อาชญากรรมสงคราม (อังกฤษ: war crime) คือ การกระทำอันฝ่าฝืนกฎหมายสงครามอย่างร้ายแรง ทำให้ผู้กระทำต้องรับผิดทางอาญาเป็นการเฉพาะตัว เช่น การฆ่าพลเรือนหรือนักโทษโดยเจตนา, การทรมาน, การทำลายทรัพย์สินพลเรือน, การจับเป็นตัวประกัน, , การข่มขืนกระทำชำเรา, , , , และการละเมิดอย่างร้ายแรงซึ่งหลักและหลัก เป็นต้นว่า การทำลายประชากรพลเรือนด้วย
แนวคิดเรื่องอาชญากรรมสงครามปรากฏขึ้นในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อมีการประมวลกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศที่ใช้บังคับได้สำหรับการทำสงครามระหว่างรัฐอธิปไตย การประมวลกฎหมายดังกล่าวเกิดขึ้นในระดับชาติ เช่น การเผยแพร่ในสหรัฐเมื่อ ค.ศ. 1863 และในระดับนานาชาติ เช่น การตกลงรับสนธิสัญญาใน นอกจากนี้ การพิจารณาคดีในศาลระดับชาติ ณ ช่วงเวลาดังกล่าว ยังช่วยสร้างความกระจ่างให้แก่กฎหมายเหล่านี้ ครั้นสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมสงครามยิ่งมีพัฒนาการสำคัญ การพิจารณาคดีมากมายเกี่ยวกับอาชญากรสงครามของฝ่ายอักษะนั้นส่งผลให้เกิดซึ่งวางข้อความคิดเรื่องอาชญากรรมสงครามอย่างใดจะกลายเป็น นอกจากนี้ เมื่อมีอนุสัญญาเจนีวาใน ค.ศ. 1949 สนธิสัญญาฉบับบนี้ได้ให้นิยามใหม่เกี่ยวกับอาชญากรรมสงคราม และกำหนดให้รัฐทั้งหลายมีในการดำเนินคดีอาชญากรรมดังกล่าว ต่อมาเมื่อมีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นหลายแห่งช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 มีการกำหนดรูปแบบอาชญากรรมสงครามเพิ่มเติมให้ครอบคลุมการขัดกันด้วยอาวุธประเภทอื่น ๆ เช่น สงครามกลางเมือง นอกเหนือไปจากการสู้รบกันระหว่างรัฐกับรัฐ
ประวัติ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
- Bodies of some of the hundreds of Vietnamese villagers who were killed by U.S. soldiers during the My Lai Massacre.
- during the Korean War in 1950
อาชญากรสงครามในประเทศไทย
ในประเทศไทย มีคดีอาชญากรสงครามที่สำคัญ โดยเกิดขึ้นหลังสถานการณ์ทางการเมืองร้อนระอุ และสงครามโลกครั้งที่ 2กำลังจบ โดยมีการจับกุมและฟ้องร้อง จอมพล แปลก พิบูลสงคราม อดีตผู้นำทางการทหารและการเมืองกับพวก ในข้อหาอาชญากรสงครามต่อศาลฎีกา ซึ่งกฎหมายกำหนดให้เป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาชญากรสงคราม ซึ่งนับว่าเป็นวิกฤตการณ์ทางเมืองที่สำคัญของประวัติศาสตร์ไทย ซึ่งวิกฤตการณ์ดังกล่าวคลี่คลายไปได้โดยอำนาจของศาลยุติธรรม ซึ่งวินิจฉัยว่าพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม เฉพาะที่บัญญัติย้อนหลังให้การกระทำก่อนวันใช้กฎหมายเป็นความผิดนั้นขัดต่อรัฐธรรมนูญเป็นโมฆะ ไม่อาจลงโทษจำเลยได้ จอมพล ป. พิบูลสงครามกับพวก จึงได้รับการปล่อยตัวพ้นข้อหา จึงนับได้ว่าบทบาทในทางการเมืองของศาลยุติธรรมในฐานะเป็นสถาบันทางการเมืองด้วย
