สปิริต เป็นโรเวอร์สำรวจดาวอังคาร ออกแบบมาให้เหมือนกับยานออปเพอร์จูนิที มีลักษณะคล้ายรถขนาดเล็ก 6 ล้อ สามารถถ่ายภาพพื้นผิวดาวอังคารส่งมายังโลกได้
สปิริต | |
---|---|
-2 (MER-2) ในระหว่างการทดสอบการเคลื่อนไหวและความคล่องแคล่ว | |
ประเภทภารกิจ | โรเวอร์ |
ผู้ดำเนินการ | NASA |
COSPAR ID | 2003-027A |
SATCAT no. | 27827 |
เว็บไซต์ | Mars Exploration Rover |
ระยะภารกิจ | แผน: 90 (~92 วันบนโลก) ดำเนินงาน: 2269 วันตั้งแต่ส่งถึงการติดต่อครั้งสุดท้าย (2208 ) รวม: 2695 วันตั้งแต่ลงจอดจนถึงสิ้นสุดภารกิจ (2623 ) รวมตั้งแต่ส่งถึงการติดต่อครั้งสุดท้าย: 6 ปี, 9 เดือน, 12 วัน |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ชนิดยานอวกาศ | |
มวลขณะส่งยาน | 1,063 กก.: โรเวอร์ 185 กก., ที่เกาะ 348 กก., เปลือกหลัง/ร่มชูชีพ 209 กก., เกราะนำความร้อน 78 กก., ที่นำยาน 193 กก., เชื้อเพลิงยาน 50 กก. |
มวลแห้ง | 185 กิโลกรัม (408 ปอนด์) (ตัวยานเท่านั้น) |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | June 10, 2003 |
จรวดนำส่ง | 7925-9.5 |
ฐานส่ง | Cape Canaveral |
สิ้นสุดภารกิจ | |
ประกาศเมื่อ | 25 พฤษภาคม ค.ศ.2011 |
ติดต่อครั้งสุดท้าย | 22 มีนาคม ค.ศ.2010 |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | |
ยานสำรวจดาวอังคาร (NASA) |
ภารกิจ
ยานสปิริตมีกำหนดการสำรวจดาวอังคารเป็นเวลา 90 วันของดาวอังคาร (ประมาณ 92 วันบนโลก) ตั้งแต่ลงจอดในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 ในบริเวณที่เรียกว่า ซึ่งนักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าน่าจะเคยเป็นทะเลสาบมาก่อน หลังจากครบกำหนดการแรกแล้วจึงมีการขยายช่วงเวลาภารกิจออกไปเรื่อย ๆ จนถึงปัจจุบันรวมเป็นเวลากว่า 7 ปีแล้ว
การเปลี่ยนภารกิจ
วันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2009 ล้อของยานสปิริตเกิดการติดในพื้นทรายของดาวอังคาร ทำให้ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ นาซาประกาศให้มีภารกิจช่วยเหลือยานออกจากพื้นทราย โดยพยายามที่จะใช้ยานจำลอง จำลองสถานการณ์ล้อที่ติดอยู่เพื่อช่วยยานให้หลุดออกจากพื้น แต่ไม่สำเร็จอยู่หลายครั้ง จนในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2553 นาซาจึงประกาศยกเลิกภารกิจช่วยเหลือ แล้วกำหนดหน้าที่ใหม่ให้ยานสปิริตจากยานสำรวจแบบเคลื่อนที่เป็นสถานีวิจัยคงที่แทน
การสูญเสียการติดต่อ
เนื่องจากไม่สามารถปรับตำแหน่งยาน เมื่อถึงฤดูหนาวของดาวอังคาร ยานสปิริตจะไม่อยู่ในมุมที่รับแสงอาทิตย์มากพอให้เกิดพลังงานสำหรับปฏิบัติการได้ ในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2010 ส่งสัญญาณสุดท้ายกลับมายังโลก ก่อนจะขาดหายไป ทีมงานภาคพื้นเชื่อว่ายานอยู่ในสถานะ "หลับลึก" ซึ่งยานจะหยุดการทำงานทั้งหมด และรอให้พลังงานกลับมาจึงเปิดการทำงานอีกครั้ง หรือว่าได้รับคำสั่งปลุกที่ส่งมาจากโลก
หลังจากพ้นฤดูหนาวแล้ว ทีมงานยังไม่สามารถติดต่อกับยานได้ โดยมีความพยายามส่งคำสั่งเพื่อปลุกยานอยู่หลายครั้ง แต่ยังไม่สำเร็จ มีรายงานว่ามีความเป็นไปได้สูงที่อากาศหนาวในฤดูหนาวของดาวอังคารจะทำให้อุปกรณ์ยานเสียหายได้ เนื่องจากระบบทำความร้อนถูกปิดทำงานระหว่างที่อยู่ในสถานะหลับลึก
อ้างอิง
- [http:mars.jpl.nasa.gov/mer/mission/spacecraft.html "Mars Exploration Rovers"]. NASA. สืบค้นเมื่อ December 6, 2018.
