นวดารา หรือเรียกทับศัพท์ว่า โนวา (อังกฤษ: Nova) คือการระเบิดของนิวเคลียร์ที่เกิดจากการสะสมมวลของไฮโดรเจนสู่พื้นผิวของดาวแคระขาว ซึ่งทำให้เกิดการจุดระเบิดและเกิดนิวเคลียร์ฟิวชันใน โปรดอย่าสับสนกับมหานวดารา (ซูเปอร์โนวา) หรือ
การเจริญเติบโต
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ถ้าดาวแคระขาวมีคู่ที่อยู่ใกล้มันมากเกินไปหรือเกยเข้ามาในของมัน ดาวแคระขาวก็จะเริ่มดึงมวลจากคู่ของมันแล้ว คู่ของมันอาจเป็นดาวในแถบลำดับหลักหรือเป็นดาวอายุมากที่ใกล้สิ้นสุดอายุขัยและกำลังกลายเป็นดาวยักษ์แดงก็ได้ ก๊าซที่ถูกดึงมาส่วนใหญ่ประกอบไบด้วยไฮโดรเจนและฮีเลียมซึ่งเป็น 2 ธาตุหลักในส่วนประกอบสสารธรรมดาในจักรวาล ก๊าซที่ถูกดูดมาถูกอัดแน่นบนพื้นผิวของดาวแคระขาวโดยแรงโน้มถ่วงที่รุนแรงของมัน สสารที่ดาวแคระขาวดูดมาถูกบีบอัดและเพิ่มความร้อนจนอุณหภูมิสูงมากในขณะที่สสารกำลังถูกดูดออกมาจากดาวอย่างต่อเนื่อง ดาวแคระขาวประกอบไปด้วยสสารสถานะเสื่อม และจึงไม่พองตัวเมื่อความร้อนเพิ่มในขณะที่ไฮโดรเจนที่ถูกดูดมาถูกบีบอัดบนพื้นผิวของดาว การที่ต้องพึ่งแรงอัดและอุณหภุมิในอัตราความเร็วหมายความว่าเมื่อมีการบีบอัดและความร้อนที่พื้นผิวดาวแคระขาวกับอุณหภูมิประมาณ 20 ล้านเคลวินว่าปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันเกิดขึ้น และอุณหภูมินี้สามารถถูกเผาไหม้ผ่านวงจรซีเอ็นโอ
การใช้วัดระยะห่าง
นวดาราสามารถใช้เป็นเครื่องวัดเทียนมาตรฐานได้ ตัวอย่างเช่นการแจกจ่ายของความส่องสว่างสัมบูรณ์เป็นแบบ กับความส่องสว่างสูงสุดโดยปกติอยู่ระหว่าง −7.5 ถึง −8.8 โดยปกติแล้ว นวดาราจะมีความส่องสว่างสัมบูรณ์คงเดิมอยู่ประมาณ 15 วันหลังจากความส่องสว่างสูงสุด (−5.5)
นวดาราซ้ำ
มีการค้นพบ นวดาราซ้ำ (อังกฤษ: Recurrent nova) ที่อยู่ในดาราจักร อยู่ประมาณ 10 แห่งนวดาราซ้ำปกติจะมีความส่องสว่างปรากฏ +8.6 ในขณะที่นวดาราปกติจะมีความส่องสว่างปรากฏประมาณ +12 มีนวดาราซ้ำอยู่บางแห่งมีชื่อเสียงและสามารถสังเกตได้ง่ายกว่า ดังนี้
ชื่อ | ความส่องสว่างปรากฏ | จำนวนวัน ที่ความส่องสว่างปรากฏ ตก 3 หลัก จากจุดสว่างสุด | ปีที่เปล่งแสง |
---|---|---|---|
+4.8 – +11 | 14 วัน | พ.ศ. 2501, พ.ศ. 2510, พ.ศ. 2528, พ.ศ. 2549 | |
+2.5 – +10.8 | 6 วัน | พ.ศ. 2409, พ.ศ. 2489 | |
+6.4 – +15.5 | 62 วัน | พ.ศ. 2445, พ.ศ. 2463, พ.ศ. 2487, พ.ศ. 2510, พ.ศ. 2554 | |
+7.5 – +17.6 | 2.6 วัน | พ.ศ. 2522, พ.ศ. 2530, พ.ศ. 2542, พ.ศ. 2553 |
นวดารานอกดาราจักรทางช้างเผือก
นวดาราในดาราจักรแอนดรอเมดาเกิดขึ้นค่อนข้างบ่อยมาก (ประมาณ 24 ครั้งต่อปี) นวดาราเหล่านี้มีความส่องสว่างสว่างกว่า +20 เล็กน้อย นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบนวดาราในดาราจักรอื่น ๆ เช่นในดาราจักรสามเหลี่ยมและ อีกด้วย
อ้างอิง