ในขณะที่กำลังเกิดสงคราม และญี่ปุ่นกำลังบุกเข้ามาที่ไทย จอมพล ป พิบูลสงครามเพิ่งกำลังขึ้นมาดำรงตำแหน่ง รัฐบาลไทยได้ยอมแพ้ลงในเดือนธันวาคม 2484 โดยฝ่ายไทยแสดงที่ท่าสัมพันธไมตรีและให้ความร่วมมือกับประเทศญี่ปุ่นในทุกด้าน เพื่อทำสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร และสุดท้ายอเมริกาได้ทิ้งปรมาณูและเป็นการประกาศการยอมแพ้ญี่ปุ่น
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศสหรัฐอเมริกาได้แถลงการณ์ว่า “...การประกาศสงครามกับประเทศอเมริกาของประเทศไทยเป็นการกระทำที่ผิดต่อรัฐธรรมนูญและเป็นปฏิปักษ์ต่อเจตจำนงของประชาชนชาวไทย และประเทศไทยมีความตั้งใจมั่นที่จะฟื้นความสัมพันธ์ทางไมตรีกับสหประชาชาติเหมือนดังที่มีก่อนถูกญี่ปุ่นเข้าครอบครอง มีคำมั่นสัญญาว่ากฎหมายใดที่ได้ออกมาเป็นปฏิปักษ์ต่อส่วนได้เสียของเราจะได้มีการพิจารณายกเลิก มีคำรับรองว่าถ้ากฎหมายเช่นว่านี้ได้ก่อให้เกิดความเสียหายและประกาศปฏิญญาว่าประเทศไทยจะได้ให้ความร่วมมือทุกอย่างแก่สหประชาชาติในการสร้างเสถียรภาพโลก...”
ปลายเดือนสิงหาคม 2488 นายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในขณะนั้น ได้โทรเลขไปถึง หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ขอให้กลับประเทศไทยมาเป็นนายกรัฐมนตรี อีกทั้งมีการตราพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม พ.ศ. 2488 หลังสงครามโลกครั้งที่สองจบลง ฝ่ายสัมพันธมิตรได้จัดตั้งศาลอาชญากรสงครามขึ้นเพื่อพิจารณาความผิดของฝ่ายอักษะได้ทำไป ที่เมืองนูเรมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี และกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ส่งผลให้ทหารนาซีของประเทศเยอรมนีถูกแขวนคอ จำนวน 12 คน และทหารญี่ปุ่นถูกแขวนคอ จำนวน 7 คน รวมถึงอดีตนายกรัฐมนตรีโตโจ ในส่วนของประเทศไทยนั้น สถานีวิทยุกระจายเสียงที่กรุงเดลลี ประเทศอินเดีย และที่ซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ออกข่าวว่า ฝ่ายสัมพันธมิตรจะนำเอาอาชญากรสงครามในประเทศไทยไปขึ้นศาลต่างประเทศโดยมีอาชญากรสงคราม จำนวน 4 คน คือ แปลก พิบูลสงคราม หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) ประยูร ภมรมนตรี และสังข์ พัธโนทัย โดยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้สั่งให้พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์)ร่างพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามขึ้นและเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาและประกาศใช้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า อาชญากรสงครามเป็นภัยอันร้ายแรงต่อความสงบของโลก สมควรที่จะจัดให้บุคคลที่ประกอบได้สนองกรรมชั่วที่ตนได้กระทำตามโทษานุโทษ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- (2013). Cassese's International Criminal Law (3rd ed.). Oxford University Press. pp. 63–66. ISBN .
- See generally, Article 8 of the .
- วิชา มหาคุณ, ศาลยุติธรรมและการพิพากษาคดี, (บริษัท สำนักพิมพ์วิญญูชน จำกัด, 2536), หน้า 88.
- ปัญญา อุดชาชน, “พระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม : รากฐานการกำเนิดศาลรัฐธรรมนูญ”, รัฐสภาสาร, ปีที่ 61 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนเมษายน 2556, หน้า 35-45.
- อาชญากรสงคราม..
- สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, รายงานการประชุมคณะรัฐมนตรีพิเศษ 27 กันยายน 2488.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xachyakrrmsngkhram xngkvs war crime khux karkrathaxnfafunkdhmaysngkhramxyangrayaerng thaihphukrathatxngrbphidthangxayaepnkarechphaatw echn karkhaphleruxnhruxnkothsodyectna karthrman karthalaythrphysinphleruxn karcbepntwprakn karkhmkhunkrathachaera aelakarlaemidxyangrayaerngsunghlkaelahlk epntnwa karthalayprachakrphleruxndwyphaphthaythiemuxngSuzhou cin pikh s 1938 inphaphsungetmipdwysaksph khxngprachachnchawcinthithukkhaodythharyipunhlumsphcanwnmakkhxngechlysukchawosewiyt swnmakthukkhaodythhareyxrmn rawsam 3 3lankhn aenwkhideruxngxachyakrrmsngkhrampraktkhuninchwnghweliywhwtxkhxngkhriststwrrsthi 20 emuxmikarpramwlkdhmaycaritpraephnirahwangpraethsthiichbngkhbidsahrbkarthasngkhramrahwangrthxthipity karpramwlkdhmaydngklawekidkhuninradbchati echn karephyaephrinshrthemux kh s 1863 aelainradbnanachati echn kartklngrbsnthisyyain nxkcakni karphicarnakhdiinsalradbchati n chwngewladngklaw yngchwysrangkhwamkracangihaekkdhmayehlani khrnsinsngkhramolkkhrngthi 2 kdhmayekiywkbxachyakrrmsngkhramyingmiphthnakarsakhy karphicarnakhdimakmayekiywkbxachyakrsngkhramkhxngfayxksannsngphlihekidsungwangkhxkhwamkhideruxngxachyakrrmsngkhramxyangidcaklayepn nxkcakni emuxmixnusyyaecniwain kh s 1949 snthisyyachbbbniidihniyamihmekiywkbxachyakrrmsngkhram aelakahndihrththnghlaymiinkardaeninkhdixachyakrrmdngklaw txmaemuxmikarcdtngsalrahwangpraethskhunhlayaehngchwngplaykhriststwrrsthi 20 aelatnkhriststwrrsthi 21 mikarkahndrupaebbxachyakrrmsngkhramephimetimihkhrxbkhlumkarkhdkndwyxawuthpraephthxun echn sngkhramklangemuxng nxkehnuxipcakkarsurbknrahwangrthkbrthprawtiswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidBodies of some of the hundreds of Vietnamese villagers who were killed by U S soldiers during the My Lai Massacre during the Korean War in 1950xachyakrsngkhraminpraethsithyinpraethsithy mikhdixachyakrsngkhramthisakhy odyekidkhunhlngsthankarnthangkaremuxngrxnraxu aelasngkhramolkkhrngthi 2kalngcb odymikarcbkumaelafxngrxng cxmphl aeplk phibulsngkhram xditphunathangkarthharaelakaremuxngkbphwk inkhxhaxachyakrsngkhramtxsaldika sungkdhmaykahndihepnsalthimixanacphicarnaphiphaksakhdixachyakrsngkhram sungnbwaepnwikvtkarnthangemuxngthisakhykhxngprawtisastrithy sungwikvtkarndngklawkhlikhlayipidodyxanackhxngsalyutithrrm sungwinicchywaphrarachbyytixachyakrsngkhram echphaathibyytiyxnhlngihkarkrathakxnwnichkdhmayepnkhwamphidnnkhdtxrththrrmnuyepnomkha imxaclngothscaelyid cxmphl p