เต่าทะเล | |
---|---|
เต่ามะเฟือง (Dermochelys coriacea) ซึ่งเป็นเต่าทะเลเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์ Dermochelyidae | |
เต่ากระ (Eretmochelys imbricata) จัดอยู่ในวงศ์ Cheloniidae | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Reptilia |
อันดับ: | Testudines |
อันดับย่อย: | Cryptodira |
วงศ์ใหญ่: | Chelonioidea Bauer, 1893 |
วงศ์และสกุล | |
|
เต่าทะเล (อังกฤษ: Sea turtle) เป็นเต่าที่อยู่ในวงศ์ใหญ่ Chelonioidea ซึ่งวิวัฒนาการจนสามารถอาศัยอยู่ได้ในทะเลตลอดเวลา โดยจะไม่ขึ้นมาบนบกเลย นอกจากการวางไข่ของตัวเมียเท่านั้น
ลักษณะ
ถึงแม้เต่าทะเลจะดำรงชีวิตในทะเล แต่ก็ยังคงคุณลักษณะของสัตว์เลื้อยคลานทั่วไป เต่าทะเลมีกระดองเป็นเกล็ดปกคลุมร่างกายซึ่งได้วิวัฒนาการให้มีลักษณะเหมาะกับการว่ายน้ำ มีรูปทรงรีหรือรูปหัวใจ แต่ทว่าทั้งหัวและขาของเต่าทะเลนั้นไม่สามารถที่จะหดเข้าไปในกระดองได้ อีกทั้งยังมีลำไส้ขนาดใหญ่ที่ช่วยในการย่อยอาหารได้ดียิ่งขึ้นรวมทั้งมีไขมันมากกว่าสัตว์เลื้อยคลานจำพวกอื่น เพื่อช่วยในการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ส่วนขาทั้งสี่ข้างถูกพัฒนาให้แบนคล้ายพายเพื่อช่วยในการว่ายน้ำให้ดียิ่งขึ้นกว่าเต่าน้ำทั่วไปที่มีแต่พังผืด โดยขาคู่หน้าใช้ในการผลักดันและพุ้ยน้ำ ส่วนคู่หลังใช้เป็นเหมือนหางเสือกำหนดทิศทาง เต่าทะเลบางตัวสามารถที่จะว่ายน้ำได้เร็วถึง 35 ไมล์ต่อชั่วโมง หรือสามารถที่จะว่ายน้ำข้ามมหาสมุทรนับเป็นระยะทางกว่าร้อยไมล์
เต่าทะเลทุกชนิดมีการวิวัฒนาการตัวเองให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในทะเลและลดการแก่งแย่งกันเอง เช่น การกินอาหารที่แตกต่างกัน ซึ่งเต่าทะเลกินได้ทั้งพืชและสัตว์ แต่ทว่าก็จะมีการกินที่แตกต่างออกไปในแต่ละชนิด การขึ้นมาวางไข่บนหาดที่มีลักษณะและช่วงเวลาที่แตกต่างกัน กระดองก็สามารถที่จะเปลี่ยนแปรได้ตามสิ่งแวดล้อม โดยในปัจจุบัน พบเต่าทะเลได้ในมหาสมุทรและทะเลทั่วโลก ยกเว้นมหาสมุทรใต้เท่านั้น
การวางไข่
ในแต่ละปี จะมีเต่าทะเลที่อยู่ในวัยเจริญพันธุ์ผสมพันธุ์ตามบริเวณต่าง ๆ ในมหาสมุทร ในตอนผสมพันธุ์ ตัวผู้จะเกาะหลังตัวเมียด้วยการกัดเข้าที่คอของตัวเมียเพื่อไม่ให้หลุด หลังจากแล้ว ตัวเมียจะขึ้นหาดขุดทรายวางไข่ โดยเต่าทะเลทุกชนิดขึ้นมาวางไข่เฉพาะเวลากลางคืน ยกเว้นเต่าหญ้าแอตแลนติกเท่านั้นที่มีพฤติกรรมวางไข่ในเวลากลางวันด้วย และส่วนใหญ่จะขึ้นมาวางไข่บนหาดที่ถือกำเนิด ถึงแม้ว่าจะอยู่ห่างไกลแค่ไหนก็ตาม ทั้งนี้สันนิษฐานว่า เต่าทะเลจะกลับมาโดยอาศัยการตรวจจับสนามแม่เหล็กโลก เต่าทะเลตัวเมียเมื่อขึ้นจากน้ำก็จะคลานขึ้นมาบนหาดเพื่อหาจุดที่เหมาะสมในการวางไข่ แต่ถ้าพบว่าหาดนั้นมีแสงสว่างและเสียงรบกวนจะคลานกลับลงน้ำโดยไม่วางไข่ เมื่อพบจุดที่ต้องการก็จะใช้ขาคู่หลังขุดหลุม จนมีลักษณะคล้ายหม้อสองหู การขุดก็จะทำอย่างระมัดระวังโดยใช้พายข้างหนึ่งโกยทรายแล้วดีดออก เมื่อทรายที่ขุดมากขึ้นก็จะใช้พายอีกข้างช่วยโกยออก ต่อจากนั้นก็จะวางไข่ ซึ่งมีลักษณะนิ่มคลุม โดยเต่าแต่ละตัวสามารถที่จะขึ้นมาวางไขได้สองหรือสามครั้ง ขณะที่วางไข่อาจมีของเหลวไหลออกมาจากตา ทั้งนี้เพื่อรักษาระดับความชื้นและป้องกันทรายเข้าตา ซึ่งดูแล้วเหมือนกับว่าเต่าร้องไห้ ซึ่งของเหลวที่ขับออกมานี้คือ เกลือ ไข่เต่าแต่ละฟองจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 ถึง 7 เซนติเมตร (1.5-2.5 นิ้ว) หลังจากไข่เสร็จ เรียบร้อยแล้วก็กลบหลุมและทุบทรายให้แน่น แล้วพรางหลุมโดยการกวาดทราบข้างเคียงจนสังเกตตำแหน่งได้ยาก
ในแต่ละฤดูกาล เต่าตัวเมียจะวางไข่ทุกช่วงสัปดาห์จนกว่าจะหมดท้อง ซึ่งบางตัวอาจจะมีถึง 1,000 ฟอง โดยใช้เวลาในการขึ้นมาวางไข่บนหาด 3-8 ครั้ง แล้วจะกลับมาวางไข่อีกครั้งหลังจากเวลาผ่านไป 2-4 ปี ดังนั้น จำนวนรังในแต่ละปีจึงเปลี่ยนแปลงตลอด ด้วยสาเหตุที่ปริมาณการรอดตายของลูกเต่าทะเลน้อยมาก ดังนั้น ในการวางไข่แต่ละครั้งจึงมีจำนวนมาก ถ้าหาดที่เต่าทะเลขึ้นมาวางไข่ มีพื้นที่น้อย โอกาสที่ไข่เต่าทะเลจะถูกทำลายโดยน้ำท่วมหรือจากน้ำฝนจะมีมาก อุณหภูมิภายในหลุมก็มีผลกระทบต่อการฟังตัว กล่าวคือ ถ้าอุณหภูมิอยู่ในระดับปรกติ โอกาสที่ลูกเต่าทะเลจะฟังจากไข่เป็นเพศเมียทั้งหมดมีมาก ในทำนองเดียวกัน ถ้าอุณหภูมิภายในหลุมต่ำกว่าภายนอก ลูกเต่าทะเลที่ออกจากไข่ก็จะเป็นเพศผู้ทั้งสิ้น
ไข่เต่าทะเลที่รอดจากน้ำท่วมและสัตว์อื่นกินเป็นอาหาร ก็จะฟักออกมาเป็นตัวภายใน 60 วันพร้อมกัน เมื่อลูกเต่าทะเลออกจากไข่ก็จะคลานขึ้น ผิวทราย ก่อนจะถึงผิวหน้าทรายก็จะหยุดตรงจุดที่ลึกจากผิวประมาณ 5 เซนติเมตร เพื่อรอให้อุณหภูมิภายนอกต่ำจึงออกจากทราย ซึ่งส่วนใหญ่ ก็เป็นเวลากลางคืนจึงออกจากหลุมแล้วคลานลงทะเลอย่างรวดเร็ว ช่วงคลานลงทะเลนี้จะเป็นช่วงเวลาที่อันตรายที่สุด ลูกเต่าทะเลทุกตัวจะหันหัวไปยังเส้นขอบฟ้าในทะเลที่สว่างที่สุด ถ้ามีแสงบนหาดก็จะชักจูงให้คลานเข้าหาและในที่สุดก็จะเป็นอันตรายถึงตายได้ มีสัตว์หลายชนิดกินลูกเต่าทะเลเป็นอาหาร เช่น ในช่วงที่คลานลงทะเลก็จะเกิดอันตรายจากนก สัตว์เลื้อยคลานด้วยกันเช่น เหี้ย หรือสัตว์ผู้ล่าอื่น ๆ เช่น พังพอน รวมทั้งมนุษย์ เมื่อถึงน้ำอาจจะถูกปลาฉลามหรือปลาขนาดใหญ่กว่ากินเป็นอาหารได้
ในสัปดาห์แรก ลูกเต่าทะเลไม่สามารถที่จะดำน้ำและใช้ชีวิตใต้ท้องทะเลได้เป็นเวลานาน เพราะยังว่ายน้ำไม่แข็งพอที่จะหลบหลีกจากผู้ล่าได้ การหลบหลีกศัตรูในช่วงนี้จึงใช้วิธีหลบอาศัยและดำรงชีวิตตามหรือพืชทะเลที่ล่องลอยในทะเล ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 ปี จึงจะแข็งแรงพอที่จะเอาชีวิตรอดได้ คาดว่าเต่าทะเลมีอายุยืนยาวนานกว่า 60 ปี
