ความคลาดทางทัศนศาสตร์ (optical aberration) คือปรากฏการณ์ที่มีการเกิดสีหรือภาพเบลอหรือมีความบิดเบี้ยวภายในระบบเชิงแสง เช่นใน กล้องโทรทรรศน์ หรือ กล้องถ่ายรูป ซึ่งสร้างขึ้นมาจากเลนส์ หรือ กระจกเงา เนื่องมาจากการแปลงจากวัตถุจริงมาสู่ภาพนั้นไม่เป็นไปตามการคำนวณในอุดมคติทางเรขาคณิต ทำให้แสงเกิดการแยกกันแทนที่จะรวมกันเป็นจุดเดียวตามที่ควรจะเป็น
ภาพรวม
วิธีที่ง่ายที่สุดในการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดจากความคลาดของเลนส์ คือ การสังเกตเห็นว่าแหล่งกำเนิดแสงขาวที่จุดโฟกัสที่ด้านวัตถุไม่ปรากฏเป็นภาพจุดที่จุดโฟกัสที่ด้านภาพ ความบิดเบี้ยวของภาพนี้เป็นผลรวมของความคลาดต่าง ๆ หลายชนิด จึงทำให้ภาพจากจุดเดียวกันเกิดแตกเป็นหลายจุด มองเห็นเป็นภาพที่มีความบิดเบี้ยว
หากพิจารณาตามความยาวคลื่น (ความถี่) ของแสง ความคลาดอาจแบ่งออกเป็น ความคลาดสี และ ความคลาดสีเดียว ความคลาดของสีคือความคลาดที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนสีในภาพ เนื่องจาก ดรรชนีหักเหของสารโดยทั่วไปจะแตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับความยาวคลื่น จึงทำให้เกิดการกระจายของแสง ในขณะที่ความคลาดสีเดียวคือความคลาดที่เกิดขึ้นแม้แต่เมื่อพิจารณาที่คลื่นค่าความยาวคลื่นค่าเดียว
นอกจากนี้ยังอาจจัดประเภทตามทิศของความคลาด โดยความคลาดแนวตั้งคือ ความคลาดที่เกิดจากโฟกัสเลื่อนไปมาด้านหน้าหลัง และความคลาดแนวนอนคือ ความคลาดที่เกิดจากโฟกัสเลื่อนไปภายในแนวระนับโฟกัส
ความคลาด 5 ชนิดที่เด่นชัดได้ถูกศึกษาโดยฟิลลิพ ลูทวิช ฟ็อน ไซเดิล และถูกเรียกว่าเป็นความคลาดไซเดิล และมีการศึกษาเพิ่มเติมในภายหลังโดย ฟริตซ์ แซร์นีเกอ โดยได้รับการอธิบายทางคณิตศาสตร์ด้วย
การแก้ไขความคลาดทำได้โดยการรวมเลนส์เดี่ยวมากกว่าหนึ่งอันเข้าด้วยกัน ตัวอย่างเช่น ในกรณีของความคลาดสี ได้มีการออกแบบเพื่อให้ลำแสงหลายสี (สองสีสำหรับเลนส์อรงค์, สามสีขึ้นไปสำหรับ) มาบรรจบกันได้ ที่ค่าดรรชนีหักเหที่ต้องการ โดยการประกอบรวมความนูนเว้าของเลนส์ที่ทำจากเข้ากับดรรชนีหักเหและการกระจายแสงที่แตกต่างกัน
เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ได้มีการใช้พื้นผิวที่ไม่เป็นทรงกลมด้วย การพัฒนาคอมพิวเตอร์และการวิจัยเกี่ยวกับวิธีการคำนวณทำให้สามารถทำการคำนวณที่ซับซ้อนได้ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาระบบเชิงแสงที่ใช้พื้นผิวรูปแบบอิสระที่ซับซ้อนตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 21
อนึ่ง ตามหลักการแล้วภาพถ่ายจากกล้องรูเข็มจะไม่มีความคลาด
ในกรณีของ ธรรมชาติของคลื่นของอิเล็กตรอนทำให้เกิดการแพร่กระจายของความเข้ม ซึ่งเรียกว่าความ ความคลาดการเลี้ยวเบน ปรากฏการณ์ที่คล้ายกันในหลักการเนื่องจากธรรมชาติของคลื่นของแสงถือว่าเป็นภาพเบลอที่มีรูรับแสงขนาดเล็ก หากมองในแง่นี้ ก็อาจกล่าวได้ว่าการถ่ายภาพรูเข็มก็มีความคลาดเช่นกัน
หากระดับการหักเหของแสงต่ำ เช่น ในเลนส์แว่นตา ความคลาดจะน้อยมากจนไม่สังเกตเห็นและสามารถละเลยได้ แต่สำหรับแว่นของคนที่สายตาสั้นมาก ๆ ก็จำเป็นต้องมีการปรับแก้ความคลาดด้วยเช่นกัน
อ้างอิง
