การจัดการความรู้ (อังกฤษ: knowledge management - KM) คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิด ความรู้ และ ปัญญา ในที่สุด
การจัดการความรู้ประกอบไปด้วยชุดของการปฏิบัติงานที่ถูกใช้โดยองค์กรต่างๆ เพื่อที่จะระบุ สร้าง แสดงและกระจายความรู้ เพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้และการเรียนรู้ภายในองค์กร อันนำไปสู่การจัดการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการธุรกิจที่ดี องค์กรขนาดใหญ่โดยส่วนมากจะมีการจัดสรรทรัพยากรสำหรับการจัดการองค์ความรู้ โดยมักจะเป็นส่วนหนึ่งของแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศหรือแผนกการจัดการทรัพยากรมนุษย์
รูปแบบการจัดการองค์ความรู้โดยปกติจะถูกจัดให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและประสงค์ที่จะได้ผลลัพธ์เฉพาะด้าน เช่น เพื่อแบ่งปันภูมิปัญญา,เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน, เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน, หรือเพื่อเพิ่มระดับนวัตกรรมให้สูงขึ้น
นิยาม
ปัจจุบันโลกได้เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-based Economy – KBE) งานต่างๆ จำเป็นต้องใช้ความรู้มาสร้างผลผลิตให้เกิดมูลค่าเพิ่มมากยิ่งขึ้น การจัดการความรู้เป็นคำกว้างๆ ที่มีความหมายครอบคลุมเทคนิค กลไกต่างๆ มากมาย เพื่อสนับสนุนให้การทำงานของแรงงานความรู้ (Knowledge Worker) มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กลไกดังกล่าวได้แก่ การรวบรวมความรู้ที่กระจัดกระจายอยู่ที่ต่างๆ มารวมไว้ที่เดียวกัน การสร้างบรรยากาศให้คนคิดค้น เรียนรู้ สร้างความรู้ใหม่ๆ ขึ้น การจัดระเบียบความรู้ในเอกสาร และทำสมุดหน้าเหลืองรวบรวมรายชื่อผู้มีความรู้ในด้านต่างๆ และที่สำคัญที่สุด คือการสร้างช่องทาง และเงื่อนไขให้คนเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน เพื่อนำไปใช้พัฒนางานของตนให้สัมฤทธิ์ผล
ประเภทของความรู้
ความรู้สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้สองประเภท คือ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และความรู้แฝงเร้น หรือความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) ความรู้ชัดแจ้งคือความรู้ที่เขียนอธิบายออกมาเป็นตัวอักษร เช่น คู่มือปฏิบัติงาน หนังสือ ตำรา เว็บไซต์ Blog ฯลฯ ส่วนความรู้แฝงเร้นคือความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน ไม่ได้ถอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร หรือบางครั้งก็ไม่สามารถถอดเป็นลายลักษณ์อักษรได้ ความรู้ที่สำคัญส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้แฝงเร้น อยู่ในคนทำงาน และผู้เชี่ยวชาญในแต่ละเรื่อง จึงต้องอาศัยกลไกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้คนได้พบกัน สร้างความไว้วางใจกัน และถ่ายทอดความรู้ระหว่างกันและกัน
ความรู้แบบฝังลึก
ความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายโดยใช้คำพูดได้ มีรากฐานมาจากการกระทำและประสบการณ์ มีลักษณะเป็นความเชื่อ ทักษะ และเป็นอัตวิสัย (Subjective) ต้องการการฝึกฝนเพื่อให้เกิดความชำนาญ มีลักษณะเป็นเรื่องส่วนบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Context-specific) ทำให้เป็นทางการและสื่อสารยาก เช่น วิจารณญาณ ความลับทางการค้า วัฒนธรรมองค์กร ทักษะ ความเชี่ยวชาญในเรื่องต่างๆ การเรียนรู้ขององค์กร ความสามารถในการชิมรสไวน์ หรือกระทั่งทักษะในการสังเกตเปลวควันจากปล่องโรงงานว่ามีปัญหาในกระบวนการผลิตหรือไม่
