์แรกของทุกคำจะต้องขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเสียงกักหรือเสียดสีในหรือคอหอย ซึ่งเสียงกักในช่องเส้นเสียงคือเสียง อ /ʔ/ ในภาษาไทย
การเรียงหน่วยเสียง เป็นการศึกษาโครงสร้างพยางค์ในระดับรายละเอียดปลีกย่อย ซึ่งมีเป้าหมายที่จะสำรวจว่าพยางค์ในภาษาหนึ่งๆ สามารถจัดรูปแบบอย่างดีได้อย่างไร ส่วนในระดับโดยรวมเป็นการศึกษาเพื่อพิจารณาข้อกำหนดบนความเป็นไปได้ในการผสมผสานพยางค์เข้าด้วยกัน ตำแหน่งของการเกิดพยางค์ และการเรียงลำดับของคำที่เป็นไปได้ เรียกว่า การศึกษา (syllabotactics)
ภาษาไร้พยางค์
การเขียนพยางค์ให้ออกมาเป็นสัญกรณ์ เป็นเรื่องที่ไม่ง่ายนักสำหรับภาษาที่อนุญาตให้มีเสียงพยัญชนะต่อเนื่องกันโดยไม่มีเสียงสระหรือเสียงสั่นรัวเลย, ออกเสียงไม่ได้ เช่น (Salishan) กับ (Wakashan) ในแถบชายฝั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของวลีที่มีแต่ (obstruent) ของ ซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มซาลิช
- [ɬχʷtɬʦxʷ] 'you spat on me'
- [ʦ’ktskʷʦʼ] 'he arrived'
- [xɬpʼχʷɬtɬpɬɬs] 'he had in his possession a bunchberry plant'
- [sxs] 'seal blubber'
ในการสำรวจข้างต้นนี้ คำว่า [ʦ’ktskʷʦ’] อาจแบ่งออกได้เป็น 0, 2, 3, 5, หรือ 6 พยางค์ก็ได้ขึ้นอยู่กับวิธีการที่ใช้วิเคราะห์ วิธีหนึ่งคือการถือเอาว่าเสียงสระและเสียงพยัญชนะทุกตัวสามารถเป็นแกนพยางค์ได้ อีกวิธีหนึ่งก็ให้บางส่วนเป็นแกนพยางค์ และอีกวิธีหนึ่งก็เห็นว่าไม่มีพยางค์อยู่เลยเพราะไม่มีเสียงสระ
ปรากฏการณ์เดียวกันนี้ก็มีเกิดขึ้นใน (Berber) ในทวีปแอฟริกา และภาษากลุ่มมอญ-เขมร (Mon-Khmer) หรือแม้แต่ภาษาอังกฤษบางคำก็ไม่มีเสียงสระเช่นคำว่า shh (ให้เงียบ) และ psst (เสียงเพื่อเรียกร้องความสนใจ)
อ้างอิง
- Geoffrey Blainey, A Short History of the World, p.87, citing J.T. Hooker et al., Reading the Past: Ancient Writing from Cuneiform to the Alphabet, British Museum, 1993, Ch. 2
- (1991). "Syllable structure in Bella Coola". Linguistic Inquiry. 22: 589–646.
- Dell, F.; Elmedlaoui, M. (1985). "Syllabic consonants and syllabification in Imdlawn Tashlhiyt Berber". Journal of African Languages and Linguistics. 7: 105–130.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () (Cited in Bagemihl 1991). - Dell, F.; Elmedlaoui, M. (1988). "Syllabic consonants in Berber: Some new evidence". Journal of African Languages and Linguistics. 10: 1–17.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () (Cited in Bagemihl 1991). - Sloan, K. (1988). Bare-consonant reduplication: Implications for a prosodic theory of reduplication. In H. Borer (Ed.), Proceedings of the West Coast Conference on Formal Linguistics 7. Stanford, CA: Stanford Linguistics Association. (Cited in Bagemihl 1991).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul phyangkh khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phyangkh hmaythunghnwyhnungkhxngxngkhprakxbinladbkhxngesiyngthiichsuxsardwykhaphud phyangkhodythwipekidkhuncak syllable nucleus sungmkcaepnesiyngsra aelaxacmiesiyngkhuntnaelaesiynglngthayepnesiyngphyychnainphyangkh phyangkhthukcdwaepnswnprakxbkhxngkhain phonology sungmixiththiphltxcnghwainphasa lksnakhapraphnth rupaebb epntn khahnungkhaxacxbkhuncakphyangkhephiyngphyangkhediywhruxhlayphyangkhkid karekhiynsylksnaethnphyangkherimmikhunemuximkirxypikxnthicamikarichtwxksrkhunepnkhrngaerk sylksnaethnphyangkhinsmynnthukbnthuklngbnaephncarukemuxpraman 2 800 pikxnkhristkalodychawsuemeriyn singniepntwphlkdnihxksrphaphthiekhiynknmaaetedimthukepliynepnkarekhiynaethnphyangkh sungepnkawhnungthisakhyinprawtisastrkhxngrabbkarekhiynkhunlksnathangchnthlksnkhunlksnathang suprasegmental khuxkhunthithaihphyangkhxxkesiyngtangipcakpkti sungimichkarephimesiyngihmthithaihokhrngsrangphyangkhepliynip khunlksnadngklawprakxbdwy stress aelawrrnyukt tone okhrngsrangphyangkhmkmikarennesiyngxyubxy twxyangechninphasathiichxksrlatin syllable weight odypktikhuxtwbngbxkkarennesiynginphyangkh phyangkhhnungcathuxwaepnphyangkhhnkemuxekhasuenguxnikhxyangnxyhnungkhxtxipni sungaetlakhxthukcdwami 2 mxra mora aeknphyangkhepnsraesiyngyaw aeknphyangkhepnsraprasmsxngesiyng thayphyangkhmiesiyngtngaethnungesiyngkhunip bangkhrng syllable length kthukcdwaepnkhunlksnathangchnthlksnxikxnhnung echninphasaklumecxrmanik esiyngsracayawkhunktxemuxesiyngphyychnasn aelacasnlngktxemuxesiyngphyychnayaw epntn xyangirktam phyangkhxacthukwiekhraahwaepnkarprakxbkhuncakhnwyesiyng phoneme thisnaelayawaetktangkn sungkhwamyawkhxngesiyngphyychnaaelaesiyngsraaeykcakknxyangxisra dngechnphasafinaelndaelaphasayipun cungimepnkhunlksnathangchnthlksn srakhlay lax vowel samarthekidkhunidechphaaphyangkhpidinphasaklumecxrmanikswnihy dngnnesiyngsranicungthukeriykxikxyanghnungwaphyangkhhyud trngkhamkbsraekrng tense vowel ephraaekidkhuninphyangkhepid odythngsxngkrniimekiywkhxngkbkhwamyawphyangkhkhxkahndkhxngkareriynghnwyesiyngkdeknthkhxng phonotactics epntwbngbxkwaesiyngidthixnuyathruximxnuyatihmiinokhrngsrangphyangkh phasaxngkvsxnuyatihmiphyangkhthisbsxnmak id bangphyangkhxacmitnphyangkhsamesiyng string splash hruxinbangoxkaskmithayphyangkhsiesiyng prompts epntn aetinphasaxunhlayphasakmikhxcakdthiephimkhun echn phasaithykahndihmitnphyangkhmakthisudsxngesiyngdngehnidcak swnphasayipunkahndihesiyng ん n epnesiyngthayphyangkhethann aelaichphyychnahlaytwprakxbekhadwyknephuxaethntnphyangkhephiyngesiyngediyw phasahibru phasaxahrb aelasaeniyngxunkhxngphasaeyxrmn idkahndwaphyangkhcatxngmiesiyngaethntnphyangkhesmx twxyangechnkhawa xisraexl xabrahm oxmar xali xbdullah phyangkhaerkkhxngthukkhacatxngkhuntndwyphyychnaesiyngkkhruxesiydsiinhruxkhxhxy sungesiyngkkinchxngesnesiyngkhuxesiyng x ʔ inphasaithy kareriynghnwyesiyng epnkarsuksaokhrngsrangphyangkhinradbraylaexiydplikyxy sungmiepahmaythicasarwcwaphyangkhinphasahnung samarthcdrupaebbxyangdiidxyangir swninradbodyrwmepnkarsuksaephuxphicarnakhxkahndbnkhwamepnipidinkarphsmphsanphyangkhekhadwykn taaehnngkhxngkarekidphyangkh aelakareriyngladbkhxngkhathiepnipid eriykwa karsuksa syllabotactics phasairphyangkhkarekhiynphyangkhihxxkmaepnsykrn epneruxngthiimngaynksahrbphasathixnuyatihmiesiyngphyychnatxenuxngknodyimmiesiyngsrahruxesiyngsnrwely xxkesiyngimid echn Salishan kb Wakashan inaethbchayfngthangthistawntkechiyngehnuxkhxngthwipxemrikaehnux txipniepntwxyangkhxngwlithimiaet obstruent khxng sungepnphasahnunginklumsalich ɬxʷtɬʦxʷ you spat on me ʦ ktskʷʦʼ he arrived xɬpʼxʷɬtɬpɬɬs he had in his possession a bunchberry plant sxs seal blubber dd inkarsarwckhangtnni khawa ʦ ktskʷʦ xacaebngxxkidepn 0 2 3 5 hrux 6 phyangkhkidkhunxyukbwithikarthiichwiekhraah withihnungkhuxkarthuxexawaesiyngsraaelaesiyngphyychnathuktwsamarthepnaeknphyangkhid xikwithihnungkihbangswnepnaeknphyangkh aelaxikwithihnungkehnwaimmiphyangkhxyuelyephraaimmiesiyngsra praktkarnediywknnikmiekidkhunin Berber inthwipaexfrika aelaphasaklummxy ekhmr Mon Khmer hruxaemaetphasaxngkvsbangkhakimmiesiyngsraechnkhawa shh ihengiyb aela psst esiyngephuxeriykrxngkhwamsnic xangxingGeoffrey Blainey A Short History of the World p 87 citing J T Hooker et al Reading the Past Ancient Writing from Cuneiform to the Alphabet British Museum 1993 Ch 2 1991 Syllable structure in Bella Coola Linguistic Inquiry 22 589 646 Dell F Elmedlaoui M 1985 Syllabic consonants and syllabification in Imdlawn Tashlhiyt Berber Journal of African Languages and Linguistics 7 105 130 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Cited in Bagemihl 1991 Dell F Elmedlaoui M 1988 Syllabic consonants in Berber Some new evidence Journal of African Languages and Linguistics 10 1 17 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Cited in Bagemihl 1991 Sloan K 1988 Bare consonant reduplication Implications for a prosodic theory of reduplication In H Borer Ed Proceedings of the West Coast Conference on Formal Linguistics 7 Stanford CA Stanford Linguistics Association Cited in Bagemihl 1991 bthkhwamphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk