ธูปฤๅษี | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | พืช |
หมวด: | พืชดอก |
ชั้น: | พืชใบเลี้ยงเดี่ยว |
อันดับ: | |
วงศ์: | Typhaceae |
สกุล: | |
สปีชีส์: | Typha angustifolia |
ชื่อทวินาม | |
Typha angustifolia L. |
ธูปฤๅษี ชื่อวิทยาศาสตร์: Typha angustifoliaL. หรือกกช้าง ชื่ออื่น ๆ คือ กกธูป หญ้าสลาบหลวง เฟื้อ ปรือ เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เป็นไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งในวงศ์ Typhaceae อายุหลายปี มีถิ่นกำเนิดในทวีปยุโรปและอเมริกา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ธูปฤๅษีเป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี ตั้งตรง สูง 1.5-3 เมตรเหง้ากลม แทงหน่อขึ้นเป็นระยะสั้น ๆ ใบเดี่ยวเรียงสลับระนาบเดียว ใบเป็นรูปแถบแบน กว้าง 1-2 เซนติเมตร ยาว 2 เมตร ใบแตกสลับกันเป็นสองแถวด้านข้าง มีกาบใบ แผ่นใบด้านบนโค้งเล็กน้อย ส่วนด้านล่างแบน ช่อดอกเป็นสีน้ำตาล ช่อดอกรูปทรงกระบอก แยกเพศบนก้านเดียวกัน ก้านช่อดอกกลม แข็ง ช่วงดอกเพศผู้อยู่ที่ปลายช่อ ยาว 8-40 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร มีใบประดับ 1-3 ใบ แต่จะหลุดร่วงไป ช่วงดอกเพศเมียอยู่ด้านล่าง ยาว 5-30 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร มักแยกออกจากส่วนดอกเพศผู้ด้วยส่วนก้านช่อดอกที่เป็นหมันที่ยาว 2.5-7 เซนติเมตร ดอกมีขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 3 อัน มีขนล้อมรอบ ก้านเกสรเพศผู้สั้น อับเรณูยาว 1.5-2 มิลลิเมตร ดอกเพศเมียมีใบประดับย่อยรูปเส้นด้าย รังไข่รูปกระสวย ก้านรังไข่เรียว ยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร มีขนยาวสีขาว ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-1.5 มิลลิเมตร มีขนแต่สั้นกว่าบนก้านรังไข่ ยอดเกสรรูปใบหอก ผลมีขนาดเล็ก รูปรี เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5-3 เซนติเมตร ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ดอกมีจำนวนมาก ติดกันแน่น สีน้ำตาล ลักษณะคล้ายธูปดอกใหญ่ ก้านช่อดอกกลม แข็ง ดอกแยกเพศ แบ่งเป็นตอนเห็นได้ชัด กลุ่มดอกเพศผู้อยู่ปลายก้าน รูปทรงกระบอก กลุ่มดอกเพศเมียรูปทรงกระบอกเช่นกันแต่ใหญ่กว่ากลุ่มดอกเพศผู้ ดอกแก่จะแตกเห็นเป็นขนขาวฟู ผลเล็กมาก เมื่อแก่แตกตามยาว
การขยายพันธุ์
โดยการที่เมล็ดปลิวไปตามลม เมล็ดมีขนอ่อนนุ่ม มีอาณาเขตการกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลกในเขตร้อนและเขตอบอุ่น สำหรับประเทศไทยพบในทุกภูมิภาค ขึ้นตามพื้นที่ชุ่มน้ำ พบได้ทั่วไป สามารถควบคุมการขยายพันธุ์ได้โดยวิธีเขตกรรม (cultural control) การไถพรวน เตรียมดิน เตรียมพื้นที่ปลูกพืชในขณะเดียวกันก็เป็นการกำจัดวัชพืชไปพร้อม ๆ กัน การไถพรวนควรกระทำสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อไถพรวนแล้ว ตากแดดทิ้งไว้ให้เศษของธูปฤๅษีแห้งตาย แต่เมล็ดจะสามารถงอกขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งได้ จึงทำให้ทำการพรวนดินอีกครั้งหนึ่ง เพื่อกำจัดเมล็ดวัชพืชที่งอกขึ้นมาในภายหลัง หรือโดยการออกกฎหมายควบคุมวัชพืช (legislative control) โดยการห้ามนำเข้าธูปฤๅษี หรือสิ่งของต่าง ๆ ซึ่งอาจจะมีเมล็ดธูปฤๅษีปะปนมา
ประโยชน์
ใบยาวและเหนียวนิยมใช้ทำเครื่องจักสาน เช่น ใช้มุงหลังคา และทำ ดอกแก่จัดมีขนปุยนุ่มมือลักษณะคล้ายปุยนุ่นจึงนิยมใช้แทนนุ่น ยอดอ่อนกินได้ทั้งสดและทำให้สุก ช่อดอกปิ้งกินได้ แป้งที่ได้จากลำต้นใต้ดินและรากใช้บริโภคได้เช่นกัน ในอินเดียเคยใช้ก้านช่อดอกทำปากกา และเชื่อว่าลำต้นใต้ดินและรากใช้เป็นยาบำบัดโรคบางชนิด เช่น ขับปัสสาวะ เยื่อ (pulp) ของต้นกกช้างนำมาใช้ทำ (rayon) และกระดาษได้ มีเส้นใย (fibre) ถึงร้อยละ 40 เส้นใยนี้มีความชื้นร้อยละ 8.9 เซลลูโลส (cellulose) ร้อยละ 63 เฮมิเซลลูโลส (hemicellulose) ร้อยละ 8.7 ลิกนิน (lignin) ร้อยละ 9.6 ไข (wax) ร้อยละ 1.4 และ (ash) ร้อยละ 2 เส้นใยมีสีขาวหรือน้ำตาลอ่อน นำมาทอเป็นผ้าใช้แทนฝ้ายหรือขนสัตว์ สามารถนำมาใช้เป็นพืชคลุมดิน เพื่อลดการพังทลายของหน้าดิน เนื่องจากมีระบบรากที่ดี
กกช้างมีปริมาณโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตค่อนข้างสูง กากที่เหลือจากการสกัดเอาโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตออกแล้วใช้แบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic bacteria) ย่อย จะให้แก๊สมีเทน (methane) ซึ่งใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ ผลของกกช้างมี long chain hydrocarbon 2 ชนิด คือ pentacosane 1-triacontanol สารพวก phytosterol 2 ชนิด คือ B - sitosterol และ B-sitosteryl-3-0-B-D-glucopyranoside กกช้างสามารถกำจัดไนโตรเจนจากน้ำเสียในที่ลุ่มต่อไร่ได้ถึง 400 กก. ต่อปี และสามารถดูดเก็บโพแทสเซียมต่อไร่ได้ถึง 690 กก. ต่อปี จึงเป็นพืชอีกชนิดหนึ่งที่จะมีบทบาทเป็นพืชเศรษฐกิจในอนาคต
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
ธูปฤๅษีจัดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้ามาแพร่ระบาดรุกรานจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศในประเทศไทย มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทั่วทุกภาค พบในที่ลุ่มทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม ผลเสียที่เกิดจากธูปฤๅษีต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดน้ำเสียในแหล่งน้ำต่าง ๆ ส่งกลิ่นเหม็นไปรอบ ๆ สร้างความรำคาญแก่ผู้สัญจร และผู้อยู่อาศัยบริเวณนั้น ขึ้นอย่างหนาแน่นปกคลุมเนื้อที่ได้มาก ทำให้มีลักษณะเป็นที่รก และสกปรกทำให้สัตว์มีพิษเข้าไปอาศัยอยู่ได้ เป็นแหล่งหลบซ่อนอาศัยของโรค แมลง และศัตรูพืช แย่งน้ำและอาหารจากพืชปลูก ทำให้ผลผลิตและคุณภาพผลผลิตลดลง นอกจากนี้ ยังทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน รากและซากธูปฤๅษีทับถมกันแน่น สัตว์น้ำไม่สามารถอาศัยอยู่ได้ และเมื่อทับถมไปนาน ๆ จะทำให้เกิดน้ำเสีย น้ำเน่า ขาดออกซิเจน สัตว์น้ำก็จะตาย และเนื่องจากธูปฤๅษีขึ้นปกคลุมอยู่อย่างแน่นทึบ ทำให้พรรณพืชดั้งเดิม เช่น กกและหญ้าหลายชนิด ไม้ล้มลุก รวมทั้งไม้พุ่มที่ขึ้นตามริมน้ำหรือที่ชื้นแฉะขาดแสงไม่สามารถแข่งขันได้และค่อย ๆ สูญหายไปจากพื้นที่
อ้างอิง
- ข้อมูลกกช้างโดยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ 2009-08-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- http://web3.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words=%E0%B8%98%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A4%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5&typeword=group 2014-08-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- http://clgc.rdi.ku.ac.th/index.php/rs/weed/373-typha 2013-09-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- http://chm-thai.onep.go.th/webalien/species.html 2016-08-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thupvisikarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr phuchhmwd phuchdxkchn phuchibeliyngediywxndb wngs Typhaceaeskul spichis Typha angustifoliachuxthwinamTypha angustifolia L thupvisi chuxwithyasastr Typha angustifoliaL hruxkkchang chuxxun khux kkthup hyaslabhlwng efux prux epnphuchibeliyngediywthiepnimlmlukchnidhnunginwngs Typhaceae xayuhlaypi mithinkaenidinthwipyuorpaelaxemrikalksnathangphvkssastrthupvisiepnimlmlukxayuhlaypi tngtrng sung 1 5 3 emtrehngaklm aethnghnxkhunepnrayasn ibediyweriyngslbranabediyw ibepnrupaethbaebn kwang 1 2 esntiemtr yaw 2 emtr ibaetkslbknepnsxngaethwdankhang mikabib aephnibdanbnokhngelknxy swndanlangaebn chxdxkepnsinatal chxdxkrupthrngkrabxk aeykephsbnkanediywkn kanchxdxkklm aekhng chwngdxkephsphuxyuthiplaychx yaw 8 40 esntiemtr esnphansunyklangpraman 1 esntiemtr miibpradb 1 3 ib aetcahludrwngip chwngdxkephsemiyxyudanlang yaw 5 30 esntiemtr esnphansunyklangpraman 2 esntiemtr mkaeykxxkcakswndxkephsphudwyswnkanchxdxkthiepnhmnthiyaw 2 5 7 esntiemtr dxkmikhnadelk immiklibdxkaelaklibeliyng eksrephsphuswnmakmi 3 xn mikhnlxmrxb kaneksrephsphusn xbernuyaw 1 5 2 milliemtr dxkephsemiymiibpradbyxyrupesnday rngikhrupkraswy kanrngikheriyw yawpraman 5 milliemtr mikhnyawsikhaw kaneksrephsemiyyaw 1 1 5 milliemtr mikhnaetsnkwabnkanrngikh yxdeksrrupibhxk phlmikhnadelk rupri esnphasunyklang 2 5 3 esntiemtr chxdxkaebbchxechingld dxkmicanwnmak tidknaenn sinatal lksnakhlaythupdxkihy kanchxdxkklm aekhng dxkaeykephs aebngepntxnehnidchd klumdxkephsphuxyuplaykan rupthrngkrabxk klumdxkephsemiyrupthrngkrabxkechnknaetihykwaklumdxkephsphu dxkaekcaaetkehnepnkhnkhawfu phlelkmak emuxaekaetktamyawkarkhyayphnthuodykarthiemldpliwiptamlm emldmikhnxxnnum mixanaekhtkarkracayphnthuxyuthwolkinekhtrxnaelaekhtxbxun sahrbpraethsithyphbinthukphumiphakh khuntamphunthichumna phbidthwip samarthkhwbkhumkarkhyayphnthuidodywithiekhtkrrm cultural control karithphrwn etriymdin etriymphunthiplukphuchinkhnaediywknkepnkarkacdwchphuchipphrxm kn karithphrwnkhwrkrathasxngkhrng khrngaerkemuxithphrwnaelw takaeddthingiwihesskhxngthupvisiaehngtay aetemldcasamarthngxkkhunmaxikkhrnghnungid cungthaihthakarphrwndinxikkhrnghnung ephuxkacdemldwchphuchthingxkkhunmainphayhlng hruxodykarxxkkdhmaykhwbkhumwchphuch legislative control