การจำแนก
ปัจจุบันมีเต่าทะเลทั้งหมด 7 ชนิด โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย คือ Cheloniidae ซึ่งเต่าทะเลส่วนมากจะอยู่ในวงศ์นี้ กับ วงศ์ Dermochelyidae ซึ่งมีเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ได้แก่
- วงศ์ Cheloniidae
- เต่าหัวค้อน (Caretta caretta)
- เต่าตนุ (Chelonia mydas)
- เต่ากระ (Eretmochelys imbricata)
- (Lepidochelys kempii)
- เต่าหญ้า (Lepidochelys olivacea)
- (Natator depressus)
- วงศ์ Dermochelyidae
- เต่ามะเฟือง (Dermochelys coriacea)
ซึ่งในน่านน้ำไทยพบทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ เต่าตนุ, เต่ากระ, เต่าหญ้า, เต่ามะเฟือง และเต่าหัวค้อน
ความสัมพันธ์กับมนุษย์และการอนุรักษ์
เต่าทะเลมีความสัมพันธ์กับมนุษย์มาเป็นระยะเวลายาวนาน ดังจะปรากฏอยู่ในนิทานพื้นบ้านของหลายชนชาติ เช่น อุระชิม่า ทาโร่ของญี่ปุ่น ที่ว่าด้วยเด็กหนุ่มที่ชื่ออุระชิมะได้ช่วยชีวิตเต่าทะเลตัวหนึ่งไว้จากการถูกฆ่า ต่อมาเต่าทะเลตัวนี้ได้พาเขาไปยังวังมังกรใต้ทะเลอันเป็นที่ประทับของเจ้าหญิง เป็นต้น
โดยมากแล้ว มนุษย์จะจับเต่าทะเลได้โดยบังเอิญจากการทำประมง ส่วนใหญ่มักจะนำไปรับประทานและนำกระดองไปทำเป็นเครื่องประดับหรือไว้แสดง ไข่ก็ถูกขุดนำมารับประทาน อีกทั้งบางส่วนยังถูกจับมาเป็นสัตว์เลี้ยงอีกด้วย ทำให้ปริมาณเต่าทะเลทั่วทั้งโลกลดลงไปมากอย่างน่าใจหายในช่วงระยะเวลาไม่นาน ประกอบกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปที่ส่งผลถึงทะเลอันเป็นที่อยู่อาศัย
ปัจจุบันนี้ หลายประเทศมีโครงการอนุรักษ์และเพาะพันธุ์เต่าทะเล รวมทั้งออกกฎหมายที่ช่วยในเรื่องการอนุรักษ์ด้วย สำหรับในประเทศไทย หน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทในส่วนนี้มากที่สุด คือ กรมประมงโดยการร่วมมือกับกองทัพเรือ ทำการอนุรักษ์ชายหาดหลายแห่งทั้งบนบกและที่เป็นเกาะในอ่าวไทยและทะเลอันดามันเพื่อการวางไข่ของเต่าทะเล ซึ่งก็มีอยู่หลายแห่ง เช่นที่ , อุทยานแห่งชาติสิรินาถในจังหวัดภูเก็ต ที่อุทยานแห่งชาติเขาลำปี-หาดท้ายเหมือง จังหวัดพังงา บริเวณชายหาดของ จังหวัดชลบุรี เป็นต้น ซึ่งไข่ที่ได้รับการวางและขุดหลุมฝังเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่จะมาเก็บเพื่อนำไปฟักต่อไป โดยจะมีบ่ออนุบาลเพื่อเลี้ยงดูลูกเต่าจนกระทั่งมีความแข็งแรงพอที่จะดำรงชีวิตตนเองได้แล้ว จึงจะนำไปปล่อย อีกทั้ง เมื่อพบเจอเต่าทะเลที่ได้รับบาดเจ็บก็จะนำกลับมารักษาพยาบาลให้อีกด้วย
สำหรับสถานะทางกฎหมายแล้ว เต่าทะเลทุกชนิดในประเทศไทย ถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม
อ้างอิง
- เต่าทะเล[]
- Kemp's Ridley Sea Turtle จาก
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-20. สืบค้นเมื่อ 2011-01-11.