{{}}
: ตรวจสอบค่า|url=
((help)) - Nelson, Jon. . NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-28. สืบค้นเมื่อ February 2, 2014.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-18. สืบค้นเมื่อ April 25, 2009.
- (PDF). p. 5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ พฤษภาคม 27, 2010. สืบค้นเมื่อ เมษายน 28, 2009.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
spirit epnorewxrsarwcdawxngkhar xxkaebbmaihehmuxnkbyanxxpephxrcunithi milksnakhlayrthkhnadelk 6 lx samarththayphaphphunphiwdawxngkharsngmayngolkidspirit 2 MER 2 inrahwangkarthdsxbkarekhluxnihwaelakhwamkhlxngaekhlwpraephthpharkicorewxrphudaeninkarNASACOSPAR ID2003 027ASATCAT no 27827ewbistMars Exploration Roverrayapharkicaephn 90 92 wnbnolk daeninngan 2269 wntngaetsngthungkartidtxkhrngsudthay 2208 rwm 2695 wntngaetlngcxdcnthungsinsudpharkic 2623 rwmtngaetsngthungkartidtxkhrngsudthay 6 pi 9 eduxn 12 wnkhxmulyanxwkaschnidyanxwkasmwlkhnasngyan1 063 kk orewxr 185 kk thiekaa 348 kk epluxkhlng rmchuchiph 209 kk ekraanakhwamrxn 78 kk thinayan 193 kk echuxephlingyan 50 kk mwlaehng185 kiolkrm 408 pxnd twyanethann erimtnpharkicwnthisngkhunJune 10 2003 2003 06 10 crwdnasng7925 9 5thansngCape Canaveralsinsudpharkicprakasemux25 phvsphakhm kh s 2011tidtxkhrngsudthay22 minakhm kh s 2010lksnawngokhcrrabbxangxingyansarwcdawxngkhar NASA khiwrixxssiti pharkicyanspiritmikahndkarsarwcdawxngkharepnewla 90 wnkhxngdawxngkhar praman 92 wnbnolk tngaetlngcxdinwnthi 4 mkrakhm ph s 2547 inbriewnthieriykwa sungnkwithyasastrsnnisthanwanacaekhyepnthaelsabmakxn hlngcakkhrbkahndkaraerkaelwcungmikarkhyaychwngewlapharkicxxkiperuxy cnthungpccubnrwmepnewlakwa 7 piaelwkarepliynpharkicwnthi 1 phvsphakhm kh s 2009 lxkhxngyanspiritekidkartidinphunthraykhxngdawxngkhar thaihimsamarthekhluxnthiid nasaprakasihmipharkicchwyehluxyanxxkcakphunthray odyphyayamthicaichyancalxng calxngsthankarnlxthitidxyuephuxchwyyanihhludxxkcakphun aetimsaercxyuhlaykhrng cninwnthi 26 mkrakhm ph s 2553 nasacungprakasykelikpharkicchwyehlux aelwkahndhnathiihmihyanspiritcakyansarwcaebbekhluxnthiepnsthaniwicykhngthiaethnkarsuyesiykartidtxenuxngcakimsamarthprbtaaehnngyan emuxthungvduhnawkhxngdawxngkhar yanspiritcaimxyuinmumthirbaesngxathitymakphxihekidphlngngansahrbptibtikarid inwnthi 22 minakhm kh s 2010 sngsyyansudthayklbmayngolk kxncakhadhayip thimnganphakhphunechuxwayanxyuinsthana hlbluk sungyancahyudkarthanganthnghmd aelarxihphlngnganklbmacungepidkarthanganxikkhrng hruxwaidrbkhasngplukthisngmacakolk hlngcakphnvduhnawaelw thimnganyngimsamarthtidtxkbyanid odymikhwamphyayamsngkhasngephuxplukyanxyuhlaykhrng aetyngimsaerc miraynganwamikhwamepnipidsungthixakashnawinvduhnawkhxngdawxngkharcathaihxupkrnyanesiyhayid enuxngcakrabbthakhwamrxnthukpidthanganrahwangthixyuinsthanahlblukxangxing http mars jpl nasa gov mer mission spacecraft html Mars Exploration Rovers NASA subkhnemux December 6 2018 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkha url help Nelson Jon NASA khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 01 28 subkhnemux February 2 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 02 18 subkhnemux April 25 2009 PDF p 5 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux phvsphakhm 27 2010 subkhnemux emsayn 28 2009 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk