ความเข้มของการส่องสว่าง (อังกฤษ: luminous intensity) เป็นที่ใช้ในการวัดแสง โดยแสดงถึงปริมาณของแสงที่ปล่อยออกมาในทิศทางหนึ่งจากแหล่งกำเนิดแสงที่มีลักษณะเป็นจุด ซึ่งแสดงเป็นอนุพันธ์ของฟลักซ์ส่องสว่างต่อรอบแหล่งกำเนิดลำแสง
ความเข้มของการส่องสว่าง | |
---|---|
สัญลักษณ์ทั่วไป | I, Iv |
หน่วยเอสไอ | แคนเดลา (cd) |
J |
ความเข้มของการส่องสว่างเป็นหนึ่งในปริมาณทางฟิสิกส์ที่มนุษย์รับรู้ได้ ความเข้มของการส่องสว่างถูกจัดให้เป็นหนึ่งในปริมาณพื้นฐาน มิติของความเข้มของการส่องสว่างแทนด้วย J ในระบบหน่วยเอสไอได้กำหนดให้แคนเดลา (สัญลักษณ์: cd) เป็นหน่วยของความเข้มของการส่องสว่าง
พื้นหลัง
ความเข้มของการส่องสว่างเป็นคำจำกัดความเชิงปริมาณของความสว่างของแสงที่มนุษย์รับรู้ ดังนั้น คำจำกัดความของความเข้มของการส่องสว่างจึงสะท้อนถึงลักษณะของการมองเห็นของมนุษย์
แสงที่มนุษย์มองเห็นเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ชนิดหนึ่ง มนุษย์สามารถรับรู้แสงผ่านจอตาในลูกตา เซลล์รูปกรวย และ เซลล์รูปแท่ง ในเรตินาประกอบด้วย โปรตีน ที่เรียกว่าโฟตอปซินและโรดอปซิน ตามลำดับ และการมองเห็นเกิดขึ้นเมื่อโปรตีนเหล่านี้ได้รับแสงที่มีความยาวคลื่นเฉพาะ
ความเข้มของแสงในฐานะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (พลังงานของแสง) ถูกกำหนดโดยแอมพลิจูดของมัน แต่ในทางกลับกัน ความสว่างที่มนุษย์รับรู้นั้นไม่ได้กับความเข้มของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เนื่องจากเซลล์รับแสงที่ประกอบกันเป็นเรตินาของมนุษย์จะตอบสนองต่อแสงที่มีความยาวคลื่นเฉพาะ (ช่วงที่มองเห็นได้) เท่านั้น มนุษย์จึงไม่สามารถรับรู้ความสว่างของแสงที่มีความยาวคลื่นในช่วงที่มองไม่เห็น เช่น รังสีอินฟราเรด และ รังสีอัลตราไวโอเลต เนื่องจากลักษณะเฉพาะของการมองเห็นของมนุษย์ วิธีที่เรารับรู้ความสว่างจึงไม่เพียงขึ้นอยู่กับความเข้มของแสงเท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับความยาวคลื่นด้วย
คำนิยาม
ถ้าให้ ω เป็นบนพื้นผิว S ที่ล้อมรอบจุดกำเนิดแสง เมื่อฟลักซ์ส่องสว่างทะลุผ่านพื้นผิว S เป็น Φ แล้วความเข้มของการส่องสว่างไปยังทิศทางหนึ่งในมุมตันขนาดเล็ก dω คือ
และจะได้ว่า
ถ้าให้ค่ามุมจากจุดจอมฟ้า เป็น θ และมุมทิศ เป็น φ แล้ว จะได้ว่า
เราอาจนิยามความเข้มของการส่องสว่างของการแผ่รังสีได้จากค่าความเข้มของการแผ่รังสีโดยถ่วงน้ำหนักด้วยค่าประสิทธิภาพการส่องสว่างตามแต่ละช่วงความยาวคลื่นของฟลักซ์การแผ่รังสี ถ้าความเข้มของการแผ่รังสีสเปกตรัมที่ความยาวคลื่น λ เป็น Ie,λ และให้ K(λ) เป็นประสิทธิภาพการส่องสว่างของแต่ละช่วงคลื่นแล้ว ความเข้มของการส่องสว่างจะคำนวณได้โดย
หรืออาจนิยามจากค่าอัตราส่วนของประสิทธิภาพการส่องสว่าง V=K/Km เทียบกับประสิทธิภาพการส่องสว่างสูงสุด Km เป็น
การมองเห็นซึ่งแสดงถึงความรู้สึกของมนุษย์นั้นแตกต่างกันไปในแต่ละคน และแม้แต่บุคคลคนเดียวกันก็เปลี่ยนไปตามสภาพร่างกายขณะนั้น ดังนั้นในการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยน้ำหนักและการวัด (CGPM) ครั้งที่ 16 ในปี 1979 จึงมีการกำหนดประสิทธิภาพการส่องสว่างสัมพัทธ์มาตรฐานสำหรับประสิทธิภาพการส่องสว่างสูงสุดไว้
อ้างอิง
- 量及び単位-第7部:光及び放射
