อักษรจีนตัวเต็ม เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน ปรากฏครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ. 337 - 763) อักษรจีนตัวเต็มนั้นสามารถพบได้ในพจนานุกรมคังซี รูปทรงที่ทันสมัยของตัวอักษรจีนดั้งเดิมปรากฏตัวครั้งแรกพร้อมกับการเกิดขึ้นของ (อักษรจีนแบบลี่ซู) ของราชวงศ์ฮั่น ตัวอักษรแบบดั้งเดิมได้รับการปรับปรุงให้มีเสถียรภาพมากขึ้นหรือน้อยลงตั้งแต่ศตวรรษที่ 5 (ในช่วงราชวงศ์เหนือใต้)
อักษรจีนตัวเต็ม | |
---|---|
ชนิด | |
ช่วงยุค | คริสต์ศตวรรษที่ 5 |
ทิศทาง | Left-to-right |
ภาษาพูด | ภาษาจีน ใช้เป็นอักษรทางการใน |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | (เจี๋ยกู่เหวิน)
|
ระบบลูก | |
ISO 15924 | |
Hant (502), Han (Traditional variant) | |
อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้เป็นอักษรทางการใน สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ฮ่องกง มาเก๊า และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชน
ที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวเต็ม หรืออักษรจีนดั้งเดิม ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวย่อ ซึ่งประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์จีนของ สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
วิวัฒนาการ
หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดของอักษรจีนพบหลักฐานปรากฏมาจากแหล่งโบราณคดีปั้นปอ ของทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน สามารถนับย้อนหลังกลับไปได้กว่า 5,000 ปี โดยอยู่ในรูปของอักษรภาพที่สลักเป็นลักษณะรูปวงกลมเสี้ยวพระจันทร์และภูเขาห้ายอดบนเครื่องปั้นดินเผา ซึ่งนับเป็นยุคต้นของศิลปะการเขียนอักษรจีน อักษรภาพที่เก่าแก่ที่สุดในจีน ต่อมาเป็นที่เรียกกันว่า อักษรจารึกบนกระดูกสัตว์ หรือ (甲骨文) เป็นอักษรที่ใช้มีดแกะสลักหรือจารึกลงบนกระดองเต่าหรือกระดูกสัตว์ ปรากฏแพร่หลายใน เมื่อ 1,300–1,100 ปีก่อนคริสตกาล อักษรที่จารึกบนกระดูกสัตว์ได้พัฒนาไปเป็นอักษรหลอมหรือจารึกบนโลหะหรืออักษรโลหะ หรือจินเหวิน (金文) เป็นอักษรที่ใช้ในสมัยซางต่อเนื่องถึงราชวงศ์โจว (1,100 – 771 ปีก่อนคริสต์ศักราช) มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ‘จงติ่งเหวิน’ (鐘鼎文) หมายถึงอักษรที่หลอมลงบนภาชนะทองเหลืองหรือสำริด เนื่องจากตัวแทนภาชนะสำริดในยุคนั้นได้แก่ ‘ติ่ง’ซึ่งเป็นภาชนะคล้ายกระถางมีสามขา
ต่อมาได้มีการพัฒนาไปเป็น (大篆) ซึ่งอักษรต้าจ้วนเป็นอักษรจีนที่ใช้ตั้งแต่ยุคปลาย เกือบเข้ายุคประมุของค์สุดท้ายของโจวตะวันตก จนถึง
อักษรจีนได้มีวิวัฒนาการต่อเนื่องมาถึงในสมัย ในรัชสมัย เสนาบดี ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบอักษรโดยย่ออักษรจีนมาเป็นอักษรชุดใหม่ที่เรียกว่)โดยย่ออักษรจีนต้าจ้วน อักษรจีนแบบเสี่ยวจ้วนที่เสนาบดีหลี่ซือประดิษฐ์ถูกประกาศใช้อย่างเป็นทางการสมัยจักรพรรดิจิ๋นซี
หลังจากจักรพรรดิจิ๋นซีผนวก6รัฐเข้ากับรัฐฉิน ออกราชโองการให้ดินแดนที่เคยเป็นรัฐทั้ง 6 เปลี่ยนมาใช้อักษรแบบเดียวกันหมด ทุกรัฐต้องใช้อักษรเหมือนกัน โดยใช้เสี่ยวจ้วนที่เสนาบดีหลี่ซือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ ก่อนหน้าที่มีอักษรเสี่ยวจ้วน คนจีนใช้อักษรต้าจ้วนเป็นหลัก
ในสมัยจักรพรรดิจิ๋นซี มีทาสคนนึงนามว่า เฉิงเหมี่ยว (程邈) ประดิษฐ์อักษรชุดหนึ่ง ซึ่งภายหลังอักษรนี้ถูกใช้คู่กับเสี่ยวจ้วนในสมัยราชวงศ์ฉิน และเป็นแบบอักษรมาตรฐานในสมัยราชวงศ์ฮั่นจนถึงยุค อักษรชุดใหม่ที่ทาสผู้นี้ประดิษฐ์เรียกว่า ลี่ซู (隸書) อักษรลี่ซูพบหลักฐานตั้งแต่สมัยจ้านกั๋ว แต่พบไม่มาก ต่อมาเฉิงเหมี่ยวประดิษฐ์อักษรชุดนี้เพิ่มจนเป็นอักษรที่ใช้คู่กับอักษรเสี่ยวจ้วนของเสนาบดีหลี่ซือ
หลังจากราชวงศ์ฉินถูกโค่นโดย (劉邦) หลิวปังก่อตั้ง อักษรลี่ซูที่ใช้ในสมัยราชวงศ์ฉินเป็นอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้ในยุคราชวงศ์ฮั่นจนถึงยุค
ต่อมาอักษรลี่ซูได้พัฒนาไปเป็น ซึ่งเป็นอักษรแบบเส้นสัญลักษณ์ที่ประกอบกันขึ้น ภายใต้กรอบสี่เหลี่ยม หลุดพ้นจากรูปแบบอักษรภาพของตัวอักขระยุคโบราณอย่างสิ้นเชิง อักษรข่ายซูมีต้นกำเนิดในยุคปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ภายหลังราชวงศ์วุ่ยจิ้น (สามก๊ก) (คริสต์ศักราช 220 – 316) ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย จากการก้าวเข้าสู่ขอบเขตขั้นก้าวพ้นจากข้อจำกัดของลายเส้นที่มาจากการแกะสลัก เมื่อถึง (คริสต์ศักราช 618 – 907) จึงก้าวสู่ยุคทองของอักษรข่ายซูอย่างแท้จริง อักษรข่ายซูยังเป็นอักษรมาตรฐานของอักษรจีนจวบจนปัจจุบัน
ในสมัยราชวงศ์หมิงได้มีการรวบรวมแบบอักษรจีนดั้งเดิมที่สืบมาจากอักษรข่ายซูไว้ใน ที่จดบันทึกเกี่ยวกับศาสตร์วิชาต่างๆ จนถึงสมัย ในรัชสมัย ได้มีการทำพจนานุกรมรวบรวมอักษรจีนขึ้นอย่างเป็นระบบหรือที่เรียกว่า อักษรจีนได้สืบทอดการใช้จนมาถึงยุค ได้ใช้เป็นอักษรทางการหรือเรียกว่า อักษรจีนตัวเต็ม การใช้อักษรจีนตัวเต็มอย่างเป็นทางการได้ยุติลงเมื่อรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐจีนแพ้ ทำให้ปกครองแผ่นดินใหญ่แทนและสถาปนาขึ้น ในยุครัฐบาลคอมมิวนิสต์ได้ประกาศใช้ตัวที่เตรียมมา ส่วนฝ่ายสาธารณรัฐจีนที่ไปไต้หวันก็ยังคงรักษารูปแบบอักษรจีนตัวเต็มไว้เป็นอักษรทางการและต่อต้านการใช้อักษรจีนตัวย่อ
ข้อถกเถียงเกี่ยวกับการเรียกชื่อ
ชาวจีนแต่ละที่จะเรียกชื่ออักษรจีนตัวเต็มนี้ต่างกัน รัฐบาลสาธารณรัฐจีน หรือไต้หวัน เรียกอักษรจีนตัวเต็มว่า ตัวอักษรมาตรฐาน (อักษรจีนตัวเต็ม: 正體字; อักษรจีนตัวย่อ: 正体字; พินอิน: zhèngtǐzì เจิ้งถี่จื้อ) โดยอ้างว่าอักษรจีนตัวเต็มเป็นอักษรดั้งเดิมที่ถูกต้องและสมบูรณ์ ในทางตรงกันข้าม กลุ่มผู้ใช้อักษรจีนตัวย่อ จะเรียกอักษรจีนตัวเต็มว่า ตัวอักษรซับซ้อน (อักษรจีนตัวเต็ม: 繁體字; อักษรจีนตัวย่อ: 繁体字; พินอิน: fántǐzì ฝานถี่จื้อ) หรือเรียกว่า ตัวอักษรเก่า (老字; พินอิน: lǎozì เหล่าจื้อ) โดยอ้างว่าอักษรจีนตัวเต็มถูกแทนที่แล้ว และไม่ได้นำมาใช้อีก
กลุ่มผู้ใช้อักษรจีนตัวเต็ม โต้แย้งว่า อักษรจีนตัวเต็มไม่ควรถูกเรียกว่า ตัวอักษรซับซ้อน เนื่องด้วยอักษรจีนตัวเต็มไม่ได้รับการเปลี่ยนแปลงให้ซับซ้อนขึ้นแต่อย่างใด เป็นเพียงการใช้มาแต่โบราณ ในทางกลับกัน กลุ่มผู้ใช้อักษรจีนตัวย่อ ก็โต้แย้งกับชื่อ ตัวอักษรมาตรฐาน ด้วยเห็นว่าอักษรจีนตัวย่อเป็นอักษรมาตรฐานใหม่ และยังแย้งอีกว่าอักษรจีนตัวเต็มไม่ใช่อักษรดั้งเดิมที่แท้จริง เพราะอักษรจีนมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด
ชาวจีนสูงอายุมักเรียกอักษรจีนตัวเต็มว่า ตัวอักษรสมบูรณ์ (正字; พินอิน: zhèngzì เจิ๋งจื้อ) และเรียกอักษรจีนตัวย่อว่า ตัวอักษรขีดง่าย (อักษรจีนตัวเต็ม: 簡筆字; อักษรจีนตัวย่อ: 简笔字; พินอิน: jiǎnbǐzì เจี๋ยนปี่จื้อ) หรือ ตัวอักษรลดขีด (อักษรจีนตัวเต็ม: 減筆字; อักษรจีนตัวย่อ: 减笔字; พินอิน: jiǎnbǐzì เจี๋ยนปี่จื้อ)
หมายเหตุ: คำว่า ง่าย 簡 และ ลด 減 ทั้งคู่อ่านออกเสียงว่า jiǎn เจี่ยน เหมือนกัน
สิ่งพิมพ์
ในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ตามปกติแล้ว ประชาชนในจีนแผ่นดินใหญ่และสิงคโปร์นิยมใช้อักษรจีนตัวย่อ ซึ่งรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน กำหนดขึ้นในยุค 1950 ให้เป็นอักษรที่ใช้เป็นทางการอย่างไรก็ตาม ทางสาธารณรัฐประชาชนจีนพิมพ์สื่อที่จะนำเผยแพร่นอกจีนแผ่นดินใหญ่โดยใช้อักษรจีนตัวเต็ม ส่วนในการเขียน คนส่วนมากจะเขียนตัวอักษรแบบหวัด ขีดบางขีดของตัวอักษรอาจถูกย่อ ซึ่งแล้วแต่ลายมือของแต่ละบุคคล โดยส่วนมากแล้ว คนนิยมเขียนโดยใช้ตัวอักษรที่เลือกได้ (異體字) คือการเลือกเขียนตัวอักษรที่มีความหมายเดียวกัน แต่เลือกตัวที่ขีดน้อยกว่า ตัวอย่างเช่น เขียน 体 แทน 體 ตัวอักษรที่เลือกได้เหล่านี้ยังคงเป็นตัวอักษรตัวเต็ม แต่ผู้คนมักเข้าใจผิดอยู่บ่อยๆว่าเป็นอักษรจีนตัวย่อ แม้การใช้ตัวอักษรที่เลือกได้จะไม่เป็นมาตรฐาน แต่ก็เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป และใช้กันอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างที่สำคัญเช่น คำว่า ไต้หวัน (台灣 Táiwān ไถวาน) นิยมใช้ 台 แทน 臺 ซึ่งเป็นตัวอักษรมาตรฐาน
อ้างอิง
- Huang, Jack. Huang, Tim. [1989] (1989) Introduction to Chinese, Japanese, and Korean Computing. World Scientific publishing.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xksrcintwetm epnhnunginsxngrupaebbxksrcinmatrthanthiichknthwolkinpccubn praktkhrngaerkinsmyrachwngshn ph s 337 763 xksrcintwetmnnsamarthphbidinphcnanukrmkhngsi rupthrngthithnsmykhxngtwxksrcindngedimprakttwkhrngaerkphrxmkbkarekidkhunkhxng xksrcinaebblisu khxngrachwngshn twxksraebbdngedimidrbkarprbprungihmiesthiyrphaphmakkhunhruxnxylngtngaetstwrrsthi 5 inchwngrachwngsehnuxit xksrcintwetmchnidxksrphaphchwngyukhkhriststwrrsthi 5thisthangLeft to right phasaphudphasacin ichepnxksrthangkarin ithwn hxngkng maekaxksrthiekiywkhxngrabbaem eciykuehwin cwansu lisu xksrcintwetmrabblukcintwyx khnci hnca cuxonm cuxin khitn suxdibphucxngISO 15924Hant 502 Han Traditional variant bthkhwamniprakxbdwyinsthxksrsakl IPA sahrbkhaaenanaebuxngtnekiywkbsylksn IPA oprddu sahrbkhwamaetktangrahwang aela duthi sthxksrsakl wngelbehliymaelathbHanzi hncux aeplwa twxksrcin ekhiyndwyxksrcintwetm xksrcintwetmidichepnxksrthangkarin satharnrthcin ithwn hxngkng maeka aelachumchnchawcinophnthaelbangchumchn thitxngeriykwaxksrcintwetm hruxxksrcindngedim kephuxihaetktangcakxksrcinmatrthanxikrupaebbhnungthiichinpccubn nnkhux xksrcintwyx sungpradisthaelaerimichodyrthbalphrrkhkhxmmiwnistcinkhxng satharnrthprachachncin cinaephndinihy in ph s 2492 xksrcintwyxxyangaephrhlay swnxksrcintwyx ichknin satharnrthprachachncin singkhopr aelachumchnchawcinophnthaelbangchumchnthierimtngchumchnhlngkarichxksrcintwyxxyangaephrhlay xyangirktam chawithyechuxsaycinswnmakyngkhngichxksrcintwetmepnhlk aetsahrbkarsxnphasacintamsthansuksainpraethsithyswnmakcaichxksrcintwyx ephuxihepnaebbaephnediywknkbsatharnrthprachachncinwiwthnakarhlkthanthiekaaekthisudkhxngxksrcinphbhlkthanpraktmacakaehlngobrankhdipnpx khxngthangtawntkechiyngehnuxkhxngpraethscin samarthnbyxnhlngklbipidkwa 5 000 pi odyxyuinrupkhxngxksrphaphthislkepnlksnarupwngklmesiywphracnthraelaphuekhahayxdbnekhruxngpndinepha sungnbepnyukhtnkhxngsilpakarekhiynxksrcin xksrphaphthiekaaekthisudincin txmaepnthieriykknwa xksrcarukbnkradukstw hrux 甲骨文 epnxksrthiichmidaekaslkhruxcaruklngbnkradxngetahruxkradukstw praktaephrhlayin emux 1 300 1 100 pikxnkhristkal xksrthicarukbnkradukstwidphthnaipepnxksrhlxmhruxcarukbnolhahruxxksrolha hruxcinehwin 金文 epnxksrthiichinsmysangtxenuxngthungrachwngsocw 1 100 771 pikxnkhristskrach michuxeriykxikxyanghnungwa cngtingehwin 鐘鼎文 hmaythungxksrthihlxmlngbnphachnathxngehluxnghruxsarid enuxngcaktwaethnphachnasaridinyukhnnidaek ting sungepnphachnakhlaykrathangmisamkha txmaidmikarphthnaipepn 大篆 sungxksrtacwnepnxksrcinthiichtngaetyukhplay ekuxbekhayukhpramukhxngkhsudthaykhxngocwtawntk cnthung xksrcinidmiwiwthnakartxenuxngmathunginsmy inrchsmy esnabdi idepliynaeplngrupaebbxksrodyyxxksrcinmaepnxksrchudihmthieriykw odyyxxksrcintacwn xksrcinaebbesiywcwnthiesnabdihlisuxpradisththukprakasichxyangepnthangkarsmyckrphrrdicinsi hlngcakckrphrrdicinsiphnwk6rthekhakbrthchin xxkrachoxngkarihdinaednthiekhyepnrththng 6 epliynmaichxksraebbediywknhmd thukrthtxngichxksrehmuxnkn odyichesiywcwnthiesnabdihlisuxpradisthkhunihm kxnhnathimixksresiywcwn khncinichxksrtacwnepnhlk insmyckrphrrdicinsi mithaskhnnungnamwa echingehmiyw 程邈 pradisthxksrchudhnung sungphayhlngxksrnithukichkhukbesiywcwninsmyrachwngschin aelaepnaebbxksrmatrthaninsmyrachwngshncnthungyukh xksrchudihmthithasphunipradistheriykwa lisu 隸書 xksrlisuphbhlkthantngaetsmycankw aetphbimmak txmaechingehmiywpradisthxksrchudniephimcnepnxksrthiichkhukbxksresiywcwnkhxngesnabdihlisux hlngcakrachwngschinthukokhnody 劉邦 hliwpngkxtng xksrlisuthiichinsmyrachwngschinepnxksrcinmatrthanthiichinyukhrachwngshncnthungyukh txmaxksrlisuidphthnaipepn sungepnxksraebbesnsylksnthiprakxbknkhun phayitkrxbsiehliym hludphncakrupaebbxksrphaphkhxngtwxkkhrayukhobranxyangsineching xksrkhaysumitnkaenidinyukhplayrachwngshntawnxxk phayhlngrachwngswuycin samkk khristskrach 220 316 idrbkhwamniymxyangaephrhlay cakkarkawekhasukhxbekhtkhnkawphncakkhxcakdkhxnglayesnthimacakkaraekaslk emuxthung khristskrach 618 907 cungkawsuyukhthxngkhxngxksrkhaysuxyangaethcring xksrkhaysuyngepnxksrmatrthankhxngxksrcincwbcnpccubn insmyrachwngshmingidmikarrwbrwmaebbxksrcindngedimthisubmacakxksrkhaysuiwin thicdbnthukekiywkbsastrwichatang cnthungsmy inrchsmy idmikarthaphcnanukrmrwbrwmxksrcinkhunxyangepnrabbhruxthieriykwa xksrcinidsubthxdkarichcnmathungyukh idichepnxksrthangkarhruxeriykwa xksrcintwetm karichxksrcintwetmxyangepnthangkaridyutilngemuxrthbalaehngsatharnrthcinaeph thaihpkkhrxngaephndinihyaethnaelasthapnakhun inyukhrthbalkhxmmiwnistidprakasichtwthietriymma swnfaysatharnrthcinthiipithwnkyngkhngrksarupaebbxksrcintwetmiwepnxksrthangkaraelatxtankarichxksrcintwyxkhxthkethiyngekiywkbkareriykchuxchawcinaetlathicaeriykchuxxksrcintwetmnitangkn rthbalsatharnrthcin hruxithwn eriykxksrcintwetmwa twxksrmatrthan xksrcintwetm 正體字 xksrcintwyx 正体字 phinxin zhengtǐzi ecingthicux odyxangwaxksrcintwetmepnxksrdngedimthithuktxngaelasmburn inthangtrngknkham klumphuichxksrcintwyx caeriykxksrcintwetmwa twxksrsbsxn xksrcintwetm 繁體字 xksrcintwyx 繁体字 phinxin fantǐzi fanthicux hruxeriykwa twxksreka 老字 phinxin lǎozi ehlacux odyxangwaxksrcintwetmthukaethnthiaelw aelaimidnamaichxik klumphuichxksrcintwetm otaeyngwa xksrcintwetmimkhwrthukeriykwa twxksrsbsxn enuxngdwyxksrcintwetmimidrbkarepliynaeplngihsbsxnkhunaetxyangid epnephiyngkarichmaaetobran inthangklbkn klumphuichxksrcintwyx kotaeyngkbchux twxksrmatrthan dwyehnwaxksrcintwyxepnxksrmatrthanihm aelayngaeyngxikwaxksrcintwetmimichxksrdngedimthiaethcring ephraaxksrcinmikarepliynaeplngmaodytlxd chawcinsungxayumkeriykxksrcintwetmwa twxksrsmburn 正字 phinxin zhengzi ecingcux aelaeriykxksrcintwyxwa twxksrkhidngay xksrcintwetm 簡筆字 xksrcintwyx 简笔字 phinxin jiǎnbǐzi eciynpicux hrux twxksrldkhid xksrcintwetm 減筆字 xksrcintwyx 减笔字 phinxin jiǎnbǐzi eciynpicux hmayehtu khawa ngay 簡 aela ld 減 thngkhuxanxxkesiyngwa jiǎn eciyn ehmuxnknsingphimphinkarphlitsuxsingphimph tampktiaelw prachachnincinaephndinihyaelasingkhoprniymichxksrcintwyx sungrthbalsatharnrthprachachncin kahndkhuninyukh 1950 ihepnxksrthiichepnthangkarxyangirktam thangsatharnrthprachachncinphimphsuxthicanaephyaephrnxkcinaephndinihyodyichxksrcintwetm swninkarekhiyn khnswnmakcaekhiyntwxksraebbhwd khidbangkhidkhxngtwxksrxacthukyx sungaelwaetlaymuxkhxngaetlabukhkhl odyswnmakaelw khnniymekhiynodyichtwxksrthieluxkid 異體字 khuxkareluxkekhiyntwxksrthimikhwamhmayediywkn aeteluxktwthikhidnxykwa twxyangechn ekhiyn 体 aethn 體 twxksrthieluxkidehlaniyngkhngepntwxksrtwetm aetphukhnmkekhaicphidxyubxywaepnxksrcintwyx aemkarichtwxksrthieluxkidcaimepnmatrthan aetkepnthiyxmrbodythwip aelaichknxyangkwangkhwang twxyangthisakhyechn khawa ithwn 台灣 Taiwan ithwan niymich 台 aethn 臺 sungepntwxksrmatrthanxangxingHuang Jack Huang Tim 1989 1989 Introduction to Chinese Japanese and Korean Computing World Scientific publishing