ความรู้ชัดแจ้ง
ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่รวบรวมได้ง่าย จัดระบบและถ่ายโอนโดยใช้วิธีการดิจิทัล มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ (Objective) เป็นทฤษฏี สามารถแปลงเป็นรหัสในการถ่ายทอดโดยวิธีการที่เป็นทางการ ไม่จำเป็นต้องอาศัยการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นเพื่อถ่ายทอดความรู้ เช่น นโยบายขององค์กร กระบวนการทำงาน ซอฟต์แวร์ เอกสาร และกลยุทธ์ เป้าหมายและความสามารถขององค์กร
ความรู้ยิ่งมีลักษณะไม่ชัดแจ้งมากเท่าไร การถ่ายโอนความรู้ยิ่งกระทำได้ยากเท่านั้น ดังนั้นบางคนจึงเรียกความรู้ประเภทนี้ว่าเป็นความรู้แบบเหนียว (Sticky Knowledge) หรือความรู้แบบฝังอยู่ภายใน (Embedded Knowledge) ส่วนความรู้แบบชัดแจ้งมีการถ่ายโอนและแบ่งปันง่าย จึงมีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า ความรู้แบบรั่วไหลได้ง่าย (Leaky Knowledge) ความสัมพันธ์ของความรู้ทั้งสองประเภทเป็นสิ่งที่แยกจากกันไม่ได้ ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน (Mutually Constituted) (Tsoukas, 1996) เนื่องจากความรู้แบบฝังลึกเป็นส่วนประกอบของความรู้ทั้งหมด (Grant, 1996) และสามารถแปลงให้เป็นความรู้แบบชัดแจ้งโดยการสื่อสารด้วยคำพูด
ตามรูปแบบของเซซี (SECI Model) (ของ Nonaka และ Takeuchi) ความรู้ทั้งแบบแฝงเร้นและแบบชัดแจ้งจะมีการแปรเปลี่ยนถ่ายทอดไปตามกลไกต่างๆ เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถอดความรู้ การผสานความรู้ และการซึมซับความรู้
การจัดการความรู้นั้นมีหลายรูปแบบ มีหลากหลายโมเดล แต่ที่น่าสนใจ คือ การจัดการความรู้ ที่ทำให้คนเคารพศักดิ์ศรีของคนอื่น เป็นรูปแบบการจัดการความรู้ที่เชื่อว่า ทุกคนมีความรู้ปฏิบัติในระดับความชำนาญที่ต่างกัน เคารพความรู้ที่อยู่ในคน เพราะหากถ้าเคารพความรู้ในตำราวิชาการอย่างเดียวนั้น ก็เท่ากับว่าเป็นการมองว่า คนที่ไม่ได้เรียนหนังสือ เป็นคนที่ไม่มีความรู้
ระดับของความรู้
หากจำแนกระดับของความรู้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ คือ
- ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริง รู้อะไร เป็นอะไร จะพบในผู้ที่สำเร็จการศึกษามาใหม่ๆ ที่มีความรู้โดยเฉพาะความรู้ที่จำมาได้จากความรู้ชัดแจ้งซึ่งได้จากการได้เรียนมาก แต่เวลาทำงาน ก็จะไม่มั่นใจ มักจะปรึกษารุ่นพี่ก่อน
- ความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริง ภายใต้สภาพความเป็นจริงที่ซับซ้อนสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทของตนเองได้ มักพบในคนที่ทำงานไปหลายๆปี จนเกิดความรู้ฝังลึกที่เป็นทักษะหรือประสบการณ์มากขึ้น
- ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อน และนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น เป็นผู้ทำงานมาระยะหนึ่งแล้วเกิดความรู้ฝังลึก สามารถถ่ายทอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือทฤษฏีใหม่หรือนวัตกรรม ขึ้นมาใช้ในการทำงานได้
.....
กรอบแนวคิดการจัดการความรู้
แผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa diagram) หรือแผงผังก้างปลา (หรือในชื่ออื่นของไทยเช่น ตัวแบบทูน่า หรือตัวแบบปลาตะเพียน) เป็นกรอบแนวคิดอย่างง่ายในการจัดการความรู้ โดยให้การจัดการความรู้เปรียบเสมือนปลา ซึ่งประกอบด้วยส่วนหัว ลำตัว และหาง แต่ละส่วนมีหน้าที่ที่ต่างกันดังนี้
- ส่วนหัวและตา (Knowledge Vision - KV) มองว่ากำลังจะไปทางไหน ซึ่งต้องตอบให้ได้ว่า "ทำ KM ไปเพื่ออะไร"
- ส่วนกลางลำตัว (Knowledge Sharing - KS) ส่วนที่เป็นหัวใจให้ความความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ช่วยเหลือ เกื้อกูลกันและกัน
- ส่วนหาง (Knowledge Assets - KA) คือ สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ "สะบัดหาง" สร้างพลังจากชุมชนแนวปฏิบัติ
สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) ในประเทศไทย ได้พัฒนาตัวแบบทูน่าเป็น "ตัวแบบปลาตะเพียน" โดยมองว่าองค์การมีหน่วยงานย่อย ซึ่งมีความแตกต่างกัน รูปแบบความรู้แต่ละหน่วยจึงต้องปรับให้เหมาะสมกับบริษัทของตน แต่ทั้งฝูงปลาจะหันหน้าไปทิศทางเดียวกัน
กรอบความคิดของ Holsapple Holsapple ได้ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับพัฒนาการของแนวคิดของการจัดการความรู้ 10 แบบมาประมวล ซึ่งแสดงถึงส่วนประกอบของการจัดการความรู้ (KM elements) เพื่อนำไปจัดระบบเป็นองค์ประกอบหลัก 3 ด้านของการจัดการความรู้ (Three-fold framework) ได้แก่ ทรัพยากรด้านการจัดการความรู้ กิจกรรมการจัดการความรู้ และอิทธิพลของการจัดการความรู้ และให้ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ให้ข้อคิดเห็น วิจารณ์และข้อเสนอแนะ ได้ผลออกมาเป็นกรอบความร่วมมือ (Collaborative Framework)
การถ่ายทอดความรู้
การถ่ายทอดความรู้ อันเป็นส่วนประกอบของการจัดการองค์ความรู้ ถูกประพฤติปฏิบัติกันมานานแล้ว ตัวอย่างรูปแบบการถ่ายทอดความรู้ เช่น การอภิปรายของเพื่อนร่วมงานในระหว่างการปฏิบัติงาน, การอบรมพนักงานใหม่อย่างเป็นทางการ, ห้องสมุดขององค์กร, โปรแกรมการฝึกสอนทางอาชีพและการเป็นพี่เลี้ยง ซึ่งรูปแบบการถ่ายทอดความรู้มีการพัฒนารูปแบบโดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่กระจายอย่างกว้างขวางในศตวรรษที่ 20 ก่อให้เกิดเทคโนโลยีฐานความรู้, ระบบผู้เชี่ยวชาญและคลังความรู้ ซึ่งทำให้กระบวนการถ่ายทอดความรู้ง่ายมากขึ้น
การจัดการความรู้ กับการพัฒนาระบบราชการในประเทศไทย
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีที่ดี เป็นกฎหมายที่ออกมาเพื่อผลักดันแนวคิดธรรมาภิบาล (Good Governance) ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมขึ้น ในมาตรา ๑๑ กำหนดว่า
ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราชกฤษฎีกานี้ จึงเป็นที่มาของการประเมินผลงานหน่วยราชการต่างๆ โดยมีการจัดการความรู้ เป็นข้อหนึ่งด้วย หน่วยราชการไทยจำนวนมากจึงเริ่มสนใจการจัดการความรู้ ด้วยสาเหตุนี้
อ้างอิง
- กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ (2553) เอกสารประกอบการบรรยาย การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
- องค์การแห่งความรู้ : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ,ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์,2549. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: รัตนไตร.
- สิ่งดีๆ ที่หลากหลายสไตล์ KM (Best Practice KM Style). รายงานประจำปี 2549 สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
- รายงานประจำปี KM ประเทศไทย (สคส.) 2548
- ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2548). การจัดการความรู้. ใน วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 45(2), 1-24.
- พิเชฐ บัญญัติ. (2549). การจัดการความรู้ในองค์กร. ใน วารสารห้องสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 13(1), 118-122.
- วิริยุทร จันสิริโอชา (2498)การจัดการความรู้ในองค์กร. ในวารสารท้องถิ่นมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 111-112
แหล่งข้อมูลอื่น
- การจัดการความรู้คืออะไร 2008-06-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน กรมการปกครอง
- Knowledge Management (การบริหารจัดการความรู้) 2012-04-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karcdkarkhwamru xngkvs knowledge management KM khux karrwbrwm srang cdraebiyb aelkepliyn aelaprayuktichkhwamruinxngkhkr odyphthnarabbcak khxmul ipsu sarsneths ephuxihekid khwamru aela pyya inthisud karcdkarkhwamruprakxbipdwychudkhxngkarptibtinganthithukichodyxngkhkrtang ephuxthicarabu srang aesdngaelakracaykhwamru ephuxpraoychninkarnaipichaelakareriynruphayinxngkhkr xnnaipsukarcdkarsarsnethsthimiprasiththiphaphmakkhun sungepnsingthicaepnsahrbkardaeninkarthurkicthidi xngkhkrkhnadihyodyswnmakcamikarcdsrrthrphyakrsahrbkarcdkarxngkhkhwamru odymkcaepnswnhnungkhxngaephnkethkhonolyisarsnethshruxaephnkkarcdkarthrphyakrmnusy rupaebbkarcdkarxngkhkhwamruodypkticathukcdihepniptamwtthuprasngkhkhxngxngkhkraelaprasngkhthicaidphllphthechphaadan echn ephuxaebngpnphumipyya ephuxephimprasiththiphaphkarthangan ephuxkhwamidepriybthangkaraekhngkhn hruxephuxephimradbnwtkrrmihsungkhunniyampccubnolkidekhasuyukhesrsthkicthankhwamru Knowledge based Economy KBE ngantang caepntxngichkhwamrumasrangphlphlitihekidmulkhaephimmakyingkhun karcdkarkhwamruepnkhakwang thimikhwamhmaykhrxbkhlumethkhnikh kliktang makmay ephuxsnbsnunihkarthangankhxngaerngngankhwamru Knowledge Worker miprasiththiphaphyingkhun klikdngklawidaek karrwbrwmkhwamruthikracdkracayxyuthitang marwmiwthiediywkn karsrangbrryakasihkhnkhidkhn eriynru srangkhwamruihm khun karcdraebiybkhwamruinexksar aelathasmudhnaehluxngrwbrwmraychuxphumikhwamruindantang aelathisakhythisud khuxkarsrangchxngthang aelaenguxnikhihkhnekidkaraelkepliynkhwamrurahwangkn ephuxnaipichphthnangankhxngtnihsmvththiphlpraephthkhxngkhwamrukhwamrusamarthaebngxxkepnpraephthihy idsxngpraephth khux khwamruchdaecng Explicit Knowledge aelakhwamruaefngern hruxkhwamruaebbfngluk Tacit Knowledge khwamruchdaecngkhuxkhwamruthiekhiynxthibayxxkmaepntwxksr echn khumuxptibtingan hnngsux tara ewbist Blog l swnkhwamruaefngernkhuxkhwamruthifngxyuintwkhn imidthxdxxkmaepnlaylksnxksr hruxbangkhrngkimsamarththxdepnlaylksnxksrid khwamruthisakhyswnihy milksnaepnkhwamruaefngern xyuinkhnthangan aelaphuechiywchayinaetlaeruxng cungtxngxasyklikaelkepliyneriynruihkhnidphbkn srangkhwamiwwangickn aelathaythxdkhwamrurahwangknaelakn khwamruaebbfngluk khwamruaebbfngluk Tacit Knowledge epnkhwamruthiimsamarthxthibayodyichkhaphudid mirakthanmacakkarkrathaaelaprasbkarn milksnaepnkhwamechux thksa aelaepnxtwisy Subjective txngkarkarfukfnephuxihekidkhwamchanay milksnaepneruxngswnbukhkhl mibribthechphaa Context specific thaihepnthangkaraelasuxsaryak echn wicarnyan khwamlbthangkarkha wthnthrrmxngkhkr thksa khwamechiywchayineruxngtang kareriynrukhxngxngkhkr khwamsamarthinkarchimrsiwn hruxkrathngthksainkarsngekteplwkhwncakplxngorngnganwamipyhainkrabwnkarphlithruxim khwamruchdaecng khwamruchdaecng Explicit Knowledge epnkhwamruthirwbrwmidngay cdrabbaelathayoxnodyichwithikardicithl milksnaepnwtthudib Objective epnthvsti samarthaeplngepnrhsinkarthaythxdodywithikarthiepnthangkar imcaepntxngxasykarptismphnthkbphuxunephuxthaythxdkhwamru echn noybaykhxngxngkhkr krabwnkarthangan sxftaewr exksar aelaklyuthth epahmayaelakhwamsamarthkhxngxngkhkr khwamruyingmilksnaimchdaecngmakethair karthayoxnkhwamruyingkrathaidyakethann dngnnbangkhncungeriykkhwamrupraephthniwaepnkhwamruaebbehniyw Sticky Knowledge hruxkhwamruaebbfngxyuphayin Embedded Knowledge swnkhwamruaebbchdaecngmikarthayoxnaelaaebngpnngay cungmichuxxikchuxhnungwa khwamruaebbrwihlidngay Leaky Knowledge khwamsmphnthkhxngkhwamruthngsxngpraephthepnsingthiaeykcakknimid txngxasysungknaelakn Mutually Constituted Tsoukas 1996 enuxngcakkhwamruaebbfnglukepnswnprakxbkhxngkhwamruthnghmd Grant 1996 aelasamarthaeplngihepnkhwamruaebbchdaecngodykarsuxsardwykhaphud tamrupaebbkhxngessi SECI Model khxng Nonaka aela Takeuchi khwamruthngaebbaefngernaelaaebbchdaecngcamikaraeprepliynthaythxdiptamkliktang echn karaelkepliyneriynru karthxdkhwamru karphsankhwamru aelakarsumsbkhwamru karcdkarkhwamrunnmihlayrupaebb mihlakhlayomedl aetthinasnic khux karcdkarkhwamru thithaihkhnekharphskdisrikhxngkhnxun epnrupaebbkarcdkarkhwamruthiechuxwa thukkhnmikhwamruptibtiinradbkhwamchanaythitangkn ekharphkhwamruthixyuinkhn ephraahakthaekharphkhwamruintarawichakarxyangediywnn kethakbwaepnkarmxngwa khnthiimideriynhnngsux epnkhnthiimmikhwamruradbkhxngkhwamruhakcaaenkradbkhxngkhwamru samarthaebngxxkidepn 4 radb khux khwamruechingthvsti Know What epnkhwamruechingkhxethccring ruxair epnxair caphbinphuthisaerckarsuksamaihm thimikhwamruodyechphaakhwamruthicamaidcakkhwamruchdaecngsungidcakkarideriynmak aetewlathangan kcaimmnic mkcapruksarunphikxn khwamruechingthvstiaelaechingbribth Know How epnkhwamruechuxmoyngkbolkkhxngkhwamepncring phayitsphaphkhwamepncringthisbsxnsamarthnaexakhwamruchdaecngthiidmaprayuktichtambribthkhxngtnexngid mkphbinkhnthithanganiphlaypi cnekidkhwamrufnglukthiepnthksahruxprasbkarnmakkhun khwamruinradbthixthibayehtuphl Know Why epnkhwamruechingehtuphlrahwangeruxngrawhruxehtukarntang phlkhxngprasbkarnaekpyhathisbsxn aelanaprasbkarnmaaelkepliyneriynrukbphuxun epnphuthanganmarayahnungaelwekidkhwamrufngluk samarththaythxdkhwamrufnglukkhxngtnexngmaaelkepliynkbphuxunhruxthaythxdihphuxunidphrxmthngrbexakhwamrucakphuxunipprbichinbribthkhxngtnexngid khwamruinradbkhunkha khwamechux Care Why epnkhwamruinlksnakhxngkhwamkhidrierim srangsrrkhthikhbdnmacakphayintnexngcaepnphuthisamarthskd pramwl wiekhraahkhwamruthitnexngmixyu kbkhwamruthitnexngidrbmasrangepnxngkhkhwamruihmkhunmaid echn srangtwaebbhruxthvstiihmhruxnwtkrrm khunmaichinkarthanganid krxbaenwkhidkarcdkarkhwamrutwxyangaephnphngxichikhawa aephnphngxichikhawa Ishikawa diagram hruxaephngphngkangpla hruxinchuxxunkhxngithyechn twaebbthuna hruxtwaebbplataephiyn epnkrxbaenwkhidxyangngayinkarcdkarkhwamru odyihkarcdkarkhwamruepriybesmuxnpla sungprakxbdwyswnhw latw aelahang aetlaswnmihnathithitangkndngni swnhwaelata Knowledge Vision KV mxngwakalngcaipthangihn sungtxngtxbihidwa tha KM ipephuxxair swnklanglatw Knowledge Sharing KS swnthiepnhwicihkhwamkhwamsakhykbkaraelkepliyneriynruchwyehlux ekuxkulknaelakn swnhang Knowledge Assets KA khux srangkhlngkhwamru echuxmoyngekhruxkhay prayuktichethkhonolyisarsneths sabdhang srangphlngcakchumchnaenwptibti sthabnsngesrimkarcdkarkhwamruephuxsngkhm skhs inpraethsithy idphthnatwaebbthunaepn twaebbplataephiyn odymxngwaxngkhkarmihnwynganyxy sungmikhwamaetktangkn rupaebbkhwamruaetlahnwycungtxngprbihehmaasmkbbristhkhxngtn aetthngfungplacahnhnaipthisthangediywkn krxbkhwamkhidkhxng Holsapple Holsapple idthbthwnwrrnkrrmekiywkbphthnakarkhxngaenwkhidkhxngkarcdkarkhwamru 10 aebbmapramwl sungaesdngthungswnprakxbkhxngkarcdkarkhwamru KM elements ephuxnaipcdrabbepnxngkhprakxbhlk 3 dankhxngkarcdkarkhwamru Three fold framework idaek thrphyakrdankarcdkarkhwamru kickrrmkarcdkarkhwamru aelaxiththiphlkhxngkarcdkarkhwamru aelaihphuechiywchay nkwichakar aelaphuprakxbkarthiekiywkhxngkbkarcdkarkhwamruihkhxkhidehn wicarnaelakhxesnxaena idphlxxkmaepnkrxbkhwamrwmmux Collaborative Framework karthaythxdkhwamrukarthaythxdkhwamru xnepnswnprakxbkhxngkarcdkarxngkhkhwamru thukpraphvtiptibtiknmananaelw twxyangrupaebbkarthaythxdkhwamru echn karxphipraykhxngephuxnrwmnganinrahwangkarptibtingan karxbrmphnknganihmxyangepnthangkar hxngsmudkhxngxngkhkr opraekrmkarfuksxnthangxachiphaelakarepnphieliyng sungrupaebbkarthaythxdkhwamrumikarphthnarupaebbodyxasyethkhonolyikhxmphiwetxrthikracayxyangkwangkhwanginstwrrsthi 20 kxihekidethkhonolyithankhwamru rabbphuechiywchayaelakhlngkhwamru sungthaihkrabwnkarthaythxdkhwamrungaymakkhunkarcdkarkhwamru kbkarphthnarabbrachkarinpraethsithyphrarachkvsdikawadwyhlkeknthaelawithithidi epnkdhmaythixxkmaephuxphlkdnaenwkhidthrrmaphibal Good Governance ihekidphlepnrupthrrmkhun inmatra 11 kahndwa swnrachkarmihnathiphthnakhwamruinswnrachkar ephuxihmilksnaepnxngkhkaraehngkareriynruxyangsmaesmx odytxngrbrukhxmulkhawsaraelasamarthpramwlphlkhwamruindantang ephuxnamaprayuktichinkarptibtirachkaridxyangthuktxng rwderwaelaehmaasmkbsthankarn rwmthngtxngsngesrimaelaphthnakhwamrukhwamsamarth srangwisythsnaelaprbepliynthsnkhtikhxngkharachkarinsngkdihepnbukhlakrthimiprasiththiphaphaelamikareriynrurwmkn thngniephuxpraoychninkarptibtirachkarkhxngswnrachkarihsxdkhlxngkbkarbriharrachkarihekidphlsmvththitamphrarachkvsdikani cungepnthimakhxngkarpraeminphlnganhnwyrachkartang odymikarcdkarkhwamru epnkhxhnungdwy hnwyrachkarithycanwnmakcungerimsnickarcdkarkhwamru dwysaehtunixangxingkittiphnth khngswsdiekiyrti 2553 exksarprakxbkarbrryay karcdkarkhwamru mhawithyalyrngsit xngkhkaraehngkhwamru cakaenwkhidsukarptibti thiphwrrn hlxsuwrrnrtn 2549 phimphkhrngthi 3 krungethph rtnitr singdi thihlakhlaysitl KM Best Practice KM Style raynganpracapi 2549 sthabnsngesrimkarcdkarkhwamruephuxsngkhm skhs ISBN 974 973 423 1 raynganpracapi KM praethsithy skhs 2548 ISBN 974 93722 9 8 thiphwrrn hlxsuwrrnrtn 2548 karcdkarkhwamru in warsarphthnbriharsastr 45 2 1 24 phiechth byyti 2549 karcdkarkhwamruinxngkhkr in warsarhxngsmudmhawithyalyechiyngihm 13 1 118 122 wiriyuthr cnsirioxcha 2498 karcdkarkhwamruinxngkhkr inwarsarthxngthinmhawithyalyechiyngihm 111 112aehlngkhxmulxunkarcdkarkhwamrukhuxxair 2008 06 07 thi ewyaebkaemchchin krmkarpkkhrxng Knowledge Management karbriharcdkarkhwamru 2012 04 25 thi ewyaebkaemchchin