- ทำไมเต่าถึงร้องไห้
- สาระน่ารู้เกี่ยวกับเต่า
- เต่าจะละเม็ด
- อุราชิมา ทาโร
- ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-04-05. สืบค้นเมื่อ 2011-01-11.
- สัตว์ป่าคุ้มครอง
- Sea turtle 2010-11-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- อาหารและการกินของเต่าทะเล
แหล่งข้อมูลอื่น
- ศูนย์อนุรักษ์เต่าทะเล กองทัพเรือ
- เว็บไซต์องค์กรอนุรักษ์เต่าทะเลอย่างเป็นทางการ
- ข้อมูลและภาพประกอบเต่าทะเล
- รายการ ตอน เต่าทะเล 2012-04-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
Animals Speak [by Mahidol ชีวิตอิสระของเต่าทะเล (13 เมษายน 2557)]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
etathaeletamaefuxng Dermochelys coriacea sungepnetathaelephiyngchnidediywthixyuinwngs Dermochelyidaeetakra Eretmochelys imbricata cdxyuinwngs Cheloniidaesthanakarxnurksiklsuyphnthu IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Reptiliaxndb Testudinesxndbyxy Cryptodirawngsihy Chelonioidea Bauer 1893wngsaelaskulwngs Cheloniidae 1811 skul Caretta skul Chelonia skul Eretmochelys skul Lepidochelys skul wngs Dermochelyidae Fitzinger 1843 skul Dermochelys wngs wngs wngs etathael xngkvs Sea turtle epnetathixyuinwngsihy Chelonioidea sungwiwthnakarcnsamarthxasyxyuidinthaeltlxdewla odycaimkhunmabnbkely nxkcakkarwangikhkhxngtwemiyethannlksnathungaemetathaelcadarngchiwitinthael aetkyngkhngkhunlksnakhxngstweluxykhlanthwip etathaelmikradxngepnekldpkkhlumrangkaysungidwiwthnakarihmilksnaehmaakbkarwayna mirupthrngrihruxruphwic aetthwathnghwaelakhakhxngetathaelnnimsamarththicahdekhaipinkradxngid xikthngyngmilaiskhnadihythichwyinkaryxyxahariddiyingkhunrwmthngmiikhmnmakkwastweluxykhlancaphwkxun ephuxchwyinkarihkhwamxbxunaekrangkay swnkhathngsikhangthukphthnaihaebnkhlayphayephuxchwyinkarwaynaihdiyingkhunkwaetanathwipthimiaetphngphud odykhakhuhnaichinkarphlkdnaelaphuyna swnkhuhlngichepnehmuxnhangesuxkahndthisthang etathaelbangtwsamarththicawaynaiderwthung 35 imltxchwomng hruxsamarththicawaynakhammhasmuthrnbepnrayathangkwarxyiml etathaelthukchnidmikarwiwthnakartwexngihehmaasmkbsphaphaewdlxminthaelaelaldkaraekngaeyngknexng echn karkinxaharthiaetktangkn sungetathaelkinidthngphuchaelastw aetthwakcamikarkinthiaetktangxxkipinaetlachnid karkhunmawangikhbnhadthimilksnaaelachwngewlathiaetktangkn kradxngksamarththicaepliynaepridtamsingaewdlxm odyinpccubn phbetathaelidinmhasmuthraelathaelthwolk ykewnmhasmuthritethannkarwangikhinaetlapi camietathaelthixyuinwyecriyphnthuphsmphnthutambriewntang inmhasmuthr intxnphsmphnthu twphucaekaahlngtwemiydwykarkdekhathikhxkhxngtwemiyephuximihhlud hlngcakaelw twemiycakhunhadkhudthraywangikh odyetathaelthukchnidkhunmawangikhechphaaewlaklangkhun ykewnetahyaaextaelntikethannthimiphvtikrrmwangikhinewlaklangwndwy