- (2009). "Comprehensive Photometric Histories of All Known Galactic Recurrent Novae": 1–273. arXiv:0912.4426.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-08. สืบค้นเมื่อ 2011-03-01.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nwdara hruxeriykthbsphthwa onwa xngkvs Nova khuxkarraebidkhxngniwekhliyrthiekidcakkarsasmmwlkhxngihodrecnsuphunphiwkhxngdawaekhrakhaw sungthaihekidkarcudraebidaelaekidniwekhliyrfiwchnin oprdxyasbsnkbmhanwdara suepxronwa hruxphaphincintnakarkhxngdawaekhrakhawkalngihodrecncakkhukhxngmnkarecriyetibotswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid thadawaekhrakhawmikhuthixyuiklmnmakekiniphruxekyekhamainkhxngmn dawaekhrakhawkcaerimdungmwlcakkhukhxngmnaelw khukhxngmnxacepndawinaethbladbhlkhruxepndawxayumakthiiklsinsudxayukhyaelakalngklayepndawyksaedngkid kasthithukdungmaswnihyprakxbibdwyihodrecnaelahieliymsungepn 2 thatuhlkinswnprakxbssarthrrmdainckrwal kasthithukdudmathukxdaennbnphunphiwkhxngdawaekhrakhawodyaerngonmthwngthirunaerngkhxngmn ssarthidawaekhrakhawdudmathukbibxdaelaephimkhwamrxncnxunhphumisungmakinkhnathissarkalngthukdudxxkmacakdawxyangtxenuxng dawaekhrakhawprakxbipdwyssarsthanaesuxm aelacungimphxngtwemuxkhwamrxnephiminkhnathiihodrecnthithukdudmathukbibxdbnphunphiwkhxngdaw karthitxngphungaerngxdaelaxunhphumiinxtrakhwamerwhmaykhwamwaemuxmikarbibxdaelakhwamrxnthiphunphiwdawaekhrakhawkbxunhphumipraman 20 lanekhlwinwaptikiriyaniwekhliyrfiwchnekidkhun aelaxunhphuminisamarththukephaihmphanwngcrsiexnoxkarichwdrayahang khwamsxngswangpraktpraman 8 4 inkhuneduxnephy nwdarasamarthichepnekhruxngwdethiynmatrthanid twxyangechnkaraeckcaykhxngkhwamsxngswangsmburnepnaebb kbkhwamsxngswangsungsudodypktixyurahwang 7 5 thung 8 8 odypktiaelw nwdaracamikhwamsxngswangsmburnkhngedimxyupraman 15 wnhlngcakkhwamsxngswangsungsud 5 5 nwdarasa mikarkhnphb nwdarasa xngkvs Recurrent nova thixyuindarackr xyupraman 10 aehngnwdarasapkticamikhwamsxngswangprakt 8 6 inkhnathinwdarapkticamikhwamsxngswangpraktpraman 12 minwdarasaxyubangaehngmichuxesiyngaelasamarthsngektidngaykwa dngni chux khwamsxngswangprakt canwnwn thikhwamsxngswangprakt tk 3 hlk cakcudswangsud pithieplngaesng 4 8 11 14 wn ph s 2501 ph s 2510 ph s 2528 ph s 2549 2 5 10 8 6 wn ph s 2409 ph s 2489 6 4 15 5 62 wn ph s 2445 ph s 2463 ph s 2487 ph s 2510 ph s 2554 7 5 17 6 2 6 wn ph s 2522 ph s 2530 ph s 2542 ph s 2553nwdaranxkdarackrthangchangephuxknwdaraindarackraexndrxemdaekidkhunkhxnkhangbxymak praman 24 khrngtxpi nwdaraehlanimikhwamsxngswangswangkwa 20 elknxy nxkcakni yngmikarkhnphbnwdaraindarackrxun echnindarackrsamehliymaela xikdwyxangxing 2009 Comprehensive Photometric Histories of All Known Galactic Recurrent Novae 1 273 arXiv 0912 4426 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 04 08 subkhnemux 2011 03 01 wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Nova bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk