หอยมือเสือ (อังกฤษ: Giant clam) เป็นสกุลของหอยสองฝาขนาดใหญ่ ในวงศ์หอยมือเสือ (Tridacninae) ใช้ชื่อสกุลว่า Tridacna (/ไทร-แดก-นา/)
หอยมือเสือ ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ไมโอซีน - ปัจจุบัน | |
---|---|
หอยมือเสือยักษ์ (Tridacna gigas) เป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | สัตว์ |
ไฟลัม: | มอลลัสกา |
ชั้น: | ชั้นไบวาลเวีย |
อันดับ: | |
วงศ์: | |
วงศ์ย่อย: | หอยมือเสือ Linnaeus, 1758 |
สกุล: | หอยมือเสือ , 1797 |
ชนิด | |
| |
ชื่อพ้อง | |
|
ลักษณะและพฤติกรรม
หอยมือเสือมีพฤติกรรมต่างจากหอยจำพวกอื่นตรงที่เปลือกด้านบนจะเปิดออกเพื่อรับแสงแดด จะเรียกเป็นด้านหน้าของหอยมือเสือและจะแผ่ส่วนแมนเทิล ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อออกมารับแสง ซึ่งส่วนเนื้อเยื่อจะมีสาหร่ายจำพวกไดโนแฟลกเจลเลต คือ จำนวนมากอาศัยอยู่ในแมนเทิลซึ่งการอยู่ร่วมแบบนี้ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ ซึ่งการอยู่แบบพึ่งพาอาศัย การสังเคราะห์แสงของสาหร่ายโดยสาหร่ายจะใช้ประโยชน์จากคาร์บอนไดออกไซด์และของเสียที่หอยมือเสือปล่อยออกมา หอยมือเสือก็จะได้รับสารอาหารคืนจากที่สาหร่ายผลิตได้บางส่วน ดังนั้นจึงพบเห็นหอยมือเสือจะอาศัยอยู่ในบริเวณที่น้ำใสและมีแสงส่องผ่านไปถึง อีกทั้งการที่หอยมือเสือมีสีสันต่าง ๆ ต่างกันทั้ง สีเขียว, สีน้ำเงิน ก็เป็นผลมาจากสังเคราะห์แสงของสาหร่ายนี้ โดยปกติจะพบหอยมือเสือได้ในระดับความลึกไม่เกิน 20 เมตร ส่วนต่อมาคือ ตรงรอยต่อด้านล่างของฝาหอย เป็นบานพับเปลือก จะมีส่วนที่ลักษณะเป็นช่องสำหรับให้เส้นใยเนื้อเยื่อที่เรียกว่า บิสซัส ยื่นออกมาทำหน้าที่เชื่อมยึดตัวหอยให้เกาะติดกับหินหรือวัสดุใต้น้ำ
โดยกระบวนการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายซูแซนเทลลีที่อยู่ในตัวหอยจะดูดซับเอาสารต่าง ๆ รวมทั้งของเสียสิ่งขับถ่ายจากสัตว์อื่นในระบบนิเวศ มาสังเคราะห์เป็นอาหารและพลังงานที่เป็น จึงทำให้หอยมือเสือเสมือนเป็นโรงงานกำจัดของเสีย อีกทั้งหอยมือเสือมีการกินอาหารแบบกรองกินอาหารที่ลอยมาตามน้ำ ดังนั้น หากมีฝุ่นตะกอนลอยมาตามน้ำ หอยมือเสือก็จะทำหน้าที่ดูดกรองฝุ่นตะกอนเหล่านั้นไว้ จึงทำให้น้ำในบริเวณนั้นจึงใสสะอาด ช่วยให้ระบบนิเวศน์ของทะเลดีตามไปด้วย
หอยมือเสือมีสองเพศในตัวเดียว โดยช่วงแรกยังไม่สามารถระบุเพศได้ จนอายุประมาณ 2 ปีขึ้นไป จะเป็นเพศผู้ มีการสร้างน้ำเชื้อ และเมื่ออายุประมาณ 4 ปีครึ่ง จะเปลี่ยนเป็นเพศเมีย เริ่มสร้างไข่เพื่อสืบพันธุ์ ในเขตร้อนหอยมือเสือสามารถสืบพันธุ์ได้ทั้งปี ขณะที่ในเขตอบอุ่นหอยจะสืบพันธุ์เฉพาะช่วงฤดูร้อนเท่านั้น
หอยมือเสือ จัดเป็นหอยที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก อาจมีความยาวเปลือกได้ถึง 100-120 เซนติเมตร น้ำหนักได้กว่า 200 กิโลกรัม และมีอายุยาวได้ถึง 100 ปีหรือมากกว่านั้น ขนาดเล็กสุดยาวเพียง 15 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตน้ำตื้นตามแนวปะการังของน่านน้ำแถบอินโด-แปซิฟิก ในเขตน่านน้ำไทยแหล่งที่พบหอยมือเสือได้มากที่สุด คือ ในเขตพื้นที่จังหวัดชุมพร ที่สามารถพบหอยมือเสือได้หลายขนาดและหลากหลายสีในเขตแนวปะการังน้ำตื้นรอบ ๆ เกาะ โดยเป็นหอยมือเสือทั้งจากการเพาะขยายพันธุ์และขยายพันธุ์กำเนิดเองในธรรมชาติ ซึ่งเป็นผลมาจากการอนุรักษ์
การจำแนก
แบ่งออกได้เป็น 2 สกุลย่อย
สกุลย่อย Tridacna (Tridacna)
- (Röding, 1798)
- Tridacna gigas (Linnaeus, 1758)
- Lucas, Ledua & Braley, 1990
สกุลย่อย Tridacna (Chametrachea)
- Richter, Roa-Quiaoit, Jantzen, Al-Zibdah, Kochzius, 2008
- Lamarck, 1819 – พบในน่านน้ำไทย
- Röding, 1798( =Tridacna elongata) – พบในน่านน้ำไทย
- Sirenho & Scarlato, 1991
- Tridacna squamosa Lamarck, 1819 – พบในน่านน้ำไทย
การใช้ประโยชน์
หอยมือเสือ เป็นทรัพยากรสัตว์น้ำที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์ตั้งแต่สมัยโบราณมาแล้ว เนื้อของหอยมือเสือโดยเฉพาะกล้ามเนื้อยึดเปลือก เป็นอาหารซึ่งมีราคาแพง เป็นที่นิยมบริโภคในหลายประเทศ เปลือกใช้ทำเครื่องใช้, เครื่องประดับ รวมทั้งไข่มุก ซึ่งหอยมือเสือก็สามารถให้ได้เหมือนกัน และเป็นไข่มุกที่มีราคาแพงกว่าไข่มุกปกติธรรมดา เนื่องจากมีขนาดใหญ่และหาได้ยากมาก ส่วนหอยมือเสือขนาดเล็กนิยมนำมาเลี้ยงในตู้ปลาทะเลสวยงาม จึงทำให้หอยมือเสือถูกจับขึ้นมาใช้ประโยชน์มากจนเกินกำลังธรรมชาติจะทดแทนได้ทันในทุกแหล่งการแพร่กระจายจนกระทั่งอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์ หรือบางชนิดถูกทำลายจนหมดไปจากบางแหล่ง จึงเป็นหนึ่งในจำนวนสัตว์น้ำที่ได้รับการขึ้นบัญชีในรายชื่อสัตว์และพืชที่ใกล้สูญพันธุ์หรือหายากในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดของสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือ CITES และจัดอยู่ในบัญชีสัตว์สงวนและคุ้มครองประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ของกฎหมายไทย ในน่านน้ำไทยพบหอยมือเสืออยู่ทั้งในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน พบทั้งหมด 5 ชนิด จำนวนประชากรหอยมือเสือในน่านน้ำไทยในปัจจุบันมีเหลืออยู่ไม่มาก เนื่องจากหอยมือเสือมีแหล่งอาศัยอยู่ตามแนวปะการังที่มีระดับน้ำไม่ลึกเพราะต้องอาศัยแสงสว่างในการดำรงชีพเพื่อให้สาหร่ายซึ่งอาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อสามารถสังเคราะห์แสงได้จึงทำให้หอยมือเสือถูกจับขึ้นมาได้ง่าย ปัจจุบัน หอยมือเสือทุกชนิดได้มีการเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในประเทศไทย โดยชนิดแรกที่เพาะขยายพันธุ์ได้ คือ หอยมือเสือเล็บยาว (T. squamosa) ส่วนชนิด หอยมือเสือยักษ์ (T. gigas) ที่เป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดนั้นไม่สามารถเพาะได้เนื่องจากหาพ่อแม่พันธุ์ไม่ได้
อ้างอิง
- . Paleodb.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-08. สืบค้นเมื่อ 2012-05-20.
- WoRMS. (2009). Tridacna. Accessed through the World Register of Marine Species at http://www.marinespecies.org/aphia.php?p=taxdetails&id=205753 on 2009-01-08.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-11. สืบค้นเมื่อ 2013-10-01.
- "Giant Clam: Tridacna gigas". National Geographis Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-21. สืบค้นเมื่อ 2007-06-02.