aelaswnihycakhunmawangikhbnhadthithuxkaenid thungaemwacaxyuhangiklaekhihnktam thngnisnnisthanwa etathaelcaklbmaodyxasykartrwccbsnamaemehlkolk etathaeltwemiyemuxkhuncaknakcakhlankhunmabnhadephuxhacudthiehmaasminkarwangikh aetthaphbwahadnnmiaesngswangaelaesiyngrbkwncakhlanklblngnaodyimwangikh emuxphbcudthitxngkarkcaichkhakhuhlngkhudhlum cnmilksnakhlayhmxsxnghu karkhudkcathaxyangramdrawngodyichphaykhanghnungokythrayaelwdidxxk emuxthraythikhudmakkhunkcaichphayxikkhangchwyokyxxk txcaknnkcawangikh sungmilksnanimkhlum odyetaaetlatwsamarththicakhunmawangikhidsxnghruxsamkhrng khnathiwangikhxacmikhxngehlwihlxxkmacakta thngniephuxrksaradbkhwamchunaelapxngknthrayekhata sungduaelwehmuxnkbwaetarxngih sungkhxngehlwthikhbxxkmanikhux eklux ikhetaaetlafxngcamiesnphasunyklang 4 thung 7 esntiemtr 1 5 2 5 niw hlngcakikhesrc eriybrxyaelwkklbhlumaelathubthrayihaenn aelwphranghlumodykarkwadthrabkhangekhiyngcnsngekttaaehnngidyak inaetlavdukal etatwemiycawangikhthukchwngspdahcnkwacahmdthxng sungbangtwxaccamithung 1 000 fxng odyichewlainkarkhunmawangikhbnhad 3 8 khrng aelwcaklbmawangikhxikkhrnghlngcakewlaphanip 2 4 pi dngnn canwnrnginaetlapicungepliynaeplngtlxd dwysaehtuthiprimankarrxdtaykhxngluketathaelnxymak dngnn inkarwangikhaetlakhrngcungmicanwnmak thahadthietathaelkhunmawangikh miphunthinxy oxkasthiikhetathaelcathukthalayodynathwmhruxcaknafncamimak xunhphumiphayinhlumkmiphlkrathbtxkarfngtw klawkhux thaxunhphumixyuinradbprkti oxkasthiluketathaelcafngcakikhepnephsemiythnghmdmimak inthanxngediywkn thaxunhphumiphayinhlumtakwaphaynxk luketathaelthixxkcakikhkcaepnephsphuthngsin ikhetathaelthirxdcaknathwmaelastwxunkinepnxahar kcafkxxkmaepntwphayin 60 wnphrxmkn emuxluketathaelxxkcakikhkcakhlankhun phiwthray kxncathungphiwhnathraykcahyudtrngcudthilukcakphiwpraman 5 esntiemtr ephuxrxihxunhphumiphaynxktacungxxkcakthray sungswnihy kepnewlaklangkhuncungxxkcakhlumaelwkhlanlngthaelxyangrwderw chwngkhlanlngthaelnicaepnchwngewlathixntraythisud luketathaelthuktwcahnhwipyngesnkhxbfainthaelthiswangthisud thamiaesngbnhadkcachkcungihkhlanekhahaaelainthisudkcaepnxntraythungtayid mistwhlaychnidkinluketathaelepnxahar echn inchwngthikhlanlngthaelkcaekidxntraycaknk stweluxykhlandwyknechn ehiy hruxstwphulaxun echn phngphxn rwmthngmnusy emuxthungnaxaccathukplachlamhruxplakhnadihykwakinepnxaharid inspdahaerk luketathaelimsamarththicadanaaelaichchiwititthxngthaelidepnewlanan ephraayngwaynaimaekhngphxthicahlbhlikcakphulaid karhlbhlikstruinchwngnicungichwithihlbxasyaeladarngchiwittamhruxphuchthaelthilxnglxyinthael sungichewlapraman 1 pi cungcaaekhngaerngphxthicaexachiwitrxdid khadwaetathaelmixayuyunyawnankwa 60 pi source source source source source widioxkhlipkarwangikhkhxngetamaefuxng thiotebokkarcaaenkpccubnmietathaelthnghmd 7 chnid odysamarthaebngxxkidepn 2 wngsyxy khux Cheloniidae sungetathaelswnmakcaxyuinwngsni kb wngs Dermochelyidae sungmiephiyngchnidediywethann idaek wngs Cheloniidae etahwkhxn Caretta caretta etatnu Chelonia mydas etakra Eretmochelys imbricata Lepidochelys kempii etahya Lepidochelys olivacea Natator depressus wngs Dermochelyidae etamaefuxng Dermochelys coriacea sunginnannaithyphbthnghmd 5 chnid idaek etatnu etakra etahya etamaefuxng aelaetahwkhxnkhwamsmphnthkbmnusyaelakarxnurksetathaelmikhwamsmphnthkbmnusymaepnrayaewlayawnan dngcapraktxyuinnithanphunbankhxnghlaychnchati echn xurachima thaorkhxngyipun thiwadwyedkhnumthichuxxurachimaidchwychiwitetathaeltwhnungiwcakkarthukkha txmaetathaeltwniidphaekhaipyngwngmngkritthaelxnepnthiprathbkhxngecahying epntn odymakaelw mnusycacbetathaelidodybngexiycakkarthapramng swnihymkcanaiprbprathanaelanakradxngipthaepnekhruxngpradbhruxiwaesdng ikhkthukkhudnamarbprathan xikthngbangswnyngthukcbmaepnstweliyngxikdwy thaihprimanetathaelthwthngolkldlngipmakxyangnaichayinchwngrayaewlaimnan prakxbkbsphaphaewdlxmthiepliynipthisngphlthungthaelxnepnthixyuxasy pccubnni hlaypraethsmiokhrngkarxnurksaelaephaaphnthuetathael rwmthngxxkkdhmaythichwyineruxngkarxnurksdwy sahrbinpraethsithy hnwynganphakhrththimibthbathinswnnimakthisud khux krmpramngodykarrwmmuxkbkxngthpherux thakarxnurkschayhadhlayaehngthngbnbkaelathiepnekaainxawithyaelathaelxndamnephuxkarwangikhkhxngetathael sungkmixyuhlayaehng echnthi xuthyanaehngchatisirinathincnghwdphuekt thixuthyanaehngchatiekhalapi hadthayehmuxng cnghwdphngnga briewnchayhadkhxng cnghwdchlburi epntn sungikhthiidrbkarwangaelakhudhlumfngepnthieriybrxyaelw ecahnathicamaekbephuxnaipfktxip odycamibxxnubalephuxeliyngduluketacnkrathngmikhwamaekhngaerngphxthicadarngchiwittnexngidaelw cungcanaipplxy xikthng emuxphbecxetathaelthiidrbbadecbkcanaklbmarksaphyabalihxikdwy sahrbsthanathangkdhmayaelw etathaelthukchnidinpraethsithy thuxepnstwpakhumkhrxngtamxangxingetathael lingkesiy Kemp s Ridley Sea Turtle cak khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 04 20 subkhnemux 2011 01 11 thaimetathungrxngih saranaruekiywkbeta etacalaemd xurachima thaor sunyxnurksphnthuetathael khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 04 05 subkhnemux 2011 01 11 stwpakhumkhrxng Sea turtle 2010 11 19 thi ewyaebkaemchchin xaharaelakarkinkhxngetathaelaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb etathael sunyxnurksetathael kxngthpherux ewbistxngkhkrxnurksetathaelxyangepnthangkar khxmulaelaphaphprakxbetathael raykar txn etathael 2012 04 27 thi ewyaebkaemchchin Animals Speak by Mahidol chiwitxisrakhxngetathael 13 emsayn 2557