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamekhmkhxngkarsxngswang xngkvs luminous intensity epnthiichinkarwdaesng odyaesdngthungprimankhxngaesngthiplxyxxkmainthisthanghnungcakaehlngkaenidaesngthimilksnaepncud sungaesdngepnxnuphnthkhxngflkssxngswangtxrxbaehlngkaenidlaaesngkhwamekhmkhxngkarsxngswangsylksnthwipI Ivhnwyexsixaekhnedla cd J khwamekhmkhxngkarsxngswangepnhnunginprimanthangfisiksthimnusyrbruid khwamekhmkhxngkarsxngswangthukcdihepnhnunginprimanphunthan mitikhxngkhwamekhmkhxngkarsxngswangaethndwy J inrabbhnwyexsixidkahndihaekhnedla sylksn cd epnhnwykhxngkhwamekhmkhxngkarsxngswangphunhlngkhwamekhmkhxngkarsxngswangepnkhacakdkhwamechingprimankhxngkhwamswangkhxngaesngthimnusyrbru dngnn khacakdkhwamkhxngkhwamekhmkhxngkarsxngswangcungsathxnthunglksnakhxngkarmxngehnkhxngmnusy aesngthimnusymxngehnepnkhlunaemehlkiffa chnidhnung mnusysamarthrbruaesngphancxtainlukta esllrupkrwy aela esllrupaethng inertinaprakxbdwy oprtin thieriykwaoftxpsinaelaordxpsin tamladb aelakarmxngehnekidkhunemuxoprtinehlaniidrbaesngthimikhwamyawkhlunechphaa khwamekhmkhxngaesnginthanakhlunaemehlkiffa phlngngankhxngaesng thukkahndodyaexmphlicudkhxngmn aetinthangklbkn khwamswangthimnusyrbrunnimidkbkhwamekhmkhxngkhlunaemehlkiffa enuxngcakesllrbaesngthiprakxbknepnertinakhxngmnusycatxbsnxngtxaesngthimikhwamyawkhlunechphaa chwngthimxngehnid ethann mnusycungimsamarthrbrukhwamswangkhxngaesngthimikhwamyawkhluninchwngthimxngimehn echn rngsixinfraerd aela rngsixltraiwoxelt enuxngcaklksnaechphaakhxngkarmxngehnkhxngmnusy withithierarbrukhwamswangcungimephiyngkhunxyukbkhwamekhmkhxngaesngethann aetyngkhunxyukbkhwamyawkhlundwykhaniyamflkssxngswang F thaluphanswntdkhwangkhxngphunthi S odycudkaenidaesngthimikhwamekhmkarsxngswangepn I thaih w epnbnphunphiw S thilxmrxbcudkaenidaesng emuxflkssxngswangthaluphanphunphiw S epn F aelwkhwamekhmkhxngkarsxngswangipyngthisthanghnunginmumtnkhnadelk dw khux I dFdw displaystyle I frac d varPhi d omega aelacaidwa F Idw displaystyle varPhi int I d omega thaihkhamumcakcudcxmfa epn 8 aelamumthis epn f aelw caidwa F I 8 ϕ sin 8d8dϕ displaystyle varPhi int I theta phi sin theta d theta d phi eraxacniyamkhwamekhmkhxngkarsxngswangkhxngkaraephrngsiidcakkhakhwamekhmkhxngkaraephrngsiodythwngnahnkdwykhaprasiththiphaphkarsxngswangtamaetlachwngkhwamyawkhlunkhxngflkskaraephrngsi thakhwamekhmkhxngkaraephrngsisepktrmthikhwamyawkhlun l epn Ie l aelaih K l epnprasiththiphaphkarsxngswangkhxngaetlachwngkhlunaelw khwamekhmkhxngkarsxngswangcakhanwnidody I 0 K l Ie ldl displaystyle I int 0 infty K lambda I text e lambda d lambda hruxxacniyamcakkhaxtraswnkhxngprasiththiphaphkarsxngswang V K Km ethiybkbprasiththiphaphkarsxngswangsungsud Km epn I Km 0 V l Ie ldl displaystyle I K text m int 0 infty V lambda I text e lambda d lambda karmxngehnsungaesdngthungkhwamrusukkhxngmnusynnaetktangknipinaetlakhn aelaaemaetbukhkhlkhnediywknkepliyniptamsphaphrangkaykhnann dngnninkarprachumrahwangpraethswadwynahnkaelakarwd CGPM khrngthi 16 inpi 1979 cungmikarkahndprasiththiphaphkarsxngswangsmphththmatrthansahrbprasiththiphaphkarsxngswangsungsudiwxangxing量及び単位 第7部 光及び放射