เลี้ยงซี หรือ เลงซี มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า เหลียง ซฺวี่ (จีน: 梁緒; พินอิน: Liáng Xù) เป็นขุนนางของรัฐจ๊กก๊กในยุคสามก๊กของจีน เดิมรับราชการในวุยก๊ก ภายหลังแปรพักตร์มาเข้าด้วยจ๊กก๊กแล้วได้เป็นขุนนางตำแหน่งเสนาบดีปฏิคมในราชสำนักจ๊กก๊ก
เลี้ยงซี (เหลียง ซฺวี่) | |
---|---|
梁緒 | |
เสนาบดีปฏิคม (大鴻臚 ต้าหงหลู) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | เล่าเสี้ยน |
เจ้าหน้าที่ปกครอง (功曹 กงเฉา) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. 228 | |
กษัตริย์ | โจยอย |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ไม่ทราบ |
เสียชีวิต | ไม่ทราบ |
อาชีพ | ขุนนาง |
ประวัติ
เลี้ยงซีเริ่มรับราชการในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ปกครอง (功曹 กงเฉา) ในที่ว่าการของเมือง (天水郡 เทียนฉุ่ยจฺวิ้น; ปัจจุบันอยู่บริเวณนคร มณฑลกานซู่) ของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊ก
ในปี ค.ศ. 228 จูกัดเหลียงอัครมหาเสนาบดีและผู้สำเร็จราชการแห่งจ๊กก๊กที่เป็นรัฐอริของวุยก๊กได้เปิดการทัพบุกวุยก๊กครั้งแรก โดยเข้ายึดเขากิสาน (祁山 ฉีซาน; พื้นที่ภูเขาโดยรอบบริเวณที่เป็น มณฑลกานซู่ในปัจจุบัน) เวลานั้นเลี้ยงซีพร้อมด้วยเพื่อนร่วมราชการได้แก่เกียงอุย อินเชียง (尹賞 อิ๋น ฉ่าง) เลี้ยงเขียน (梁虔 เหลียง เฉียน) และคนอื่น ๆ กำลังอยู่ในระหว่างการเดินทางตรวจราชการกับม้าจุ้น (馬遵 หม่า จุน) เจ้าเมืองเทียนซุย ม้าจุ้นทราบข่าวการบุกของจ๊กก๊กและได้ยินว่าหลายอำเภอในเมืองเทียนซุยแปรพักตร์ไปเข้าด้วยข้าศึก ม้าจุ้นจึงระแวงว่าเกียงอุย เลี้ยงซี และคนอื่น ๆ กำลังเดินทางเพื่อไปสวามิภักดิ์ต่อจ๊กก๊กด้วย ม้าจุ้นจึงหนีไปในเวลากลางคืนและไปหลบภัยที่อำเภอเซียงเท้ง (上邽縣 ช่างกุยเซี่ยน; ปัจจุบันอยู่ในเขตนครเทียนฉุ่ย มณฑลกานซู่)
เมื่อเกียงอุย เลี้ยงซี และคนอื่น ๆ รู้ว่าม้าจุ้นละทิ้งพวกตนและหนีไปเพียงลำพัง จึงพยายามไล่ตามม้าจุ้นไปแต่ไม่ทัน พวกเขาถูกปฏิเสธไม่ให้เข้าไปในอำเภอเซียงเท้งเมื่อทั้งหมดเดินทางมาถึง เกียงอุยจึงนำทั้งหมดไปยังอำเภอเอ๊กก๋วน (冀縣/兾縣 จี้เซี่ยน; ปัจจุบันคือ มณฑลกาซู่) แต่ขุนนางผู้รักษาอำเภอเอ๊กก๋วนก็ปฏิเสธไม่ให้พวกเขาเข้ามาเช่นกัน เลี้ยงซี เกียงอุย อินเซียง เลี้ยงเขียน และคนอื่น ๆ เห็นว่าพวกตนไม่มีทางเลือกอื่น จึงเข้าไปสวามิภักดิ์แปรพักตร์เข้าด้วยจ๊กก๊ก ภายหลังทั้งหมดได้รับราชการเป็นขุนนางตำแหน่งสูงในราชสำนักจ๊กก๊ก เลี้ยงซีได้ดำรงตำแหน่งเป็นเสนาบดีปฏิคม (大鴻臚 ต้าหงหลู) เลี้ยงซีเสียชีวิตก่อนการล่มสลายของจ๊กก๊กในปี ค.ศ. 263
ในนิยายสามก๊ก
ในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กในศตวรรษที่ 14 เลี้ยงซีเป็นพี่ชายของเลี้ยงเขียน หลังเกียงอุยสวามิภักดิ์ต่อจ๊กก๊ก ม้าจุ้นและแฮหัวหลิมระแวงว่าเลี้ยงซีและอินเชียงจะแอบสมคบกับเกียงอุยเป็นไส้ศึกอยู่ภายในเมืองเทียนซุย จึงคิดจะจับทั้งคู่สังหารเสีย ในเวลากลางคืนแฮหัวหลิมจึงส่งคนไปเชิญเลี้ยงซีและอินเชียงมาพบหลายครั้ง หวังจะลวงมาสังหาร แต่เลี้ยงซีและอินเชียงเข้าใจสถานการณ์จึงไม่ได้ไปพบแฮหัวหลิม และนำทหารใต้บังคับบัญชาไปเปิดประตูเมืองให้ทัพจ๊กก๊กเข้าเมือง และเข้าสวามิภักดิ์ต่อจ๊กก๊ก เลี้ยงซีอาสาจูกัดเหลียงไปเกลี้ยกล่อมให้เลี้ยงเขียนผู้เป็นน้องชายซึ่งอยู่รักษาอำเภอเซียงเท้งให้มาร่วมเข้าด้วยกับจ๊กก๊ก เลี้ยงซีได้รับได้รับการแต่งตั้งจากจูกัดเหลียงเป็นให้เจ้าเมืองเทียนซุย (天水太守 เทียนฉุ่ยไท่โฉ่ว) แทนที่ม้าจุ้นเจ้าเมืองเทียนซุยคนเดิมที่หลบหนีไปอาศัยกับชนเผ่าเกี๋ยง
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ("เลงซีนายทหารจึงว่าแก่ม้าจุ้นว่า ซึ่งเกียงอุยจะไปเข้าด้วยขงเบ้งโดยจริงนั้นข้าพเจ้าไม่เห็นด้วย ดีร้ายเกียงอุยจะคิดกลอุบายลวงขงเบ้งดอก") "สามก๊ก ตอนที่ ๗๑". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ August 30, 2023.
{{}}
: CS1 maint: url-status () - (梁緒官至大鴻臚) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 44.
- (建興六年,丞相諸葛亮軍向祁山,時天水太守適出案行,維及功曹梁緒、主簿尹賞、主記梁虔等從行。太守聞蜀軍垂至,而諸縣響應,疑維等皆有異心,於是夜亡保上邽。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 44.
- (維等覺太守去,追遲,至城門,城門已閉,不納。維等相率還兾,兾亦不入維。維等乃俱詣諸葛亮。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 44.
- (維昔所俱至蜀,梁緒官至大鴻臚,尹賞執金吾,梁虔大長秋,皆先蜀亡歿。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 44.
- สามก๊ก (ซันกั๋วเหยี่ยนอี้) ตอนที่ 93.
- "สามก๊ก ตอนที่ ๗๑". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ August 30, 2023.
{{}}
: CS1 maint: url-status ()
บรรณานุกรม
- ตันซิ่ว (ศตวรรษที่ 3). จดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อ).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
eliyngsi hrux elngsi michuxinphasacinklangwa ehliyng s wi cin 梁緒 phinxin Liang Xu epnkhunnangkhxngrthckkkinyukhsamkkkhxngcin edimrbrachkarinwuykk phayhlngaeprphktrmaekhadwyckkkaelwidepnkhunnangtaaehnngesnabdiptikhminrachsankckkkeliyngsi ehliyng s wi 梁緒esnabdiptikhm 大鴻臚 tahnghlu darngtaaehnng kh s kh s kstriyelaesiynecahnathipkkhrxng 功曹 kngecha darngtaaehnng kh s kh s 228 228 kstriyocyxykhxmulswnbukhkhlekidimthrabesiychiwitimthrabxachiphkhunnangprawtieliyngsierimrbrachkarintaaehnngecahnathipkkhrxng 功曹 kngecha inthiwakarkhxngemuxng 天水郡 ethiynchuyc win pccubnxyubriewnnkhr mnthlkansu khxngrthwuykkinyukhsamkk inpi kh s 228 cukdehliyngxkhrmhaesnabdiaelaphusaercrachkaraehngckkkthiepnrthxrikhxngwuykkidepidkarthphbukwuykkkhrngaerk odyekhayudekhakisan 祁山 chisan phunthiphuekhaodyrxbbriewnthiepn mnthlkansuinpccubn ewlanneliyngsiphrxmdwyephuxnrwmrachkaridaekekiyngxuy xinechiyng 尹賞 xin chang eliyngekhiyn 梁虔 ehliyng echiyn aelakhnxun