phibulsngkhramkbphwk cungidrbkarplxytwphnkhxha cungnbidwabthbathinthangkaremuxngkhxngsalyutithrrminthanaepnsthabnthangkaremuxngdwy inkhnathikalngekidsngkhram aelayipunkalngbukekhamathiithy cxmphl p phibulsngkhramephingkalngkhunmadarngtaaehnng rthbalithyidyxmaephlngineduxnthnwakhm 2484 odyfayithyaesdngthithasmphnthimtriaelaihkhwamrwmmuxkbpraethsyipuninthukdan ephuxthasngkhramkbfaysmphnthmitr aelasudthayxemrikaidthingprmanuaelaepnkarprakaskaryxmaephyipun hlngsngkhramolkkhrngthi 2 sinsudlng rthmntriwakarkrathrwngtangpraethsshrthxemrikaidaethlngkarnwa karprakassngkhramkbpraethsxemrikakhxngpraethsithyepnkarkrathathiphidtxrththrrmnuyaelaepnptipkstxectcanngkhxngprachachnchawithy aelapraethsithymikhwamtngicmnthicafunkhwamsmphnththangimtrikbshprachachatiehmuxndngthimikxnthukyipunekhakhrxbkhrxng mikhamnsyyawakdhmayidthiidxxkmaepnptipkstxswnidesiykhxngeracaidmikarphicarnaykelik mikharbrxngwathakdhmayechnwaniidkxihekidkhwamesiyhayaelaprakasptiyyawapraethsithycaidihkhwamrwmmuxthukxyangaekshprachachatiinkarsrangesthiyrphapholk playeduxnsinghakhm 2488 naypridi phnmyngkh phusaercrachkaraethnphraxngkhinkhnann idothrelkhipthung hmxmrachwngsesniy praomch khxihklbpraethsithymaepnnaykrthmntri xikthngmikartraphrarachbyytixachyakrsngkhram ph s 2488 hlngsngkhramolkkhrngthisxngcblng faysmphnthmitridcdtngsalxachyakrsngkhramkhunephuxphicarnakhwamphidkhxngfayxksaidthaip thiemuxngnuermebirk praethseyxrmni aelakrungotekiyw praethsyipun sngphlihthharnasikhxngpraethseyxrmnithukaekhwnkhx canwn 12 khn aelathharyipunthukaekhwnkhx canwn 7 khn rwmthungxditnaykrthmntriotoc inswnkhxngpraethsithynn sthaniwithyukracayesiyngthikrungedlli praethsxinediy aelathisanfransisok praethsshrthxemrikaidxxkkhawwa faysmphnthmitrcanaexaxachyakrsngkhraminpraethsithyipkhunsaltangpraethsodymixachyakrsngkhram canwn 4 khn khux aeplk phibulsngkhram hlwngwicitrwathkar wicitr wicitrwathkar prayur phmrmntri aelasngkh phthonthy odyhmxmrachwngsesniy praomch idsngihphrayaxrrthkariyniphnth siththi cunnannth rangphrarachbyytixachyakrsngkhramkhunaelaekhasusphaphuaethnrasdrephuxphicarnaaelaprakasichinrayaewlaxnrwderw odythisphaphuaethnrasdrlngmtiwa xachyakrsngkhramepnphyxnrayaerngtxkhwamsngbkhxngolk smkhwrthicacdihbukhkhlthiprakxbidsnxngkrrmchwthitnidkrathatamothsanuothsduephimkarphicarnakhdienuxrnaebrkh salthharrahwangpraethssahrbtawnxxkiklxangxing 2013 Cassese s International Criminal Law 3rd ed Oxford University Press pp 63 66 ISBN 978 0 19 969492 1 See generally Article 8 of the wicha mhakhun salyutithrrmaelakarphiphaksakhdi bristh sankphimphwiyyuchn cakd 2536 hna 88 pyya xudchachn phrarachbyytixachyakrsngkhram rakthankarkaenidsalrththrrmnuy rthsphasar pithi 61 chbbthi 4 pracaeduxnemsayn 2556 hna 35 45 xachyakrsngkhram sankelkhathikarkhnarthmntri rayngankarprachumkhnarthmntriphiess 27 knyayn 2488