โรคคอพอกตาโปน หรือ โรคเกรฟส์ (อังกฤษ: Graves' disease) เป็นความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ซึ่งมีลักษณะเด่นคือคอพอก (goiter) , ตาโปน (exophthalmos) , ผิวเหมือนเปลือกส้ม ("orange-peel" skin) , และมีภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน (hyperthyroidism) โรคนี้มีสาเหตุมาจากแอนติบอดีในปฏิกิริยาภูมิต้านตนเอง แต่สิ่งกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาดังกล่าวยังไม่ทราบชัดเจน โรคนี้เป็นสาเหตุหลักของภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกินที่พบมากที่สุดในโลก และเป็นภาวะต่อมไทรอยด์โตที่พบมากที่สุดในประเทศที่พัฒนาแล้ว ในยุโรปบางประเทศเรียกโรคนี้ว่า โรคเบสโดว์ (Basedow’s disease) หรือ โรคเกรฟส์-เบสโดว์ (Graves-Basedow disease)
โรคเกรฟส์ | |
---|---|
ชื่ออื่น | Graves' disease, Toxic diffuse goiter, Flajani–Basedow–Graves disease |
The classic finding of and lid retraction in Graves' disease | |
สาขาวิชา | วิทยาต่อมไร้ท่อ |
อาการ | Enlarged thyroid, irritability, muscle weakness, sleeping problems, fast heartbeat, weight loss, poor tolerance of heat |
ภาวะแทรกซ้อน | |
สาเหตุ | ยังไม่ทราบสาเหตุ |
ปัจจัยเสี่ยง | Family history, other autoimmune diseases |
วิธีวินิจฉัย | Blood tests, uptake |
การรักษา | , medications, thyroid surgery |
ความชุก | 0.5% (males), 3% (females) |
โรคคอพอกตาโปนมีอาการเด่นคืออาการต่อมไทรอยด์โตขึ้นและปัญหาของดวงตา อาการแสดงที่ดวงตาของโรคนี้พบมากในผู้สูบบุหรี่และอาจแย่ลงหลังจากการรักษาอาการที่ไทรอยด์ด้วยไอโอดีนรังสี (radioiodine) ดังนั้นอาการแสดงที่ดวงตาจึงไม่ได้เกิดจากตัวต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน ความเข้าใจผิดดังกล่าวเกิดเพราะว่าภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกินจากสาเหตุอื่นๆ ทำให้หนังตาบนหดรั้งขึ้นไป (eyelid lag หรือ hyperthyroid stare) แต่ลูกตาไม่ได้โปนยื่นออกมา ซึ่งทำให้สับสนกับอาการตาโปนที่ลูกตาทั้งลูกยื่นออกมา อย่างไรก็ตามสภาวะทั้งหนังตาบนหดรั้งขึ้นไปและตาโปนอาจเกิดขึ้นพร้อมกันในผู้ป่วยภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกินร่วมกับโรคเกรฟส์
การวินิจฉัย
โรคคอพอกตาโปนมักมีอาการทางคลินิก 1 ข้อในอาการแสดง ดังนี้
- ตาโปน (exophthalmos) ข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง
- บวมน้ำกดไม่บุ๋ม (non-pitting edema หรือ pretibial myxedema) ร่วมกับผิวหนังหนา มักพบที่ขา
- เหนื่อยง่าย น้ำหนักลดร่วมกับอยากอาหาร และอาการอื่นๆ ของภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน
- หัวใจเต้นเร็ว
- กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการแสดง 2 อย่างที่ใช้วินิจฉัยโรคเกรฟส์ (และไม่พบในภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกินชนิดอื่นๆ) คือตาโปนและบวมน้ำกดไม่บุ๋ม คอพอกซึ่งเกิดจากต่อมไทรอยด์โตเป็นชนิดกระจายทั่วทั้งต่อม (diffuse) ซึ่งสามารถพบได้ในภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกินจากสาเหตุอื่น แต่พบมากที่สุดในโรคเกรฟส์ ขนาดต่อมที่โตอาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่หากคอพอกมีขนาดไม่ใหญ่มากอาจตรวจเจอจากการตรวจร่างกายเท่านั้น ในบางครั้งอาการคอพอกอาจตรวจไม่พบทางคลินิก แต่อาจเห็นได้ด้วยการตรวจซีที สแกนหรืออัลตร้าซาวด์
อาการแสดงอื่นของโรคเกรฟส์คือภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน คือการผลิต T3 และ T4 มากกว่าปกติ อาจพบภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานปกติ (normothyroidism) หรือพบภาวะขาดไทรอยด์ (hypothyroidism) ซึ่งมีส่วนช่วยให้เกิดคอพอก (แม้ว่าภาวะดังกล่าวไม่ใช่สาเหตุของโรคเกรฟส์) ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกินในโรคเกรฟส์ตรวจยืนยันโดยการวัดระดับไทรอยด์ฮอร์โมน T3 และ T4 อิสระเพิ่มขึ้นในเลือดเช่นเดียวกับภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกินจากสาเหตุอื่นๆ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆ ที่มีประโยชน์ในโรคนี้เช่นการตรวจฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (thyroid-stimulating hormone, TSH) ซึ่งมักลดลงในโรคเกรฟส์จากผลป้อนกลับ (negative feedback) จากปริมาณ T3 และ T4 ที่เพิ่มขึ้น และการวัดไอโอดีนที่จับกับโปรตีน (protein-bound iodine) ที่จะเพิ่มขึ้น นอกจากนี้อาจตรวจแอนติบอดีกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (thyroid-stimulating antibodies) ได้จากวิธีทางวิทยาเซรุ่ม (serology)
การตัดเนื้อออกตรวจเพื่อตรวจทางจุลพยาธิวิทยาโดยปกติแล้วอาจไม่จำเป็น แต่อาจทำได้หลังจากการตัดต่อมไทรอยด์ (thyroidectomy)
การแยกภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกินที่พบได้บ่อย 2 รูปแบบซึ่งได้แก่โรคเกรฟส์และ มีความจำเป็นในการวางแผนการรักษาที่เหมาะสม การวัดแอนติบอดีต่อตัวรับ TSH (TSH-receptor antibodies) ด้วยวิธี h-TBII assay ได้พิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิผล และเป็นวิธีที่ใช้ได้จริง
อาการทางตา
พยาธิสภาพทางตาเป็นหนึ่งในอาการทั่วไปที่พบบ่อยสุดในโรคคอพอกตาโปน ซึ่งมีคำเรียกได้หลากหลาย ที่พบได้บ่อยคือ โรคตาจากต่อมไทรอยด์เป็นภาวะอักเสบซึ่งส่งผลต่อองค์ประกอบในเบ้าตารวมทั้ง (extraocular muscles) และไขมันในเบ้าตา อาการดังกล่าวพบได้บ่อยร่วมกับโรคเกรฟส์ แต่อาจพบได้น้อยมากใน Hashimoto's thyroiditis, ภาวะขาดไทรอยด์ชนิดปฐมภูมิ (primary hypothyroidism) และ (thyroid cancer)
อาการทางตาที่จำเพาะกับโรคเกรฟส์ได้แก่การอักเสบของเนื้อเยื่ออ่อน, ตาโปน, กระจกตาสัมผัสภายนอก (corneal exposure) , และการกดเบียดเส้นประสาทตา อาการทั่วไปที่พบได้เช่นหนังตาบนหดรั้งขึ้น และหนังตาบนปิดลงช้ากว่าปกติระหว่างการเพ่งมองลงล่าง
การรักษาอาการทางตา
- อาการไม่รุนแรง ใช้, สเตอรอยด์ (เพื่อลดอาการ)
- อาการปานกลาง ทำด้านข้าง (lateral tarsorrhaphy)
- อาการรุนแรง ให้ลดความดันของเบ้าตา หรือ retro-orbital radiation
อาการอื่นๆ
อาการทั่วไปที่พบบ่อยในโรคคอพอกตาโปน ได้แก่
|
|
อุบัติการณ์และระบาดวิทยา
โรคนี้เกิดขึ้นบ่อยในผู้หญิง (อัตราส่วนหญิงต่อเพศชายเป็น 7:1) มักเกิดบ่อยในวัยกลางคน (พบได้มากที่สุดในช่วงอายุ 30-50 ปี) แต่พบน้อยในช่วงวัยรุ่น ระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างวัยหมดระดู หรือในคนอายุมากกว่า 50 ปี มีหลักฐานยืนยันค่อนข้างแน่ชัดว่าพบได้บ่อยในครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นจึงอาจมีปัจจัยทางพันธุกรรมมาเกี่ยวข้อง ในปัจจุบันยังไม่พบความผิดปกติทางพันธุกรรมของยีนเดี่ยวที่เกี่ยวกับโรคนี้