kalngxyuinrahwangkaredinthangtrwcrachkarkbmacun 馬遵 hma cun ecaemuxngethiynsuy macunthrabkhawkarbukkhxngckkkaelaidyinwahlayxaephxinemuxngethiynsuyaeprphktripekhadwykhasuk macuncungraaewngwaekiyngxuy eliyngsi aelakhnxun kalngedinthangephuxipswamiphkditxckkkdwy macuncunghniipinewlaklangkhunaelaiphlbphythixaephxesiyngethng 上邽縣 changkuyesiyn pccubnxyuinekhtnkhrethiynchuy mnthlkansu emuxekiyngxuy eliyngsi aelakhnxun ruwamacunlathingphwktnaelahniipephiynglaphng cungphyayamiltammacunipaetimthn phwkekhathukptiesthimihekhaipinxaephxesiyngethngemuxthnghmdedinthangmathung ekiyngxuycungnathnghmdipyngxaephxexkkwn 冀縣 兾縣 ciesiyn pccubnkhux mnthlkasu aetkhunnangphurksaxaephxexkkwnkptiesthimihphwkekhaekhamaechnkn eliyngsi ekiyngxuy xinesiyng eliyngekhiyn aelakhnxun ehnwaphwktnimmithangeluxkxun cungekhaipswamiphkdiaeprphktrekhadwyckkk phayhlngthnghmdidrbrachkarepnkhunnangtaaehnngsunginrachsankckkk eliyngsiiddarngtaaehnngepnesnabdiptikhm 大鴻臚 tahnghlu eliyngsiesiychiwitkxnkarlmslaykhxngckkkinpi kh s 263inniyaysamkkinnwniyayxingprawtisastreruxngsamkkinstwrrsthi 14 eliyngsiepnphichaykhxngeliyngekhiyn hlngekiyngxuyswamiphkditxckkk macunaelaaehhwhlimraaewngwaeliyngsiaelaxinechiyngcaaexbsmkhbkbekiyngxuyepnissukxyuphayinemuxngethiynsuy cungkhidcacbthngkhusngharesiy inewlaklangkhunaehhwhlimcungsngkhnipechiyeliyngsiaelaxinechiyngmaphbhlaykhrng hwngcalwngmasnghar aeteliyngsiaelaxinechiyngekhaicsthankarncungimidipphbaehhwhlim aelanathharitbngkhbbychaipepidpratuemuxngihthphckkkekhaemuxng aelaekhaswamiphkditxckkk eliyngsixasacukdehliyngipekliyklxmiheliyngekhiynphuepnnxngchaysungxyurksaxaephxesiyngethngihmarwmekhadwykbckkk eliyngsiidrbidrbkaraetngtngcakcukdehliyngepnihecaemuxngethiynsuy 天水太守 ethiynchuyithochw aethnthimacunecaemuxngethiynsuykhnedimthihlbhniipxasykbchnephaekiyngduephimraychuxbukhkhlinyukhsamkkxangxing elngsinaythharcungwaaekmacunwa sungekiyngxuycaipekhadwykhngebngodycringnnkhaphecaimehndwy dirayekiyngxuycakhidklxubaylwngkhngebngdxk samkk txnthi 71 wchryan subkhnemux August 30 2023 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk 梁緒官至大鴻臚 cdhmayehtusamkk elmthi 44 建興六年 丞相諸葛亮軍向祁山 時天水太守適出案行 維及功曹梁緒 主簿尹賞 主記梁虔等從行 太守聞蜀軍垂至 而諸縣響應 疑維等皆有異心 於是夜亡保上邽 cdhmayehtusamkk elmthi 44 維等覺太守去 追遲 至城門 城門已閉 不納 維等相率還兾 兾亦不入維 維等乃俱詣諸葛亮 cdhmayehtusamkk elmthi 44 維昔所俱至蜀 梁緒官至大鴻臚 尹賞執金吾 梁虔大長秋 皆先蜀亡歿 cdhmayehtusamkk elmthi 44 samkk snkwehyiynxi txnthi 93 samkk txnthi 71 wchryan subkhnemux August 30 2023 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk brrnanukrm tnsiw stwrrsthi 3 cdhmayehtusamkk sankwcux