ตะกอง | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Reptilia |
อันดับ: | Squamata |
อันดับย่อย: | Sauria |
วงศ์: | Agamidae |
วงศ์ย่อย: | Agaminae |
สกุล: | Physignathus |
สปีชีส์: | P. cocincinus |
ชื่อทวินาม | |
Physignathus cocincinus , 1826 |
ตะกอง หรือ ลั้ง หรือ กิ้งก่ายักษ์ (อังกฤษ: Chinese water dragon; ชื่อวิทยาศาสตร์: Physignathus cocincinus) เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่า ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย มีรูปร่างทั่วไปคล้ายอีกัวน่าที่พบในอเมริกากลางและอเมริกาใต้
ลักษณะ
ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 90-120 เซนติเมตร (ปลายจมูกถึงโคนหาง 35-50 เซนติเมตร และหางยาว 55-70 เซนติเมตร) โดยตัวเมียจะมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้ราว 10-30 เซนติเมตร และจะมีหัวป้อมกว่า สีของลำตัวเข้มกว่า หางมีแถบสีดำเป็นปล้อง ๆ สีลำตัวปกติของตะกองจะมีสีเขียวเข้มและสามารถที่จะเปลี่ยนสีของให้เข้มขึ้นหรืออ่อนลงตามสภาพแวดล้อมได้ ในขณะที่เป็นวัยอ่อนบางตัวใต้คางและส่วนหัวจะมีสีม่วงหรือสีฟ้าแลดูสวยงาม และเมื่อโตขึ้นมาตัวผู้ส่วนหัวด้านบนจะโหนกนูนขึ้นเห็นชัดเจน ส่วนตัวผู้เมียจะมีความนูนน้อยกว่าและพวกมันอาจมีอายุถึง 30 ปีเลยทีเดียว
สถานภาพของตะกองในปัจจุบัน พบน้อยลงมากเนื่องจากถูกจับเป็นสัตว์เลี้ยง จับเพื่อทำเป็นอาหาร และแหล่งที่อยู่อาศัยถูกทำลาย ตาม ได้จัดให้ตะกองเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
พฤติกรรม
มีพฤติกรรมชอบนอนผึ่งแดดตามคาคบไม้ริมห้วยลำธาร เมื่อตกใจจะวิ่ง 2 ขาได้โดยหุบขาหน้าไว้แนบชิดลำตัว และโดยปกติเมื่อมีภัยจะกระโจนลงน้ำ และสามารถดำน้ำได้เป็นเวลานาน
อาหาร
อาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ, กบ, เขียด, ปลาขนาดเล็ก, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก และผลไม้บางชนิด และยังสามารถดำน้ำจับปลาได้อีกด้วย
การวางไข่
ตะกองจะมีฤดูกาลผสมพันธุ์และวางไข่ในระหว่าง เดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม และในหนึ่งครั้งตะกองตัวเมียจะวางไข่ประมาณ 10 ฟอง ตะกองจะวางไข่ บริเวณพื้นดินที่มีลักษณะเป็นดินทรายและจะขุดหลุมลึกลงไปประมาณ 12-17 เซนติเมตร และกว้างประมาณ 12-15 เซนติเมตร
ถิ่นที่อยู่
ตะกอง มีการกระจายพันธุ์ทั่วไปในป่าดิบในตอนใต้ของประเทศจีน, ประเทศลาว, เวียดนาม, กัมพูชา และภาคตะวันออกและอีสานของประเทศไทย ชอบที่จะอาศัยหากินอยู่ในพื้นที่ซึ่งมีแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์และมีสภาพป่าที่ค่อนข้างทึบ เช่น บริเวณริมห้วยที่มีน้ำไหล
การเลี้ยง
ตะกอง ยังเป็นที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลาน แต่ว่าเมื่อเทียบกับอีกัวน่าแล้ว ตะกองเลี้ยงได้ยากกว่าพอสมควรเนื่องจากกินแมลงเป็นอาหารและยังมีนิสัยที่ดุไม่เชื่องเหมือนอีกัวน่า อีกทั้งยังต้องปรับสภาพของที่เลี้ยงให้มีน้ำและมีความชุ่มชื้นพอสมควร
รูปภาพ
- วัยอ่อน
- บริเวณส่วนหัวตัวเมีย
- ตัวผู้ขนาดโตเต็มที่
- ตัวผู้
อ้างอิง
- ตะกอง ลั้ง กระท่าง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
takxngkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Reptiliaxndb Squamataxndbyxy Sauriawngs Agamidaewngsyxy Agaminaeskul Physignathusspichis P cocincinuschuxthwinamPhysignathus cocincinus 1826 takxng hrux lng hrux kingkayks xngkvs Chinese water dragon chuxwithyasastr Physignathus cocincinus epnstweluxykhlanpraephthkingka inwngskingka Agamidae thimikhnadihythisudthiphbidinpraethsithy miruprangthwipkhlayxikwnathiphbinxemrikaklangaelaxemrikaitlksnakhnademuxotetmthiyawpraman 90 120 esntiemtr playcmukthungokhnhang 35 50 esntiemtr aelahangyaw 55 70 esntiemtr odytwemiycamikhnadelkkwatwphuraw 10 30 esntiemtr aelacamihwpxmkwa sikhxnglatwekhmkwa hangmiaethbsidaepnplxng silatwpktikhxngtakxngcamisiekhiywekhmaelasamarththicaepliynsikhxngihekhmkhunhruxxxnlngtamsphaphaewdlxmid inkhnathiepnwyxxnbangtwitkhangaelaswnhwcamisimwnghruxsifaaelduswyngam aelaemuxotkhunmatwphuswnhwdanbncaohnknunkhunehnchdecn swntwphuemiycamikhwamnunnxykwaaelaphwkmnxacmixayuthung 30 pielythiediyw sthanphaphkhxngtakxnginpccubn phbnxylngmakenuxngcakthukcbepnstweliyng cbephuxthaepnxahar aelaaehlngthixyuxasythukthalay tam idcdihtakxngepnstwpakhumkhrxng phvtikrrm miphvtikrrmchxbnxnphungaeddtamkhakhbimrimhwylathar emuxtkiccawing 2 khaidodyhubkhahnaiwaenbchidlatw aelaodypktiemuxmiphycakraocnlngna aelasamarthdanaidepnewlanan xahar xaharidaek aemlngchnidtang kb ekhiyd plakhnadelk stweliynglukdwynanmkhnadelk aelaphlimbangchnid aelayngsamarthdanacbplaidxikdwy karwangikh takxngcamivdukalphsmphnthuaelawangikhinrahwang eduxnemsaynthungeduxnphvsphakhm aelainhnungkhrngtakxngtwemiycawangikhpraman 10 fxng takxngcawangikh briewnphundinthimilksnaepndinthrayaelacakhudhlumluklngippraman 12 17 esntiemtr aelakwangpraman 12 15 esntiemtrthinthixyutakxng mikarkracayphnthuthwipinpadibintxnitkhxngpraethscin praethslaw ewiydnam kmphucha aelaphakhtawnxxkaelaxisankhxngpraethsithy chxbthicaxasyhakinxyuinphunthisungmiaehlngnathixudmsmburnaelamisphaphpathikhxnkhangthub echn briewnrimhwythiminaihlkareliyngtakxng yngepnthiniymeliyngepnstweliyngkhxngphuniymeliyngstweluxykhlan aetwaemuxethiybkbxikwnaaelw takxngeliyngidyakkwaphxsmkhwrenuxngcakkinaemlngepnxaharaelayngminisythiduimechuxngehmuxnxikwna xikthngyngtxngprbsphaphkhxngthieliyngihminaaelamikhwamchumchunphxsmkhwr wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Physignathus cocincinusrupphaphwyxxn briewnswnhwtwemiy twphukhnadotetmthi twphuxangxingtakxng lng krathang