พยาธิสรีรวิทยา
โรคคอพอกตาโปนเป็นความผิดปกติชนิดภูมิต้านตนเอง ซึ่งเกิดจากร่างกายผลิตแอนติบอดีต่อ (TSH receptor) (อาจพบการผลิตแอนติบอดีต่อไทโรกลอบูลินหรือต่อไทรอยด์ฮอร์โมน T3 และ T4 ก็ได้)
แอนติบอดีเหล่านี้จะจับกับตัวรับฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ และกระตุ้นต่อมไทรอยด์ตลอดเวลาทำให้เกิดภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน (hyperthyroidism) ตัวรับดังกล่าวแสดงออกอยู่บนของต่อมไทรอยด์ซึ่งเป็นเซลล์ที่ผลิตไทรอยด์ฮอร์โมน การกระตุ้นอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการผลิต T3 และ T4 สูงกว่าปกติ ทำให้มีอาการแสดงของภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน และทำให้ต่อมไทรอยด์มีขนาดโตขึ้นจนเห็นเป็นคอพอก
อาการตาโปนซึ่งพบได้บ่อยเกิดเนื่องจากต่อมไทรอยด์และกล้ามเนื้อนอกลูกตา (extraocular muscles) มีลักษณะแอนติเจนที่เหมือนกันซึ่งจะทำปฏิกิริยากับแอนติบอดีที่จำเพาะได้เช่นเดียวกัน แอนติบอดีที่จับกับกล้ามเนื้อนอกลูกตาจะทำให้เกิดการบวมด้านหลังลูกตา
ลักษณะผิวหนังที่เหมือนเปลือกส้ม ("orange peel" skin) อธิบายว่าเกิดจากแอนติบอดีที่แทรกอยู่ใต้ผิวหนัง ทำให้เกิดปฏิกิริยาอักเสบ และทำให้เกิดแผ่นพังผืดตามมา
แอนติบอดีที่ทำปฏิกิริยากับตัวรับฮอร์โมนทีเอสเอชที่พบในปัจจุบันมี 3 ชนิด ได้แก่
- TSI (Thyroid stimulating immunoglobulins) แอนติบอดีเหล่านี้ (ส่วนใหญ่เป็น IgG) ทำปฏิกิริยาเป็น LATS (Long Acting Thyroid Stimulants) ซึ่งกระตุ้นเซลล์ได้นานและช้ากว่าทีเอสเอช ทำให้เกิดการผลิตไทรอยด์ฮอร์โมนได้มากกว่าปกติ
- TGI (Thyroid growth immunoglobulins) แอนติบอดีเหล่านี้จับโดยตรงกับตัวรับฮอร์โมนทีเอสเอช และทำให้เกิดการเจริญของไทรอยด์ฟอลลิเคิล
- TBII (Thyrotrophin Binding-Inhibiting Immunoglobulins) แอนติบอดียับยั้งการจับกันของทีเอสเอชและตัวรับ ในบางครั้งอาจทำปฏิกิริยาเหมือนตัวมันเองเป็นทีเอสเอชซึ่งกระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ ส่วนอีกประเภทหนึ่งจะไม่กระตุ้นต่อมไทรอยด์แต่จะยับยั้งไม่ให้ทีเอสเอช และ TSI จับและกระตุ้นกับตัวรับทีเอสเอช
ประวัติศาสตร์
โรคเกรฟส์ได้ชื่อมาจากแพทย์ชาวไอริช โรเบิร์ต เจมส์ เกรฟส์ (Robert James Graves)
อ้างอิง
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH2012
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อMen2014
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNEJM2008
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อHen2015
- ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสภา
- Wallaschofski H, Kuwert T, Lohmann T (2004). "TSH-receptor autoantibodies - differentiation of hyperthyroidism between Graves' disease and toxic multinodular goitre". Exp. Clin. Endocrinol. Diabetes. 112 (4): 171–4. doi:10.1055/s-2004-817930. PMID 15127319.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - https://www.whonamedit.com/synd.cfm/1517.html
แหล่งข้อมูลอื่น
- Graves' disease at the Open Directory Project 2008-06-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
orkhkhxphxktaopn hrux orkhekrfs xngkvs Graves disease epnkhwamphidpktikhxngtxmithrxydsungmilksnaednkhuxkhxphxk goiter taopn exophthalmos phiwehmuxnepluxksm orange peel skin aelamiphawatxmithrxydthanganekin hyperthyroidism orkhnimisaehtumacakaexntibxdiinptikiriyaphumitantnexng aetsingkratunihekidptikiriyadngklawyngimthrabchdecn orkhniepnsaehtuhlkkhxngphawatxmithrxydthanganekinthiphbmakthisudinolk aelaepnphawatxmithrxydotthiphbmakthisudinpraethsthiphthnaaelw inyuorpbangpraethseriykorkhniwa orkhebsodw Basedow s disease hrux orkhekrfs ebsodw Graves Basedow disease orkhekrfschuxxunGraves disease Toxic diffuse goiter Flajani Basedow Graves diseaseThe classic finding of and lid retraction in Graves diseasesakhawichawithyatxmirthxxakarEnlarged thyroid irritability muscle weakness sleeping problems fast heartbeat weight loss poor tolerance of heatphawaaethrksxnsaehtuyngimthrabsaehtupccyesiyngFamily history other autoimmune diseaseswithiwinicchyBlood tests uptakekarrksa medications thyroid surgerykhwamchuk0 5 males 3 females orkhkhxphxktaopnmixakarednkhuxxakartxmithrxydotkhunaelapyhakhxngdwngta xakaraesdngthidwngtakhxngorkhniphbmakinphusubbuhriaelaxacaeylnghlngcakkarrksaxakarthiithrxyddwyixoxdinrngsi radioiodine dngnnxakaraesdngthidwngtacungimidekidcaktwtxmithrxydthanganekin khwamekhaicphiddngklawekidephraawaphawatxmithrxydthanganekincaksaehtuxun thaihhnngtabnhdrngkhunip eyelid lag hrux hyperthyroid stare aetluktaimidopnyunxxkma sungthaihsbsnkbxakartaopnthiluktathnglukyunxxkma xyangirktamsphawathnghnngtabnhdrngkhunipaelataopnxacekidkhunphrxmkninphupwyphawatxmithrxydthanganekinrwmkborkhekrfskarwinicchyorkhkhxphxktaopnmkmixakarthangkhlinik 1 khxinxakaraesdng dngni taopn exophthalmos khanghnunghruxthngsxngkhang bwmnakdimbum non pitting edema hrux pretibial myxedema rwmkbphiwhnnghna mkphbthikha ehnuxyngay nahnkldrwmkbxyakxahar aelaxakarxun khxngphawatxmithrxydthanganekin hwicetnerw klamenuxxxnaerng xakaraesdng 2 xyangthiichwinicchyorkhekrfs aelaimphbinphawatxmithrxydthanganekinchnidxun khuxtaopnaelabwmnakdimbum khxphxksungekidcaktxmithrxydotepnchnidkracaythwthngtxm diffuse sungsamarthphbidinphawatxmithrxydthanganekincaksaehtuxun aetphbmakthisudinorkhekrfs khnadtxmthiotxacmxngehniddwytaepla aethakkhxphxkmikhnadimihymakxactrwcecxcakkartrwcrangkayethann inbangkhrngxakarkhxphxkxactrwcimphbthangkhlinik aetxacehniddwykartrwcsithi saeknhruxxltrasawd xakaraesdngxunkhxngorkhekrfskhuxphawatxmithrxydthanganekin khuxkarphlit T3 aela T4 makkwapkti xacphbphawatxmithrxydthanganpkti normothyroidism hruxphbphawakhadithrxyd hypothyroidism sungmiswnchwyihekidkhxphxk aemwaphawadngklawimichsaehtukhxngorkhekrfs phawatxmithrxydthanganekininorkhekrfstrwcyunynodykarwdradbithrxydhxromn T3 aela T4 xisraephimkhunineluxdechnediywkbphawatxmithrxydthanganekincaksaehtuxun kartrwcthanghxngptibtikarxun thimipraoychninorkhniechnkartrwchxromnkratuntxmithrxyd thyroid stimulating hormone TSH sungmkldlnginorkhekrfscakphlpxnklb negative feedback cakpriman T3 aela T4 thiephimkhun aelakarwdixoxdinthicbkboprtin protein bound iodine thicaephimkhun nxkcaknixactrwcaexntibxdikratuntxmithrxyd thyroid stimulating antibodies idcakwithithangwithyaesrum serology kartdenuxxxktrwcephuxtrwcthangculphyathiwithyaodypktiaelwxacimcaepn aetxacthaidhlngcakkartdtxmithrxyd thyroidectomy karaeykphawatxmithrxydthanganekinthiphbidbxy 2 rupaebbsungidaekorkhekrfsaela mikhwamcaepninkarwangaephnkarrksathiehmaasm karwdaexntibxditxtwrb TSH TSH receptor antibodies dwywithi h TBII assay idphisucnaelwwamiprasiththiphl aelaepnwithithiichidcring xakarthangta phyathisphaphthangtaepnhnunginxakarthwipthiphbbxysudinorkhkhxphxktaopn sungmikhaeriykidhlakhlay thiphbidbxykhux orkhtacaktxmithrxydepnphawaxkesbsungsngphltxxngkhprakxbinebatarwmthng extraocular muscles aelaikhmninebata xakardngklawphbidbxyrwmkborkhekrfs aetxacphbidnxymakin Hashimoto s thyroiditis phawakhadithrxydchnidpthmphumi primary hypothyroidism aela thyroid cancer xakarthangtathicaephaakborkhekrfsidaekkarxkesbkhxngenuxeyuxxxn taopn kracktasmphsphaynxk corneal exposure aelakarkdebiydesnprasathta xakarthwipthiphbidechnhnngtabnhdrngkhun aelahnngtabnpidlngchakwapktirahwangkarephngmxnglnglang karrksaxakarthangta xakarimrunaerng ich setxrxyd ephuxldxakar xakarpanklang thadankhang lateral tarsorrhaphy xakarrunaerng ihldkhwamdnkhxngebata hrux retro orbital radiationxakarxun xakarthwipthiphbbxyinorkhkhxphxktaopn idaek xakaricsn palpitations ichwiw tachycardia makkwa 100 120 khrngtxnathi khwamdneluxdsung hypertension tremor odyechphaakarekhluxnihwlaexiyd echn muxsn ehnguxxxkmak khirxn thnrxnimid xyakxaharmakkhun nahnkldimthrabsaehtu aemkincu hayiclabak klamenuxxxnaerng odyechphaaklamenuxihy echn aekhnaelakha aelaklamenuxlib khwamtxngkarthangephsldlnghruxepliynaeplng nxnimhlb insomnia ichphlngnganmak ehnuxyla fatigue sphawaciticphidpkti khwamcaesuxm smathisnlng prahma kngwl hngudhngid omohngay xyuimsukh hlukhlik xarmnaeprprwn xarmnxxnihw imaennxn elbepraa hkngay brittle nails etanmotphidpkti khxphxk taopn ehnphaphsxn pwdta rakhayta rusukyib thihlngebata hruxrusukehmuxnmithrayinta tabwm aedng hruxhnngtahdrng iwtxaesng xakarraduhang oligomenorrhea phawakhadradu amenorrhea mibutryak txngkhrrphyak hruxaethngbxy phmrwng khntamphiwhnng xakarehmuxnlmphis rusukehmuxnmikxn bwmaedngthiphiwhnngkhxngkha pretibial myxedema thangedinxaharbibtwerw hruxthxngesiy xacmixakarewiynsirsaxubtikarnaelarabadwithyaorkhniekidkhunbxyinphuhying xtraswnhyingtxephschayepn 7 1 mkekidbxyinwyklangkhn phbidmakthisudinchwngxayu 30 50 pi aetphbnxyinchwngwyrun rahwangtngkhrrph rahwangwyhmdradu hruxinkhnxayumakkwa 50 pi mihlkthanyunynkhxnkhangaenchdwaphbidbxyinkhrxbkhrwthimismachikepncungxacmipccythangphnthukrrmmaekiywkhxng inpccubnyngimphbkhwamphidpktithangphnthukrrmkhxngyinediywthiekiywkborkhniphyathisrirwithyaorkhkhxphxktaopnepnkhwamphidpktichnidphumitantnexng sungekidcakrangkayphlitaexntibxditx TSH receptor xacphbkarphlitaexntibxditxithorklxbulinhruxtxithrxydhxromn T3 aela T4 kid aexntibxdiehlanicacbkbtwrbhxromnkratuntxmithrxyd aelakratuntxmithrxydtlxdewlathaihekidphawatxmithrxydthanganekin hyperthyroidism twrbdngklawaesdngxxkxyubnkhxngtxmithrxydsungepnesllthiphlitithrxydhxromn karkratunxyangtxenuxngthaihekidkarphlit T3 aela T4 sungkwapkti thaihmixakaraesdngkhxngphawatxmithrxydthanganekin aelathaihtxmithrxydmikhnadotkhuncnehnepnkhxphxk xakartaopnsungphbidbxyekidenuxngcaktxmithrxydaelaklamenuxnxklukta extraocular muscles milksnaaexntiecnthiehmuxnknsungcathaptikiriyakbaexntibxdithicaephaaidechnediywkn aexntibxdithicbkbklamenuxnxkluktacathaihekidkarbwmdanhlnglukta lksnaphiwhnngthiehmuxnepluxksm orange peel skin xthibaywaekidcakaexntibxdithiaethrkxyuitphiwhnng thaihekidptikiriyaxkesb aelathaihekidaephnphngphudtamma aexntibxdithithaptikiriyakbtwrbhxromnthiexsexchthiphbinpccubnmi 3 chnid idaek TSI Thyroid stimulating immunoglobulins aexntibxdiehlani swnihyepn IgG thaptikiriyaepn LATS Long Acting Thyroid Stimulants sungkratunesllidnanaelachakwathiexsexch thaihekidkarphlitithrxydhxromnidmakkwapkti TGI Thyroid growth immunoglobulins aexntibxdiehlanicbodytrngkbtwrbhxromnthiexsexch aelathaihekidkarecriykhxngithrxydfxlliekhil TBII Thyrotrophin Binding Inhibiting Immunoglobulins aexntibxdiybyngkarcbknkhxngthiexsexchaelatwrb inbangkhrngxacthaptikiriyaehmuxntwmnexngepnthiexsexchsungkratunkarthangankhxngtxmithrxyd swnxikpraephthhnungcaimkratuntxmithrxydaetcaybyngimihthiexsexch aela TSI cbaelakratunkbtwrbthiexsexchprawtisastrorkhekrfsidchuxmacakaephthychawixrich orebirt ecms ekrfs Robert James Graves xangxingxangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux NIH2012 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Men2014 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux NEJM2008 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Hen2015 sphthbyytirachbnthityspha Wallaschofski H Kuwert T Lohmann T 2004 TSH receptor autoantibodies differentiation of hyperthyroidism between Graves disease and toxic multinodular goitre Exp Clin Endocrinol Diabetes 112 4 171 4 doi 10 1055 s 2004 817930 PMID 15127319 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk https www whonamedit com synd cfm 1517 htmlaehlngkhxmulxunGraves disease at the Open Directory Project 2008 06 16 thi ewyaebkaemchchin