- ; Wheeler, Gerald (1992). Physics: A World View (2nd ed.). Philadelphia: Harcourt Brace College Publishers. p. 410. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamkhladthangthsnsastr optical aberration khuxpraktkarnthimikarekidsihruxphapheblxhruxmikhwambidebiywphayinrabbechingaesng echnin klxngothrthrrsn hrux klxngthayrup sungsrangkhunmacakelns hrux krackenga enuxngmacakkaraeplngcakwtthucringmasuphaphnnimepniptamkarkhanwninxudmkhtithangerkhakhnit thaihaesngekidkaraeykknaethnthicarwmknepncudediywtamthikhwrcaepnphaphrwmwithithingaythisudinkarxthibaypraktkarnthiekidcakkhwamkhladkhxngelns khux karsngektehnwaaehlngkaenidaesngkhawthicudofksthidanwtthuimpraktepnphaphcudthicudofksthidanphaph khwambidebiywkhxngphaphniepnphlrwmkhxngkhwamkhladtang hlaychnid cungthaihphaphcakcudediywknekidaetkepnhlaycud mxngehnepnphaphthimikhwambidebiyw hakphicarnatamkhwamyawkhlun khwamthi khxngaesng khwamkhladxacaebngxxkepn khwamkhladsi aela khwamkhladsiediyw khwamkhladkhxngsikhuxkhwamkhladthithaihekidkarepliynsiinphaph enuxngcak drrchnihkehkhxngsarodythwipcaaetktangknodykhunxyukbkhwamyawkhlun cungthaihekidkarkracaykhxngaesng inkhnathikhwamkhladsiediywkhuxkhwamkhladthiekidkhunaemaetemuxphicarnathikhlunkhakhwamyawkhlunkhaediyw nxkcakniyngxaccdpraephthtamthiskhxngkhwamkhlad odykhwamkhladaenwtngkhux khwamkhladthiekidcakofkseluxnipmadanhnahlng aelakhwamkhladaenwnxnkhux khwamkhladthiekidcakofkseluxnipphayinaenwranbofks khwamkhlad 5 chnidthiednchdidthuksuksaodyfilliph luthwich fxn isedil aelathukeriykwaepnkhwamkhladisedil aelamikarsuksaephimetiminphayhlngody frits aesrniekx odyidrbkarxthibaythangkhnitsastrdwy karaekikhkhwamkhladthaidodykarrwmelnsediywmakkwahnungxnekhadwykn twxyangechn inkrnikhxngkhwamkhladsi idmikarxxkaebbephuxihlaaesnghlaysi sxngsisahrbelnsxrngkh samsikhunipsahrb mabrrcbknid thikhadrrchnihkehthitxngkar odykarprakxbrwmkhwamnunewakhxngelnsthithacakekhakbdrrchnihkehaelakarkracayaesngthiaetktangkn enuxngcakkhwamkawhnathangethkhonolyiinchwngimkipithiphanma idmikarichphunphiwthiimepnthrngklmdwy karphthnakhxmphiwetxraelakarwicyekiywkbwithikarkhanwnthaihsamarththakarkhanwnthisbsxnid nxkcakniyngmikarsuksarabbechingaesngthiichphunphiwrupaebbxisrathisbsxntngaettnstwrrsthi 21 xnung tamhlkkaraelwphaphthaycakklxngruekhmcaimmikhwamkhlad inkrnikhxng thrrmchatikhxngkhlunkhxngxielktrxnthaihekidkaraephrkracaykhxngkhwamekhm sungeriykwakhwam khwamkhladkareliywebn praktkarnthikhlaykninhlkkarenuxngcakthrrmchatikhxngkhlunkhxngaesngthuxwaepnphapheblxthimirurbaesngkhnadelk hakmxnginaengni kxacklawidwakarthayphaphruekhmkmikhwamkhladechnkn hakradbkarhkehkhxngaesngta echn inelnsaewnta khwamkhladcanxymakcnimsngektehnaelasamarthlaelyid aetsahrbaewnkhxngkhnthisaytasnmak kcaepntxngmikarprbaekkhwamkhladdwyechnknxangxing Wheeler Gerald 1992 Physics A World View 2nd ed Philadelphia Harcourt Brace College Publishers p 410 ISBN 0 03 000602 3