บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ อาจมีข้อเสนอแนะ |
วิทยาศาสตร์การกีฬา (อังกฤษ: Sport science) เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าถึงผลของการมีส่วนร่วมในการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกายในกิจกรรมต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคนิคเฉพาะทาง เพื่อพัฒนาศักยภาพร่างกายของนักกีฬา ให้สามารถเล่นกีฬาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยหลักวิชาทางด้านสรีรวิทยา จิตวิทยา สังคมวิทยา หรืออื่น ๆ ดังนั้นวิทยาศาสตร์การกีฬาจึงเป็นการรวมวิชาต่าง ๆมากมายหรือที่เรียกว่า ที่มีเนื้อหารสาระครอบคลุมในสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น จิตวิทยาการกีฬา เวชศาสตร์การกีฬา อื่น ๆ
วิทยาศาสตร์การกีฬาเป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยนำหลักวิชาต่าง ๆ เช่นกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยาการออกกำลังกาย การแพทย์ โภชนาการ จิตวิทยา วิทยาศาสตร์การเทคโนโลยีต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการออกกำลังกาย การฝึกซ้อมกีฬา การแข่งขันกีฬา ตลอดจนการดูแลสุขภาพร่างกายอย่างเป็นขั้นตอนthe night was here
ประเภทการศึกษา
1. กายวิภาคศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ให้ความรู้รายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างของร่างกาย ที่ประกอบขึ้นเป็นรูปร่างสัดส่วนของร่างกายนักกีฬาแต่ละคน ได้แก่ กระดูก กล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ หัวใจ ปอด หลอดเลือด เม็ดเลือดแดง เซลล์ประสาท เป็นต้น กายวิภาคศาสตร์เป็นแขนงหนึ่งของวิชาชีววิทยา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตว่าอยู่ส่วนใดของร่างกายและส่วนต่างๆ เหล่านี้ติดต่อเกี่ยวข้องกันอย่างไร โดยมักทำการศึกษาร่วมกับสาขาสรีรวิทยา (Physiology) ซึ่งเป็นวิชาที่ว่าด้วยหน้าที่การทำงานของส่วนหรืออวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เมื่อรวมกันแล้วอวัยวะและระบบต่างๆ เหล่านี้ต้องทำงานประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้ร่างกาย ดำรงชีวิตได้อย่างปกติ โดยทั้งสองสาขาวิชาจะแตกต่างกันที่กายวิภาคศาสตร์เน้นการศึกษาเกี่ยวกับโครงร่าง ส่วนสรีรวิทยาเน้นที่การศึกษาเกี่ยวกับการทำงานและหน้าที่
2. สรีรวิทยา คือ ศาสตร์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำงานหรือการทำหน้าที่ของอวัยวะระบบต่างๆของร่างกายซึ่งสามารถกระตุ้นและพัฒนาศักยภาพให้ดีขึ้น ได้ด้วยระบบการฝึกที่ถูกต้องเหมาะสมกับประเภทกีฬาและนักกีฬาแต่ละบุคคล เช่น ความสามารถในการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ ความอดทนของระบบหายใจและไหลเวียนเลือดและระบบพลังงานที่ใช้ในการแข่งขัน แต่ละประเภทกีฬา เป็นต้น รวมทั้งสาเหตุที่นำไปสู่การเสื่อมสภาพของระบบการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกาย
3. ชีวกลศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการทำงานของกล้ามเนื้อ กระดูก เอ็น และข้อต่อ เพื่อนำไปสู่การใช้แรง ในการเคลื่อนไหวหรือปฏิบัติทักษะ อย่างไรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ในแต่ละชนิดหรือประเภทกีฬา ซึ่งนำไปสู่การพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องทางด้านเทคนิคทักษะกีฬาแต่ละบุคคลได้อย่างกลมกลืนกับระดับความสามารถที่เป็นจริงของนักกีฬาผู้นั้นมิใช้ต้องทำตามหรือเลียนแบบแช้มป์ โดยที่มิได้เรียนรู้สภาพพื้นฐาน การฝึกซ้อมและความแตกต่างของร่างกายในแต่ละบุคคล
4. ทักษะและการฝึกซ้อมกีฬา คือ ศาสตร์ที่ให้ความรู้หลักการในการในการกำหนดความหนักเบา รูปแบบวิธีการฝึก เข้าไว้ในโปรแกรมการฝึกซ้อมได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับนักกีฬาแต่ละบุคคล โดยจะต้องพิจารณาและคำนึงถึงอายุ เพศ วัย ประสบการณ์ ความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งระบบพลังงานสมรรถภาพทางกาย เฉพาะประเภทกีฬา ความสามารถในการเรียนรู้รับรู้ของนักกีฬาแต่ละบุคคล เพื่อนำไปสู่การวางแผนการฝึกซ้อมในแต่ละช่วงเวลาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับนักกีฬาแต่ละบุคคล
5. โภชนาการทางการกีฬา คือ ศาสตร์ที่ให้ความรู้รายละเอียดเกี่ยวกับคุณค่าของอาหารแต่ละชนิด และรู้จักเลือกรับประทานอาหารให้ถูกต้อง ได้สัดส่วนทั้งในด้านปริมาตร และคุณภาพในแต่ละช่วงของการฝึกซ้อมและแข่งขันซึ่งจะมีผลต่อการใช้พลังงานในการเคลื่อนไหวการเก็บสำรองพลังงานไว้ในกล้ามเนื้อ การชดเชยพลังงานในระหว่างการฝึกซ้อมและแข่งขันและภายหลังการฝึกซ้อมแข่งขันซึ่งจะช่วยเสริมโครงร่างและความสามารถของร่างกายให้คงสภาพแข่งแกร่งยิ่งขึ้น
6. จิตวิทยาการกีฬา คือ ศาสตร์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิดการควบคุมทักษะการเคลื่อนไหวและทักษะกีฬารวมถึงการตัดสินใจในแต่ละสถาณการณ์ ของการฝึกซ้อมและแข่งขันได้อย่างถูกต้องเป็นผลดีต่อเกมส์การแข่งขันและการแสดงออกซึ่งทักษะและความสามารถของนักกีฬาได้อย่างสอดคล้อง สัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
7. เวชศาสตร์การกีฬา คือ ศาสตร์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟู สภาพร่างกายให้กับนักกีฬาทั้งในสภาวะปกติและในระหว่างการฝึกซ้อมเพื่อช่วยเสริมให้สมรรถภาพทางกายอยู่ในสภาวะที่สมบูรณ์และพร้อมที่จะใช้งาน
8. เทคโนโลยีทางการกีฬา คือ ศาสตร์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับประดิษฐ์การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยสนับสนุนในการพัฒนาส่งเสริมตลอดจนการแก้ไขปัญหา ข้อบกพร่องให้กับนักกีฬาเพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพให้กับผู้ฝึกสอนกีฬาและนักกีฬารวมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลการเคลื่อนไหวทางด้านเทคนิคทักษะ การประเมินผลและรายงานผลการแข่งขันที่เป็นประโยชน์ถูกต้องรวดเร็วให้กับผู้ฝึกสอนกีฬา นักกีฬา และผู้ชม
หลักสูตรการศึกษาในประเทศไทย
สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาในระดับบัณฑิตศึกษา เป็นการสร้างโอกาสให้กับผู้ที่สนใจให้กีฬาเฉพาะทางหรือการออกกำลังกายเฉพาะทาง โดยหลักสูตรปริญญาโทส่วนใหญ่จะรวมทั้งการเรียนทั่วไปและการทำวิจัย โดยเนื้อหาที่เรียนจะรวมถึงวิชาสรีรวิทยา, จิตวิทยา, กิจกรรมกลางแจ้งหรือการฝึกสอน และการสร้างพัฒนาการ เพื่อให้ได้รับความรู้ความเข้าใจที่เจาะลึกขึ้นทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ พร้อมกับพัฒนาทักษะในการทำวิจัย และเมื่อเรียนจบก็สามารถทำงานในสาขาที่เกี่ยวข้องกับกีฬา, สุขภาพและสมรรถภาพทางกาย จนถึงการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาในประเทศไทยมีเปิดสอนหลายสถาบัน ได้แก่
- คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
- คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ
- วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล
- มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ
- คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา
- คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
- คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
- คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
- คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
- สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย
- คณะกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและสมรรถภาพทางการกีฬา
อ้างอิง
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยย ,2543:10
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-09-01. สืบค้นเมื่อ 2015-01-02.
- http://www.hotcourses.in.th/subject/sports-science/
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaena withyasastrkarkila xngkvs Sport science epnsastrthiwadwykhwamruthiidcakkarsuksakhnkhwathungphlkhxngkarmiswnrwminkarelnkilahruxkarxxkkalngkayinkickrrmtang odyprayuktichhlkkarthangwithyasastrrwmkbethkhnikhechphaathang ephuxphthnaskyphaphrangkaykhxngnkkila ihsamarthelnkilaidxyangmiprasiththiphaph odyxasyhlkwichathangdansrirwithya citwithya sngkhmwithya hruxxun dngnnwithyasastrkarkilacungepnkarrwmwichatang makmayhruxthieriykwa thimienuxharsarakhrxbkhluminsakhawichatang echn citwithyakarkila ewchsastrkarkila xun withyasastrkarkilaepnwithyasastrprayukt odynahlkwichatang echnkaywiphakhsastr srirwithyakarxxkkalngkay karaephthy ophchnakar citwithya withyasastrkarethkhonolyitang maprayuktichinkarxxkkalngkay karfuksxmkila karaekhngkhnkila tlxdcnkarduaelsukhphaphrangkayxyangepnkhntxnthe night was herepraephthkarsuksa1 kaywiphakhsastr khux sastrthiihkhwamruraylaexiydekiywkbokhrngsrangkhxngrangkay thiprakxbkhunepnruprangsdswnkhxngrangkaynkkilaaetlakhn idaek kraduk klamenux exn khxtx hwic pxd hlxdeluxd emdeluxdaedng esllprasath epntn kaywiphakhsastrepnaekhnnghnungkhxngwichachiwwithya sungsuksaekiywkbokhrngsrangkhxngsingmichiwitwaxyuswnidkhxngrangkayaelaswntang ehlanitidtxekiywkhxngknxyangir odymkthakarsuksarwmkbsakhasrirwithya Physiology sungepnwichathiwadwyhnathikarthangankhxngswnhruxxwywatang khxngrangkay emuxrwmknaelwxwywaaelarabbtang ehlanitxngthanganprasansmphnthkn ephuxihrangkay darngchiwitidxyangpkti odythngsxngsakhawichacaaetktangknthikaywiphakhsastrennkarsuksaekiywkbokhrngrang swnsrirwithyaennthikarsuksaekiywkbkarthanganaelahnathi 2 srirwithya khux sastrthiihkhwamruekiywkbkarthanganhruxkarthahnathikhxngxwywarabbtangkhxngrangkaysungsamarthkratunaelaphthnaskyphaphihdikhun iddwyrabbkarfukthithuktxngehmaasmkbpraephthkilaaelankkilaaetlabukhkhl echn khwamsamarthinkarthangankhxngrabbprasathaelaklamenux khwamxdthnkhxngrabbhayicaelaihlewiyneluxdaelarabbphlngnganthiichinkaraekhngkhn aetlapraephthkila epntn rwmthngsaehtuthinaipsukaresuxmsphaphkhxngrabbkarthangankhxngxwywatang phayinrangkay 3 chiwklsastr khux sastrthiwadwykarthangankhxngklamenux kraduk exn aelakhxtx ephuxnaipsukarichaerng inkarekhluxnihwhruxptibtithksa xyangirihmiprasiththiphaphsungsud inaetlachnidhruxpraephthkila sungnaipsukarphthnahruxprbprungaekikhkhxbkphrxngthangdanethkhnikhthksakilaaetlabukhkhlidxyangklmklunkbradbkhwamsamarththiepncringkhxngnkkilaphunnmiichtxngthatamhruxeliynaebbaechmp odythimiideriynrusphaphphunthan karfuksxmaelakhwamaetktangkhxngrangkayinaetlabukhkhl 4 thksaaelakarfuksxmkila khux sastrthiihkhwamruhlkkarinkarinkarkahndkhwamhnkeba rupaebbwithikarfuk ekhaiwinopraekrmkarfuksxmidxyangthuktxngehmaasmkbnkkilaaetlabukhkhl odycatxngphicarnaaelakhanungthungxayu ephs wy prasbkarn khwamaetktangrahwangbukhkhl rwmthngrabbphlngngansmrrthphaphthangkay echphaapraephthkila khwamsamarthinkareriynrurbrukhxngnkkilaaetlabukhkhl ephuxnaipsukarwangaephnkarfuksxminaetlachwngewlaidxyangthuktxngehmaasmkbnkkilaaetlabukhkhl 5 ophchnakarthangkarkila khux sastrthiihkhwamruraylaexiydekiywkbkhunkhakhxngxaharaetlachnid aelaruckeluxkrbprathanxaharihthuktxng idsdswnthngindanprimatr aelakhunphaphinaetlachwngkhxngkarfuksxmaelaaekhngkhnsungcamiphltxkarichphlngnganinkarekhluxnihwkarekbsarxngphlngnganiwinklamenux karchdechyphlngnganinrahwangkarfuksxmaelaaekhngkhnaelaphayhlngkarfuksxmaekhngkhnsungcachwyesrimokhrngrangaelakhwamsamarthkhxngrangkayihkhngsphaphaekhngaekrngyingkhun 6 citwithyakarkila khux sastrthiihkhwamruekiywkbkrabwnkarkhidkarkhwbkhumthksakarekhluxnihwaelathksakilarwmthungkartdsinicinaetlasthankarn khxngkarfuksxmaelaaekhngkhnidxyangthuktxngepnphlditxekmskaraekhngkhnaelakaraesdngxxksungthksaaelakhwamsamarthkhxngnkkilaidxyangsxdkhlxng smphnthkbehtukarnthiekidkhun 7 ewchsastrkarkila khux sastrthiihkhwamruekiywkbkarpxngkn babdrksa aelafunfu sphaphrangkayihkbnkkilathnginsphawapktiaelainrahwangkarfuksxmephuxchwyesrimihsmrrthphaphthangkayxyuinsphawathismburnaelaphrxmthicaichngan 8 ethkhonolyithangkarkila khux sastrthiihkhwamruekiywkbpradisthkarichekhruxngmuxaelaxupkrnchwysnbsnuninkarphthnasngesrimtlxdcnkaraekikhpyha khxbkphrxngihkbnkkilaephuxephimskyphaphaelaprasiththiphaphihkbphufuksxnkilaaelankkilarwmthngkarwiekhraahkhxmulkarekhluxnihwthangdanethkhnikhthksa karpraeminphlaelaraynganphlkaraekhngkhnthiepnpraoychnthuktxngrwderwihkbphufuksxnkila nkkila aelaphuchmhlksutrkarsuksainpraethsithysakhawithyasastrkarkilainradbbnthitsuksa epnkarsrangoxkasihkbphuthisnicihkilaechphaathanghruxkarxxkkalngkayechphaathang odyhlksutrpriyyaothswnihycarwmthngkareriynthwipaelakarthawicy odyenuxhathieriyncarwmthungwichasrirwithya citwithya kickrrmklangaecnghruxkarfuksxn aelakarsrangphthnakar ephuxihidrbkhwamrukhwamekhaicthiecaalukkhunthngphakhthvsdiaelaphakhptibti phrxmkbphthnathksainkarthawicy aelaemuxeriyncbksamarththanganinsakhathiekiywkhxngkbkila sukhphaphaelasmrrthphaphthangkay cnthungkarsuksatxinradbpriyyaexk karsuksadanwithyasastrkarkilainpraethsithymiepidsxnhlaysthabn idaek khnawithyasastrkarkila culalngkrnmhawithyaly sankwichawithyasastrsukhphaph mhawithyalyaemfahlwng khnawithyasastrkarkila mhawithyalyekstrsastr khnawithyakarsukhphaphaelakarkila mhawithyalythksin withyalywithyasastraelaethkhonolyikarkila mhawithyalymhidl mhawithyalykarkilaaehngchati khnashewchsastr mhawithyalythrrmsastr sakhawichawithyasastrkarkilaaelakarphthnakila khnaphlsuksa mhawithyalysrinkhrinthrwiorth sankwichawithyasastr mhawithyalyethkhonolyisurnari sakhawichawithyasastrkarkila khnawithyasastrprayuktaelawiswkrrmsastr mhawithyalykhxnaekn khnasuksasastr sakhawithyasastrkarkila mhawithyalymhasarkham khnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalyrachphtely khnasuksasastr mhawithyalysilpakr opraekrmwichawithyasastrkarkilaaelakarxxkkalngkay khnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalyrachphtnkhrrachsima khnawithyasastr sakhawithyasastrkarkila mhawithyalyrachphtcnthreksm khnawithyasastraelaethkhonolyi sakhawithyasastrkarkilaaelasukhphaph mhawithyalyrachphdswnsunntha sankwichaaephthysastr mhawithyalywlylksn sakhawithyasastrkarkilaaelakarxxkkalngkay khnakayphaphbabdaelaewchsastrkarkila mhawithyalyrngsit sakhawithyasastrkarxxkkalngkayaelasmrrthphaphthangkarkilaxangxingculalngkrnmhawithyalyyy 2543 10 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 09 01 subkhnemux 2015 01 02 http www hotcourses in th subject sports science bthkhwamkila nkkila hruxthimkilaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk