บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
มาตางิ (ญี่ปุ่น: マタギ; โรมาจิ: Matagi) หมายถึง กลุ่มนักล่าสัตว์แถบภูมิภาคโทโฮกุ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศญี่ปุ่น พบได้ที่เมือง จังหวัดอากิตะ กระจายไปตามเขตป่าเทือกเขาชิรากามิซึ่งเป็นรอยต่อระหว่างจังหวัดอากิตะกับจังหวัดอาโอโมริ และพบได้บริเวณเมืองใกล้เคียง พบเขาล่ากวางและหมีมาตั้งแต่ยุคกลางเป็นต้นมา มีวัฒนธรรมใกล้เคียงกับชาวไอนุ ชนพื้นเมืองซึ่งอาศัยอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ โดยเฉพาะวัฒนธรรม หลังคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา มีการผลิตปืนไรเฟิลในประเทศเพิ่มขึ้น ความจำเป็นในการล่าหมีก็ลดลง วัฒนธรรมมาตางิก็หดหายลงไปตามลำดับ
โดยชื่อ มาตางิ เป็นคำไอนุ มาจากคำว่า มาตันกี (matangi) หรือ มาตันกีโตโน (matangitono) แปลว่า บุรุษแห่งเหมันตฤดู หรือ นายพราน จากการศึกษาของอี (Lee) และฮาเซงาวะ (Hasegawa) ระบุว่า มาตางิ เป็นผู้สืบสันดานจากนายพรานและชาวประมงไอนุซึ่งอพยพลงมาจากเกาะฮกไกโดลงสู่เกาะฮนชู เพื่อล่าสัตว์ให้กับกลุ่มชนที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นในท้องถิ่น พึงสังเกตจากการที่มาตางิใช้คำยืมจากภาษาไอนุสำหรับใช้เรียกชื่อสัตว์และภูมินามจำนวนมาก
การล่าสัตว์ของมาตางิถือเป็นวิถีชีวิตมิใช่ล่าสัตว์เป็นเกมกีฬา พวกเขาเชื่อว่าสัตว์ป่าคือของขวัญที่เทพเจ้าแห่งขุนเขาประทานลงมา มาตางิมีกรรมวิธีจัดการเนื้อสัตว์และการแล่ โดยหลังการฆ่า มาตางิจะมีบทสวดเฉพาะ สัตว์ป่าเหล่านี้จะได้รับการบูชา ไม่มีชิ้นส่วนใดถูกทิ้ง และดวงวิญญาณจะได้รับการปลอบประโลมเพื่อกลับไปสู่ขุนเขาอีกครั้ง
มาตางิอาศัยอยู่ในหมู่บ้านขนาดเล็กแถบชายป่าชายเขาในภูมิภาคโทโฮกุ ที่และ จังหวัดอาโอโมริ และ จังหวัดอากิตะ จังหวัดอิวาเตะ และ จังหวัดยามางาตะ และ จังหวัดนีงาตะ พวกเขาประกอบอาชีพเกษตรกรรมในช่วงฤดูเพาะปลูกและฤดูเก็บเกี่ยว หากเป็นฤดูหนาวและต้นฤดูใบไม้ผลิ พวกเขาจะรวมตัวกันไปล่าสัตว์สัปดาห์ละครั้ง ปัจจุบันมาตางิบางคนขัดแย้งกับนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพราะข้อกังวลด้านการตัดไม้ทำลายป่าและการลดจำนวนลงของสัตว์บางชนิด มาตางิไม่สามารถล่าเลียงผาญี่ปุ่น เพราะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ส่วนการล่าหมียังคงดำเนินต่อไป หากแต่ต้องได้รับใบอนุญาตแบบพิเศษ
อ้างอิง
- Tjeerd de Graaf "Documentation and Revitalisation of two Endangered Languages in Eastern Asia: Nivkh and Ainu" 18 March 2015
- Kudō Masaki (1989). Jōsaku to emishi. Kōkogaku Library #51. New Science Press. p. 134
- Tanigawa, Ken'ichi (1980). Collected works, vol. 1. pp. 324–325
- "Matagi: Hunters as Intermediaries Between 'Wild' and 'Domestic.'" Scott Schnell, Japan Anthropology Workshop, March 14, 2010
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ มาตางิ
- Visit Shirakami
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul matangi khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir matangi yipun マタギ ormaci Matagi hmaythung klumnklastwaethbphumiphakhothohku tngxyuthangthistawnxxkechiyngehnuxkhxngpraethsyipun phbidthiemuxng cnghwdxakita kracayiptamekhtpaethuxkekhachirakamisungepnrxytxrahwangcnghwdxakitakbcnghwdxaoxomri aelaphbidbriewnemuxngiklekhiyng phbekhalakwangaelahmimatngaetyukhklangepntnma miwthnthrrmiklekhiyngkbchawixnu chnphunemuxngsungxasyxyuthangtxnehnuxkhxngpraeths odyechphaawthnthrrm hlngkhriststwrrsthi 19 epntnma mikarphlitpunirefilinpraethsephimkhun khwamcaepninkarlahmikldlng wthnthrrmmatangikhdhaylngiptamladbmatangikbhmithithuklain cnghwdxakita emux ph s 2509 odychux matangi epnkhaixnu macakkhawa matnki matangi hrux matnkioton matangitono aeplwa burusaehngehmntvdu hrux nayphran cakkarsuksakhxngxi Lee aelahaesngawa Hasegawa rabuwa matangi epnphusubsndancaknayphranaelachawpramngixnusungxphyphlngmacakekaahkikodlngsuekaahnchu ephuxlastwihkbklumchnthiichphasayipuninthxngthin phungsngektcakkarthimatangiichkhayumcakphasaixnusahrbicheriykchuxstwaelaphuminamcanwnmak karlastwkhxngmatangithuxepnwithichiwitmiichlastwepnekmkila phwkekhaechuxwastwpakhuxkhxngkhwythiethphecaaehngkhunekhaprathanlngma matangimikrrmwithicdkarenuxstwaelakarael odyhlngkarkha matangicamibthswdechphaa stwpaehlanicaidrbkarbucha immichinswnidthukthing aeladwngwiyyancaidrbkarplxbpraolmephuxklbipsukhunekhaxikkhrng matangixasyxyuinhmubankhnadelkaethbchaypachayekhainphumiphakhothohku thiaela cnghwdxaoxomri aela cnghwdxakita cnghwdxiwaeta aela cnghwdyamangata aela cnghwdningata phwkekhaprakxbxachiphekstrkrrminchwngvduephaaplukaelavduekbekiyw hakepnvduhnawaelatnvduibimphli phwkekhacarwmtwkniplastwspdahlakhrng pccubnmatangibangkhnkhdaeyngkbnkxnurkssingaewdlxm ephraakhxkngwldankartdimthalaypaaelakarldcanwnlngkhxngstwbangchnid matangiimsamarthlaeliyngphayipun ephraaepnstwpakhumkhrxng swnkarlahmiyngkhngdaenintxip hakaettxngidrbibxnuyataebbphiessxangxingTjeerd de Graaf Documentation and Revitalisation of two Endangered Languages in Eastern Asia Nivkh and Ainu 18 March 2015 Kudō Masaki 1989 Jōsaku to emishi Kōkogaku Library 51 New Science Press p 134 Tanigawa Ken ichi 1980 Collected works vol 1 pp 324 325 Matagi Hunters as Intermediaries Between Wild and Domestic Scott Schnell Japan Anthropology Workshop March 14 2010aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb matangi Visit Shirakami