- . วิวไฟเดอร์. 5 May 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-13. สืบค้นเมื่อ 6 May 2014.
- Schneider, J.A.,and O´Foighil, D. Phylogeny of Giant Clams (Cardiidae: Tridacninae) Based on Partial Mitochondrial 16S rDNA Gene Sequences. Molecular Phylogenetics and Evolution Vol. 13, No. 1, October, pp. 59–66, 1999
- แฟนพันธุ์แท้, "แฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2008 รอบชิงชนะเลิศ" เกมโชว์ทางช่อง 5: วันศุกร์ที่ 27 มีนาคม 2552
- เปิดโผสัตว์ป่ายอดนิยม ' นางอาย ' อันดับหนึ่ง !, คมชัดลึก ฉบับวันที่ 14 พฤศจิกายน 2546
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-09-11. สืบค้นเมื่อ 2013-10-01.
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Tridacna ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hxymuxesux xngkvs Giant clam epnskulkhxnghxysxngfakhnadihy inwngshxymuxesux Tridacninae ichchuxskulwa Tridacna ithr aedk na hxymuxesux chwngewlathimichiwitxyu imoxsin pccubnhxymuxesuxyks Tridacna gigas epnchnidthimikhnadihythisudkarcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr stwiflm mxllskachn chnibwalewiyxndb wngs wngsyxy hxymuxesux Linnaeus 1758skul hxymuxesux 1797chnidduinenuxhachuxphxngDinodacna Iredale 1937 Persikima Iredale 1937 Sepidacna Iredale 1937 Tridachnes Roding 1798 Tridacne sakdphidody Link 1807 Bruguiere 1797 Vulgodacna Iredale 1937ikhmukkhxnghxymuxesuxykslksnaaelaphvtikrrmhxymuxesuxmiphvtikrrmtangcakhxycaphwkxuntrngthiepluxkdanbncaepidxxkephuxrbaesngaedd caeriykepndanhnakhxnghxymuxesuxaelacaaephswnaemnethil sungepnenuxeyuxxxkmarbaesng sungswnenuxeyuxcamisahraycaphwkidonaeflkeclelt khux canwnmakxasyxyuinaemnethilsungkarxyurwmaebbnitangfaytangidrbpraoychn sungkarxyuaebbphungphaxasy karsngekhraahaesngkhxngsahrayodysahraycaichpraoychncakkharbxnidxxkisdaelakhxngesiythihxymuxesuxplxyxxkma hxymuxesuxkcaidrbsarxaharkhuncakthisahrayphlitidbangswn dngnncungphbehnhxymuxesuxcaxasyxyuinbriewnthinaisaelamiaesngsxngphanipthung xikthngkarthihxymuxesuxmisisntang tangknthng siekhiyw sinaengin kepnphlmacaksngekhraahaesngkhxngsahrayni odypkticaphbhxymuxesuxidinradbkhwamlukimekin 20 emtr swntxmakhux trngrxytxdanlangkhxngfahxy epnbanphbepluxk camiswnthilksnaepnchxngsahrbihesniyenuxeyuxthieriykwa bisss yunxxkmathahnathiechuxmyudtwhxyihekaatidkbhinhruxwsduitna odykrabwnkarsngekhraahaesngkhxngsahraysuaesnethllithixyuintwhxycadudsbexasartang rwmthngkhxngesiysingkhbthaycakstwxuninrabbniews masngekhraahepnxaharaelaphlngnganthiepn cungthaihhxymuxesuxesmuxnepnorngngankacdkhxngesiy xikthnghxymuxesuxmikarkinxaharaebbkrxngkinxaharthilxymatamna dngnn hakmifuntakxnlxymatamna hxymuxesuxkcathahnathidudkrxngfuntakxnehlanniw cungthaihnainbriewnnncungissaxad chwyihrabbniewsnkhxngthaelditamipdwy hxymuxesuxmisxngephsintwediyw odychwngaerkyngimsamarthrabuephsid cnxayupraman 2 pikhunip caepnephsphu mikarsrangnaechux aelaemuxxayupraman 4 pikhrung caepliynepnephsemiy erimsrangikhephuxsubphnthu inekhtrxnhxymuxesuxsamarthsubphnthuidthngpi khnathiinekhtxbxunhxycasubphnthuechphaachwngvdurxnethann hxymuxesux cdepnhxythimikhnadihythisudinolk xacmikhwamyawepluxkidthung 100 120 esntiemtr nahnkidkwa 200 kiolkrm aelamixayuyawidthung 100 pihruxmakkwann khnadelksudyawephiyng 15 esntiemtr phbkracayphnthuthwipinekhtnatuntamaenwpakarngkhxngnannaaethbxinod aepsifik inekhtnannaithyaehlngthiphbhxymuxesuxidmakthisud khux inekhtphunthicnghwdchumphr thisamarthphbhxymuxesuxidhlaykhnadaelahlakhlaysiinekhtaenwpakarngnatunrxb ekaa odyepnhxymuxesuxthngcakkarephaakhyayphnthuaelakhyayphnthukaenidexnginthrrmchati sungepnphlmacakkarxnurkskarcaaenkaebngxxkidepn 2 skulyxy skulyxy Tridacna Tridacna Roding 1798 Tridacna gigas Linnaeus 1758 Lucas Ledua amp Braley 1990 skulyxy Tridacna Chametrachea Richter Roa Quiaoit Jantzen Al Zibdah Kochzius 2008 Lamarck 1819 phbinnannaithy Roding 1798 Tridacna elongata phbinnannaithy Sirenho amp Scarlato 1991 Tridacna squamosa Lamarck 1819 phbinnannaithykarichpraoychnlukhxyesuxkhnadelkinphiphithphnthstwna hxymuxesux epnthrphyakrstwnathimnusynamaichpraoychntngaetsmyobranmaaelw enuxkhxnghxymuxesuxodyechphaaklamenuxyudepluxk epnxaharsungmirakhaaephng epnthiniymbriophkhinhlaypraeths epluxkichthaekhruxngich ekhruxngpradb rwmthngikhmuk sunghxymuxesuxksamarthihidehmuxnkn aelaepnikhmukthimirakhaaephngkwaikhmukpktithrrmda enuxngcakmikhnadihyaelahaidyakmak swnhxymuxesuxkhnadelkniymnamaeliyngintuplathaelswyngam cungthaihhxymuxesuxthukcbkhunmaichpraoychnmakcnekinkalngthrrmchaticathdaethnidthninthukaehlngkaraephrkracaycnkrathngxyuinsphawaiklsuyphnthu hruxbangchnidthukthalaycnhmdipcakbangaehlng cungepnhnungincanwnstwnathiidrbkarkhunbychiinraychuxstwaelaphuchthiiklsuyphnthuhruxhayakinxnusyyawadwykarkharahwangpraethssungchnidkhxngstwpaaelaphuchpathiiklcasuyphnthu hrux CITES aelacdxyuinbychistwsngwnaelakhumkhrxngpraephth 2 tamphrarachbyytisngwnaelakhumkhrxngstwpa ph s 2535 khxngkdhmayithy innannaithyphbhxymuxesuxxyuthnginxawithyaelathaelxndamn phbthnghmd 5 chnid canwnprachakrhxymuxesuxinnannaithyinpccubnmiehluxxyuimmak enuxngcakhxymuxesuxmiaehlngxasyxyutamaenwpakarngthimiradbnaimlukephraatxngxasyaesngswanginkardarngchiphephuxihsahraysungxasyxyuinenuxeyuxsamarthsngekhraahaesngidcungthaihhxymuxesuxthukcbkhunmaidngay pccubn hxymuxesuxthukchnididmikarephaakhyayphnthuidaelwinpraethsithy odychnidaerkthiephaakhyayphnthuid khux hxymuxesuxelbyaw T squamosa swnchnid hxymuxesuxyks T gigas thiepnchnidthiihythisudnnimsamarthephaaidenuxngcakhaphxaemphnthuimidxangxing Paleodb org khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 05 08 subkhnemux 2012 05 20 WoRMS 2009 Tridacna Accessed through the World Register of Marine Species at http www marinespecies org aphia php p taxdetails amp id 205753 on 2009 01 08 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 04 11 subkhnemux 2013 10 01 Giant Clam Tridacna gigas National Geographis Society khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 06 21 subkhnemux 2007 06 02 wiwifedxr 5 May 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 08 13 subkhnemux 6 May 2014 Schneider J A and O Foighil D Phylogeny of Giant Clams Cardiidae Tridacninae Based on Partial Mitochondrial 16S rDNA Gene Sequences Molecular Phylogenetics and Evolution Vol 13 No 1 October pp 59 66 1999 aefnphnthuaeth aefnphnthuaethaehngpi 2008 rxbchingchnaelis ekmochwthangchxng 5 wnsukrthi 27 minakhm 2552 epidophstwpayxdniym nangxay xndbhnung khmchdluk chbbwnthi 14 phvscikayn 2546 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 09 11 subkhnemux 2013 10 01 wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Tridacnaaehlngkhxmulxunkhxmulthiekiywkhxngkb Tridacna thiwikispichis