หอยมือเสือเล็บยาว | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Mollusca |
ชั้น: | Bivalvia |
อันดับ: | |
วงศ์: | Tridacnidae |
สกุล: | Tridacna |
สปีชีส์: | T. squamosa |
ชื่อทวินาม | |
Tridacna squamosa , 1819 |
หอยมือเสือเล็บยาว หรือ หอยมือเสือเกล็ด (อังกฤษ: Fluted giant clam, Scaly clam; ชื่อวิทยาศาสตร์: Tridacna squamosa) เป็นมอลลัสกาจำพวกหอยสองฝาชนิดหนึ่ง ในกลุ่มหอยมือเสือ นับเป็นหอยสองฝาอีกชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
หอยมือเสือเล็บยาว มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับหอยมือเสือชนิดอื่น คือ ใช้ประโยชน์จากในการสังเคราะห์แสง นอกฝาหอยมีเนื้อเยื่อ หรือแมนเทิลยื่นออกมาเป็นระบาย พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่แอฟริกาใต้ ถึงทะเลแดง จนถึงหมู่เกาะมาร์แชลล์ มีขนาดความกว้างของเปลือกประมาณ 40 เซนติเมตร แต่มีพฤติกรรมแตกต่างกันออกไป คือ จะอาศัยเพียงเกาะติดกับหินหรือปะการังเท่านั้น ไม่มีการฝังตัว จึงทำให้ง่ายต่อการนำขึ้นมาจากน้ำ ทำให้เป็นชนิดที่มีเหลือน้อยที่สุดและอยู่ในสภาวะเสี่ยงใกล้สูญพันธุ์มากที่สุดในบรรดาหอยมือเสือที่พบในทะเลไทย
แต่หอยมือเสือเล็บยาว ได้รับการเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงจนเป็นที่สำเร็จได้แล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง ประจวบคีรีขันธ์ ในสังกัดกรมประมง นับเป็นหอยมือเสือชนิดแรกที่ทำการเพาะขยายพันธุ์ได้สำเร็จ โดยทำการรวบรวมพ่อแม่พันธุ์ขนาดความกว้าง 25-30 เซนติเมตร จากทะเลนำมาพักและขุนเลี้ยงไว้ในบ่อคอนกรีตกลางแจ้งที่มีพลาสติกพรางแสงเหนือบ่อเพื่อลดความร้อนและจัดระบบน้ำทะเลให้ไหลผ่านทั่วบ่อ เสริมแพลงก์ตอนพืชให้เป็นอาหาร โดยนำพ่อแม่พันธุ์มาขัดล้างเปลือกให้สะอาด แล้วกระตุ้นให้ปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ เพื่อนำไปสู่การ
ลูกหอยมือเสือเล็บยาวจากการเพาะเลี้ยงในโรงเพาะพันธุ์จะเจริญเติบโตได้ขนาดความยาวเปลือกประมาณ 1 เซนติเมตรแรกเมื่ออายุประมาณ 4 เดือน หลังจากนั้นหากได้รับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจะเติบโตเพิ่มขนาดเปลือกได้ประมาณ 0.5–1 เซนติเมตรต่อเดือน หรือมีขนาดประมาณ 7–8 เซนติเมตรภายในเวลา 1 ปี
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ได้มีการเพาะขยายพันธุ์ลูกหอยมือเสือเล็บยาวได้มากจนมีปริมาณมากพอและนำไปปล่อยลงสู่ทะเล ซึ่งเป็นแหล่งธรรมชาติ จนปัจจุบัน หอยมือเสือเล็บมือยาวมิได้อยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์เหมือนแต่ก่อนอีกแล้ว แต่ก็ยังมีรายชื่อติดอยู่ในสถานะสัตว์ป่าคุ้มครองตาม โดยในเขตน่านน้ำไทยแหล่งที่พบหอยมือเสือเล็บยาวได้มากที่สุด คือ ในเขตพื้นที่จังหวัดชุมพร ที่สามารถพบหอยมือเสือเล็บยาวได้หลายขนาดและหลากหลายสีในเขตแนวปะการังน้ำตื้นรอบ ๆ เกาะ โดยเป็นหอยทั้งจากการเพาะขยายพันธุ์และขยายพันธุ์กำเนิดเองในธรรมชาติ อันเป็นผลมาจากการอนุรักษ์ของทั้งหน่วยงานราชการและผู้ที่อาศัยในท้องถิ่น
อ้างอิง
- Wells, S. 1996. Tridacna squamosa. In: IUCN 2012. IUCN Red List of Threatened Species. Version 2012.2. Downloaded on 26 June 2013.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-11. สืบค้นเมื่อ 2013-10-01.
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-09-11. สืบค้นเมื่อ 2013-10-01.
- สัตว์ป่าคุ้มครอง จากมูลนิธิโลกสีเขียว
- . วิวไฟเดอร์. 5 May 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-13. สืบค้นเมื่อ 6 May 2014.
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Tridacna squamosa ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hxymuxesuxelbyawsthanakarxnurks IUCN 2 3 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Molluscachn Bivalviaxndb wngs Tridacnidaeskul Tridacnaspichis T squamosachuxthwinamTridacna squamosa 1819 hxymuxesuxelbyaw hrux hxymuxesuxekld xngkvs Fluted giant clam Scaly clam chuxwithyasastr Tridacna squamosa epnmxllskacaphwkhxysxngfachnidhnung inklumhxymuxesux nbepnhxysxngfaxikchnidhnungthimikhnadihythisudinolk hxymuxesuxelbyaw milksnathwipkhlaykbhxymuxesuxchnidxun khux ichpraoychncakinkarsngekhraahaesng nxkfahxymienuxeyux hruxaemnethilyunxxkmaepnrabay phbkracayphnthutngaetaexfrikait thungthaelaedng cnthunghmuekaamaraechll mikhnadkhwamkwangkhxngepluxkpraman 40 esntiemtr aetmiphvtikrrmaetktangknxxkip khux caxasyephiyngekaatidkbhinhruxpakarngethann immikarfngtw cungthaihngaytxkarnakhunmacakna thaihepnchnidthimiehluxnxythisudaelaxyuinsphawaesiyngiklsuyphnthumakthisudinbrrdahxymuxesuxthiphbinthaelithy aethxymuxesuxelbyaw idrbkarephaakhyayphnthuinthieliyngcnepnthisaercidaelwtngaetpi ph s 2536 odysunywicyaelaphthnapramngchayfng pracwbkhirikhnth insngkdkrmpramng nbepnhxymuxesuxchnidaerkthithakarephaakhyayphnthuidsaerc odythakarrwbrwmphxaemphnthukhnadkhwamkwang 25 30 esntiemtr cakthaelnamaphkaelakhuneliyngiwinbxkhxnkritklangaecngthimiphlastikphrangaesngehnuxbxephuxldkhwamrxnaelacdrabbnathaelihihlphanthwbx esrimaephlngktxnphuchihepnxahar odynaphxaemphnthumakhdlangepluxkihsaxad aelwkratunihplxyesllsubphnthu ephuxnaipsukar lukhxymuxesuxelbyawcakkarephaaeliynginorngephaaphnthucaecriyetibotidkhnadkhwamyawepluxkpraman 1 esntiemtraerkemuxxayupraman 4 eduxn hlngcaknnhakidrbsphaphaewdlxmthiehmaasmcaetibotephimkhnadepluxkidpraman 0 5 1 esntiemtrtxeduxn hruxmikhnadpraman 7 8 esntiemtrphayinewla 1 pi tlxdrayaewlathiphanma idmikarephaakhyayphnthulukhxymuxesuxelbyawidmakcnmiprimanmakphxaelanaipplxylngsuthael sungepnaehlngthrrmchati cnpccubn hxymuxesuxelbmuxyawmiidxyuinsthanaiklsuyphnthuehmuxnaetkxnxikaelw aetkyngmiraychuxtidxyuinsthanastwpakhumkhrxngtam odyinekhtnannaithyaehlngthiphbhxymuxesuxelbyawidmakthisud khux inekhtphunthicnghwdchumphr thisamarthphbhxymuxesuxelbyawidhlaykhnadaelahlakhlaysiinekhtaenwpakarngnatunrxb ekaa odyepnhxythngcakkarephaakhyayphnthuaelakhyayphnthukaenidexnginthrrmchati xnepnphlmacakkarxnurkskhxngthnghnwynganrachkaraelaphuthixasyinthxngthinxangxingWells S 1996 Tridacna squamosa In IUCN 2012 IUCN Red List of Threatened Species Version 2012 2 Downloaded on 26 June 2013 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 04 11 subkhnemux 2013 10 01 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 09 11 subkhnemux 2013 10 01 stwpakhumkhrxng cakmulnithiolksiekhiyw wiwifedxr 5 May 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 08 13 subkhnemux 6 May 2014 wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Tridacna squamosaaehlngkhxmulxunkhxmulthiekiywkhxngkb Tridacna squamosa thiwikispichis