ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ในวิชาคณิตศาสตร์ เซตกำลัง หรือ เพาเวอร์เซต (อังกฤษ: power set) ของเซต S ใดๆ เขียนแสดงด้วยสัญลักษณ์ , P(S), ℙ(S), (S) หรือ 2S เป็นเซตของเซตย่อยทั้งหมดของ S รวมทั้งเซตว่าง และเซต S เอง ตามหลักทฤษฎีเซตเชิงสัจพจน์ (เช่นสัจพจน์ ) รองรับการมีอยู่ของเซตกำลังสำหรับเซตใดๆ
เซตย่อยใดๆ ของ เรียกว่า บน S
ตัวอย่าง
ถ้า S เป็นเซต {x, y, z} แล้วเซตย่อยของ S ได้แก่:
- {} (อาจเขียนแทนด้วย เรียกเซตว่าง)
- {x}
- {y}
- {z}
- {x, y}
- {x, z}
- {y, z}
- {x, y, z}
ดังนั้นเซตกำลังของ S คือ {{}, {x}, {y}, {z}, {x, y}, {x, z}, {y, z}, {x, y, z}}
สมบัติ
ถ้า เป็นเซตจำกัดที่มีสมาชิก ตัว แล้วจำนวนของเซตย่อยของ คือ ทำให้เกิดสัญกรณ์ สามารถพิสูจน์ได้ดังนี้
- เขียนเซตย่อยใดๆ ของ ในรูปแบบ ซึ่ง มีค่า หรือ ถ้า สมาชิกตัวที่ ของ อยู่ในเซตย่อย มิฉะนั้นสมาชิกตัวที่ไม่อยู่ในเซตย่อย ดังนั้นจำนวนของเซตย่อยที่แตกต่างกันทั้งหมดที่สามารถสร้างโดยวิธีนี้คือ
การอ้างเหตุผลแนวทแยงของคันทอร์ แสดงว่าเซตกำลังของเซต (ทั้งเซตจำกัดและเซตอนันต์) มี ภาวะเชิงการนับ มากกว่าเซตนั้นๆ เสมอ (กล่าวคือเซตกำลังของเซตใดๆ ต้องใหญ่กว่าเซตนั้นๆ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีบทของคันทอร์แสดงว่าเซตกำลังของเซตอนันต์นับได้เป็น ตัวอย่าง เช่น เซตกำลังของเซตของจำนวนธรรมชาติมีความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึงกับเซตของจำนวนจริง (ดูหน้า cardinality of the continuum)
เซตกำลังของเซต S และการดำเนินการหายูเนียน อินเตอร์เซกชัน และ ส่วนเติมเต็ม สามารถมองเป็นตัวอย่างต้นแบบของพีชคณิตแบบบูล ที่จริงแล้วยังสามารถแสดงว่าพีชคณิตแบบบูลขนาดจำกัดใดๆ เป็นกับพีชคณิตแบบบูลของเซตกำลังของเซตจำกัดบางเซต สำหรับพีชคณิตแบบบูลขนาดอนันต์ ข้อความนี้ไม่เป็นจริง แต่พีชคณิตแบบบูลขนาดอนันต์ทุกโครงสร้างสามารถแทนด้วย ของเซตกำลังของพีชคณิตแบบบูล (ดูหน้า Stone's representation theorem)
เซตกำลังของเซต S ก่อให้เกิด เมื่อพิจารณาด้วยการดำเนินการหา (โดยมีเซตว่างเป็นสมาชิกเอกลักษณ์และแต่ละเซตเป็นตัวผกผันกับเซตนั้นๆ) เซตกำลังของเซต S ยังก่อให้เกิดสลับที่ เมื่อพิจารณาด้วยการดำเนินการหาอินเตอร์เซกชัน การพิสูจน์กฎการแจกแจงสามารถแสดงว่าเซตกำลังกับการดำเนินการทั้งสองนี้สร้าง
แสดงเซตย่อยในรูปฟังก์ชัน
ในวิชาทฤษฎีเซต เป็นเซตของฟังก์ชันทั้งหมดจาก Y ไป X เพราะว่า "2" อาจนิยามเป็น {0,1} (ดูหน้า (จำนวนธรรมชาติ)) ดังนั้น 2S (นั่นคือ {0,1}S) เป็นเซตของฟังก์ชันทั้งหมดจาก S ไปยัง {0,1} เมื่อจำแนกฟังก์ชันตัวใดตัวหนึ่งใน 2S กับที่สอดคล้องกันของฟังก์ชันนั้น จะเห็นว่ามีความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึงระหว่าง 2S กับ โดยแต่ละฟังก์ชันเป็นฟังก์ชันบ่งชี้ของเซตย่อยที่เป็นสมาชิกของ กับสิ่งที่ฟังก์ชันบ่งชี้บ่งชี้ ฉะนั้น 2S และ ถือว่าเท่ากันทุกประการเชิงทฤษฎีเซตได้ (ดังนั้นจึงมีมูลเหตุสำหรับการเขียนแทนเซตกำลังด้วย 2S สองประการ ได้แก่ การเขียนสับเซตแทนด้วยฟังก์ชันเป็นกรณีพิเศษของสัญกรณ์ XY และสมบัติของเซตกำลังข้างต้นว่า |2S| = 2|S|)
สัญกรณ์สามารถประยุกต์ใช้กับตัวอย่างข้างต้นที่ เพื่อให้เห็นสมสัณฐานกับจำนวนฐานสองตั้งแต่ 0 จนถึง 2n−1 โดย n เป็นจำนวนสมาชิกของเซต 1 ในตำแหน่งที่สอดคล้องกันกับตำแหน่งสมาชิกที่ปรากฏใน S บ่งชี้ถึงการมีสมาชิกตัวนั้นๆ ดังนั้น {x, y} = 110
สำหรับเซตกำลังทั้งหมดของ S จะได้
- { } = 000 (ฐานสอง) = 0 (ฐานสิบ)
- {x} = 100 = 4
- {y} = 010 = 2
- {z} = 001 = 1
- {x, y} = 110 = 6
- {x, z} = 101 = 5
- {y, z} = 011 = 3
- {x, y, z} = 111 = 7
ความสัมพันธ์กับทฤษฎีบททวินาม
เซตกำลังมีความสัมพันธ์กับทฤษฎีบททวินาม จำนวนของเซตที่มีสมาชิก ตัวในเซตกำลังของเซตที่มีสมาชิก ตัวจะเท่ากับการจัดหมู่ เรียกอีกชื่อว่า
ตัวอย่าง เซตกำลังของเซตขนาด 3 มี:
- เซตขนาด 0 เซต
- เซตขนาด 1 เซต
- เซตขนาด 2 เซต
- เซตขนาด 3 เซต
อ้างอิง
- Devlin (1979) หน้า 50
- Puntambekar (2007), หน้า 1-2
รายชื่อหนังสืออ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud inwichakhnitsastr estkalng hrux ephaewxrest xngkvs power set khxngest S id ekhiynaesdngdwysylksn P S displaystyle mathcal P S P S ℙ S S hrux 2S epnestkhxngestyxythnghmdkhxng S rwmthngestwang aelaest S exng tamhlkthvsdiestechingscphcn echnscphcn rxngrbkarmixyukhxngestkalngsahrbestidsmachikkhxngestkalngkhxngest x y z tamkarmismachikinxikesthnungthnghmd estyxyid khxngP S displaystyle mathcal P S eriykwa bn Stwxyangtha S epnest x y z aelwestyxykhxng S idaek xacekhiynaethndwy displaystyle varnothing eriykestwang x y z x y x z y z x y z dngnnestkalngkhxng S khux x y z x y x z y z x y z smbtitha S displaystyle S epnestcakdthimismachik S n displaystyle S n tw aelwcanwnkhxngestyxykhxng S displaystyle S khux P S 2n displaystyle mathcal P S 2 n thaihekidsykrn 2S displaystyle 2 S samarthphisucniddngni ekhiynestyxyid khxng S displaystyle S inrupaebb w1 w2 wn displaystyle omega 1 omega 2 ldots omega n sung wi 1 i n displaystyle omega i 1 leq i leq n mikha 0 displaystyle 0 hrux 1 displaystyle 1 tha wi 1 displaystyle omega i 1 smachiktwthii displaystyle i khxng S displaystyle S xyuinestyxy michannsmachiktwthii displaystyle i imxyuinestyxy dngnncanwnkhxngestyxythiaetktangknthnghmdthisamarthsrangodywithinikhux 2n displaystyle 2 n karxangehtuphlaenwthaeyngkhxngkhnthxr aesdngwaestkalngkhxngest thngestcakdaelaestxnnt mi phawaechingkarnb makkwaestnn esmx klawkhuxestkalngkhxngestid txngihykwaestnn odyechphaaxyangyingthvsdibthkhxngkhnthxraesdngwaestkalngkhxngestxnntnbidepn twxyang echn estkalngkhxngestkhxngcanwnthrrmchatimikhwamsmphnthhnungtxhnungthwthungkbestkhxngcanwncring duhna cardinality of the continuum estkalngkhxngest S aelakardaeninkarhayueniyn xinetxreskchn aela swnetimetm samarthmxngepntwxyangtnaebbkhxngphichkhnitaebbbul thicringaelwyngsamarthaesdngwaphichkhnitaebbbulkhnadcakdid epnkbphichkhnitaebbbulkhxngestkalngkhxngestcakdbangest sahrbphichkhnitaebbbulkhnadxnnt khxkhwamniimepncring aetphichkhnitaebbbulkhnadxnntthukokhrngsrangsamarthaethndwy khxngestkalngkhxngphichkhnitaebbbul duhna Stone s representation theorem estkalngkhxngest S kxihekid emuxphicarnadwykardaeninkarha odymiestwangepnsmachikexklksnaelaaetlaestepntwphkphnkbestnn estkalngkhxngest S yngkxihekidslbthi emuxphicarnadwykardaeninkarhaxinetxreskchn karphisucnkdkaraeckaecngsamarthaesdngwaestkalngkbkardaeninkarthngsxngnisrangaesdngestyxyinrupfngkchninwichathvsdiest epnestkhxngfngkchnthnghmdcak Y ip X ephraawa 2 xacniyamepn 0 1 duhna canwnthrrmchati dngnn 2S nnkhux 0 1 S epnestkhxngfngkchnthnghmdcak S ipyng 0 1 emuxcaaenkfngkchntwidtwhnungin 2S kbthisxdkhlxngknkhxngfngkchnnn caehnwamikhwamsmphnthhnungtxhnungthwthungrahwang 2S kb P S displaystyle mathcal P S odyaetlafngkchnepnfngkchnbngchikhxngestyxythiepnsmachikkhxngP S displaystyle mathcal P S kbsingthifngkchnbngchibngchi chann 2S aela P S displaystyle mathcal P S thuxwaethaknthukprakarechingthvsdiestid dngnncungmimulehtusahrbkarekhiynaethnestkalngdwy 2S sxngprakar idaek karekhiynsbestaethndwyfngkchnepnkrniphiesskhxngsykrn XY aelasmbtikhxngestkalngkhangtnwa 2S 2 S sykrnsamarthprayuktichkbtwxyangkhangtnthi S x y z displaystyle S x y z ephuxihehnsmsnthankbcanwnthansxngtngaet 0 cnthung 2n 1 ody n epncanwnsmachikkhxngest 1 intaaehnngthisxdkhlxngknkbtaaehnngsmachikthipraktin S bngchithungkarmismachiktwnn dngnn x y 110 sahrbestkalngthnghmdkhxng S caid 000 thansxng 0 thansib x 100 4 y 010 2 z 001 1 x y 110 6 x z 101 5 y z 011 3 x y z 111 7khwamsmphnthkbthvsdibththwinamestkalngmikhwamsmphnthkbthvsdibththwinam canwnkhxngestthimismachik k displaystyle k twinestkalngkhxngestthimismachik n displaystyle n twcaethakbkarcdhmu C n k displaystyle C n k eriykxikchuxwa twxyang estkalngkhxngestkhnad 3 mi estkhnad 0 C 3 0 1 displaystyle C 3 0 1 est estkhnad 1 C 3 1 3 displaystyle C 3 1 3 est estkhnad 2 C 3 2 3 displaystyle C 3 2 3 est estkhnad 3 C 3 3 1 displaystyle C 3 3 1 estxangxingDevlin 1979 hna 50 Puntambekar 2007 hna 1 2raychuxhnngsuxxangxing 1979 Fundamentals of contemporary set theory Universitext ISBN 0 387 90441 7 0407 04003 Puntambekar A A 2007 Theory Of Automata And Formal Languages Technical Publications ISBN 978 81 8431 193 8