odykarhamnaekhathupvisi hruxsingkhxngtang sungxaccamiemldthupvisipapnmapraoychnTypha angustifolia ibyawaelaehniywniymichthaekhruxngcksan echn ichmunghlngkha aelatha dxkaekcdmikhnpuynummuxlksnakhlaypuynuncungniymichaethnnun yxdxxnkinidthngsdaelathaihsuk chxdxkpingkinid aepngthiidcaklatnitdinaelarakichbriophkhidechnkn inxinediyekhyichkanchxdxkthapakka aelaechuxwalatnitdinaelarakichepnyababdorkhbangchnid echn khbpssawa eyux pulp khxngtnkkchangnamaichtha rayon aelakradasid miesniy fibre thungrxyla 40 esniynimikhwamchunrxyla 8 9 eslluols cellulose rxyla 63 ehmieslluols hemicellulose rxyla 8 7 liknin lignin rxyla 9 6 ikh wax rxyla 1 4 aela ash rxyla 2 esniymisikhawhruxnatalxxn namathxepnphaichaethnfayhruxkhnstw samarthnamaichepnphuchkhlumdin ephuxldkarphngthlaykhxnghnadin enuxngcakmirabbrakthidi kkchangmiprimanoprtinaelakharobihedrtkhxnkhangsung kakthiehluxcakkarskdexaoprtinaelakharobihedrtxxkaelwichaebkhthieriythiimichxxksiecn anaerobic bacteria yxy caihaeksmiethn methane sungichepnechuxephlingid phlkhxngkkchangmi long chain hydrocarbon 2 chnid khux pentacosane 1 triacontanol sarphwk phytosterol 2 chnid khux B sitosterol aela B sitosteryl 3 0 B D glucopyranoside kkchangsamarthkacdinotrecncaknaesiyinthilumtxiridthung 400 kk txpi aelasamarthdudekbophaethsesiymtxiridthung 690 kk txpi cungepnphuchxikchnidhnungthicamibthbathepnphuchesrsthkicinxnakhtchnidphnthutangthinthupvisicdepnchnidphnthutangthinthiekhamaaephrrabadrukrancnkxihekidkhwamesiyhaytxrabbniewsinpraethsithy miekhtkarkracayphnthuinpraethsithythwthukphakh phbinthilumthngnacudaelanaekhm phlesiythiekidcakthupvisitxsphaphaewdlxm thaihekidnaesiyinaehlngnatang sngklin ehmniprxb srangkhwamrakhayaekphusycr aelaphuxyuxasybriewnnn khunxyanghnaaennpkkhlumenuxthiidmak thaihmilksnaepnthirk aelaskprkthaihstwmiphisekhaipxasyxyuid epnaehlnghlbsxnxasykhxngorkh aemlng aelastruphuch aeyngnaaelaxaharcakphuchpluk thaihphlphlitaelakhunphaphphlphlitldlng nxkcakni yngthaihaehlngnatunekhin rakaelasakthupvisithbthmknaenn stwnaimsamarthxasyxyuid aelaemuxthbthmipnan cathaihekidnaesiy naena khadxxksiecn stwnakcatay aelaenuxngcakthupvisikhunpkkhlumxyuxyangaennthub thaihphrrnphuchdngedim echn kkaelahyahlaychnid imlmluk rwmthngimphumthikhuntamrimnahruxthichunaechakhadaesngimsamarthaekhngkhnidaelakhxy suyhayipcakphunthixangxingkhxmulkkchangodyokhrngkarxnurksphnthukrrmphuchxnenuxngmacakphrarachdari 2009 08 07 thi ewyaebkaemchchin http web3 dnp go th botany detail aspx words E0 B8 98 E0 B8 B9 E0 B8 9B E0 B8 A4 E0 B8 B2 E0 B8 A9 E0 B8 B5 amp typeword group 2014 08 05 thi ewyaebkaemchchin http clgc rdi ku ac th index php rs weed 373 typha 2013 09 12 thi ewyaebkaemchchin http chm thai onep go th webalien species html 2016 08 18 thi ewyaebkaemchchin