บทความนี้ต้องการข้อความอธิบายความสำคัญที่กระชับ และ |
ไทป์ 61 (ญี่ปุ่น: 61式戦車, Roku-ichi Shiki sensha) เป็นรถถังชนิด (MBT) ผลิดและใช้งานโดย กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น (JGSDF), รถถังออกแบบโดย Mitsubishi Heavy Industries
Type 61 | |
---|---|
A Type 61 tank on display at the JGSDF Ordnance School in Tsuchiura, Ibaraki prefecture, Japan. | |
ชนิด | |
แหล่งกำเนิด | Japan |
บทบาท | |
ประจำการ | 1961 – 2000 |
ประวัติการผลิต | |
ผู้ออกแบบ | Mitsubishi Heavy Industries |
ช่วงการออกแบบ | 1955 – 1960 |
บริษัทผู้ผลิต | Mitsubishi Heavy Industries |
ช่วงการผลิต | 1961 – 1975 |
จำนวนที่ผลิต | 560 |
แบบอื่น | See Variants |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | 35 tonnes |
ความยาว | 8.19 / 6.03 m |
ความกว้าง | 2.95 m |
ความสูง | 2.49 m |
ลูกเรือ | 4 |
เกราะ | 55 mm(hull) - 114 mm(turret) |
อาวุธหลัก | 90 mm L/52 rifled cannon, Muzzle velocity: 910m/s (M318AP-T) |
อาวุธรอง | 7.62mm (Browning M1919A4) machine gun 12.7mm |
เครื่องยนต์ | Mitsubishi 12HM21WT 4 stroke V type 12 cylinder vertical air cooled 570 hp / 2100 rpm, 29600 cc |
กำลัง/น้ำหนัก | 17.14hp/t |
กันสะเทือน | torsion bar |
พิสัยปฏิบัติการ | 200 km |
ความเร็ว | 45 km/h (paved roads) |
เรืองราวทั้งหมดมันเริ่มจาก ความต้องการ รถถัง ของกองกำลังป้องกันตนเองแห่งญี่ปุ่น หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งฝ่ายญี่ปุ่นได้รับความเสียหายอย่างหนัก และโรงงานเป็นจำนวนมาก ถูกพิษสงครามทำลายจนไม่อาจฟื้นขึ้นมาใหม่ได้
และประกอบกับญี่ปุ่นโดนฝ่ายสัมพันธมิตรบังคับให้ยุบกองกำลังทางทหารทั้งหมด จึงทำให้ตำรวจมีกองกำลังเพียงอย่างเดียวคือกอง กำลังตำรวจ เท่านั้นที่ติดอาวุธเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ซึงต่อมาก็ได้มีการจัดตั้ง National Police Reserve หรือ กองกำลังตำรวจติดอาวุธแห่งชาติ ซึ่งต่อมากองกำลังนี้จะพัฒนาเป็นกองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินต่อไป
เมื่อสหภาพโซเวียตได้ยึดเอาเกาะที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของญี่ปุ่น ทางตอนเหนือของฮอกไกโด และเกาะซาฮาริ (แซกคาริน) ไปและตั้งกองกำลังขึ้นบนเกาะ ทางการญี่ปุ่นจึงต้องจัดหารถถังเพื่อป้องกันตัวเองจากรถถัง T-44 (ผลิตในปี 1944) ของสหภาพโซเวียตในสมัยนั้น
ในปี 1950 ทางกองกำลังป้องกันตนเอง และบริษัทมิซูบิชิ ได้เริ่มมีโครงการที่จะพัฒนารถถังของตนเพื่อทดแทน M4A3E8 สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ของสหรัฐอเมริกา ที่ได้ให้ไว้จำนวนหนึ่ง
และเนื่องด้วยว่าตอนนั้น ทางโรงงานของ มิซูบิชิ กำลังอยู่ในช่วงเวลาของการฟื้นตัว การผลิตเทคโนโลยีที่ซับซ้อน ย่อมเกิดขึ้นได้ยาก ทางการญี่ปุ่นจึงมีทางเลือก 3 ทางคือ สร้างรถถังใช้เอง ไม่ก็ต้องนำเข้ารถถัง M-47 Patton (ผลิตในปี 1954) จากสหรัฐอเมริกาหรือ จะอัพเกรด M4 ที่มีอยู่
โดยเมื่อคิดคำนึงถึงการขนส่งและอื่นๆแล้ว ญี่ปุ่นกลับพบว่าหากซื้อรถถัง M-47 จากสหรัฐจะมีปัญหายุ่งยากกว่า เพราะรางรถไฟของญี่ปุ่นนั้นใช้ความกว้างรางแบบ เคป เกจ (Cape gauge) ขนาดความกว้างราง 1.067 เมตร (3 ฟุต 6 นิ้ว) ทำให้ไม่สามารถบรรทุกสิ่งของที่กว้างกว่า 3 เมตรได้ ในขณะที่รถถถัง M-47 Patton มีขนาดความกว้างถึง 3.52 เมตร ย่อมจะทำให้เกิดความยุ่งยากในการขนส่งทางรถไฟไปยังภูมิภาคต่างๆ ประกอบกับทางรถไฟของญีปุ่นยังไม่ทันสมัยในยุคนั้น ซึ่งรองรับน้ำหนักของสิ่งที่บรรทุกได้ไม่เกิน 35 ตัน การสั้งซื้ออรถถังขนาดใหญ่อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุเมื่อต้องข้ามสะพานหรือ ลอดอุโมงค์ได้ การสั้งซื้อรถถัง M-47 Patton จึงต้องตัดออกไป
และแล้วในที่สุดทางการญี่ปุ่นก็ได้กำหนดคุณลักษณะของรถถังใหม่ของพวกเขา
- 1. เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้รถถังจำนวนน้อยแต่สามารถปฏิบัติงานครอบคลุมพื้นที่ได้มาก ดังนั้นขนาดและน้ำหนักของตัวรถต้องเบาเพียงพอที่จะเคลื่อนย้ายโดยทางรถไฟได้.
- 2. น้ำหนักควรจะไม่เกิน 25 ตันตราบเท่าที่ความหนาของเกราะจะเอื้ออำนวย
- 3. ปืนใหญ่ต้องเป็นปืน 90.มม. ซึ่งถือว่าเป็นปืนใหญ่ที่ใหญ่ที่สุดของรถถังนาโต้ในยุคนั้น
โดยในการพัฒนานั้น ทางมิซูบิชิได้ทำการศึกษารถถังหลายๆแบบเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น M-46 Patton ซึ่งถือเป็นต้นแบบของ M-47 Patton และได้นำรถถัง T-34 ซึ่งเป็นต้นแบบของ T-44 ของสหภาพโซเวียตมาวิเคราะห์ส่วนประกอบเพื่อพัฒนารถถังของตนเอง
จากการวิเคราะห์พบว่า T-34 นั้นมีระบบอำนวยการรบที่ยังล้าสมัยมากพอสมควร และไม่มีระบบการสื่อสารที่เพียงพอ ใช้กำลังพลเยอะไปในการทำให้รถปฏิบัติ (ต้องใช้พลประจำรถถึง 5 นายต่อการปฏิบัติงานในรถถัง T-34) ในขณะที่ T-44 ของสหภาพโซเวียตนั้น สำนักออกแบบ KMBD ของสาธารณรัฐยูเครน แห่งสภาพโซเวียต ได้ออกแบบระบบภายในใหม่โดย T-44 จะลดกำลังพลในรถลง 1 นาย T-44 ซึ่งเป็นภัยคุกคามจึงใช้กำลังพลเพียง 4 นายเท่านั้น
ทาง Mitsubishi Heavy Industries จึงได้ทำการออกแบบรถถังใหม่ ให้มีข้อดีของ T-34 ที่มีน้ำหนักเบา และผลิตได้ง่ายและมีเกราะลาดเอียงกับช่วงล่างกันกระเทือนของ M46 Patton มาทำการปรับปรุงใช้จนเกิดเป็นรถถังของตนเอง และนี่คือเรื่องราวการพัฒนาของมัน
STA-1 (Mitsubishi Type 61 Prototype)
ปลายปี 1956 มิซูบิชิก็พัฒนาตัวต้นแบบสำเร็จโดยให้รหัสว่า STA-1 ซึ่งได้สร้างตามข้อกำหนดที่ ทาง JDSF ร้องขอ ซึ่งเครืองยนต์ของมันใหญ่มาก ทำให้ต้องย่อฐานป้อมปืนให้เตี้ยลง เพื่อไม่ให้ความสูงเลยจากมาตรฐานที่กำหนดไว้ ทำให้เครืองยนต์ดูเหมือนจะโป่งขึ้นมาดังภาพ และล้อของคันต้นแบบ 7 ช่วงล้อ ถือว่ายาวมากๆ โดยรวมแล้ว STA-1 มีขนาดใหญ่ไปและยังมีจุดบกพร่องอีกมาก ทำให้ทางมิซูบิชิต้องทำการแก้ไขมันอีกครั้ง
STA-2 (completed in February 1957)
STA-2 (Mitsubishi Type 61 Prototype)
STA-2 ถูกสร้างขึ้นโดยใช้โครงสร้างตัวเดียวกันกับ STA-1 โดยนำ STA-1 มาตัดดัดแปลงให้มีขนาดเล็กลง โดย STA-2 ถูกตัดลำตัวให้สั้นลง และช่วงบนที่แบนขึ้น JDSF ได้ทำการประเมิน ข้อมูลการรบในสถาณการณ์จำลองของ ตัวแบบทั้งสองรุ่น ก็พบว่า สภาพภูมิประเทศที่เป็นทุ่งข้าว และดินอ่อนของเขานั้นไม่เหมาะสำหรับ รถถังที่เทะทะอย่าง STA-1 จึงได้แจ้งให้บริษัท มิซูบิชิทำการพิจรณาเพื่อหาทางแก้ไข จึงเป็นที่มาของโปรโตไทป์ตัวต่อไป
STA-3 (completed in January 1958)
Mitsubishi สร้างตัวต้นแบบ (prototype) STA-3 จากพื้นฐานของ STA-2 โดยติดตั้งระบบการโหลดกระสุนกึ่งอัตโนมัติ (semi-automatic loading system) เข้าไป และได้ติดตั้งปืนกล AA machine gun ลงไปบนป้อมปืน ของ STA-3 ที่ซึ่งสามารถสั้งงานได้ด้วย remote-controll อัตโนมัติ เมื่อทำการทดสอบจริง พบว่าอุปกรณ์อัตโนมัติที่พัฒนานั้น มีขีดจำกัดในการใช้งาน และการติดสิ่งเหล่านี้บนรถ ก็จะทำให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้น ถึงต้องถูกตัดออก เมื่อสร้างตัวต้นแบบตัวถัดไป STA-4
STA-4 (completed in November 1959)
STA-4 ตัวต้นแบบตัวสุดท้าย ที่จะใกล้เคียงกับ รถถังที่จะได้เข้ารับการผลิตจริง
อุปกรณ์บางอย่างได้รับการยกเลิก มีการปรับปรุงเครืองยนต์เล็กน้อย ปืน AA machine gun ได้ถูกปิดผนึกไว้บนป้อมปืนขนาดเล็ก ที่ซ้อนป้อมปืนใหญ่รถถัง (คล้ายๆกับ M-60 Patton ที่เกิดขึ้นในยุคหลัง) เหนือป้อมปืนของรถ (แต่เมื่อทำการผลิตจริงออฟชั้นนี้ถูกตัดออก - อีกแล้ว)
หลังจากการพัฒนามานาน ได้รับการลองผิดลองถูก Mitsubishi Type 61 ก็ถูกผลิตเข้าประจำการ ในปี 1961 เพื่อป้องกันญี่ปุ่นในกองกำลังป้องกันตนเอง โดยรวมแล้ว Mitsubishi Type 61 ถูกสร้างขึ้นมาจำนวนมากถึง 560 คัน เพื่อประจำการในญี่ปุ่นเพียงประเทศเดียว (ญีปุ่นส่งออกอาวุธไม่ได้) และเป็นม้างานหลัก จนถูกม้าศึกตัวใหม่เข้าแทนที่ซึ่งก็คือ Type 74 Nana-Yon ที่มีความทันสมัยกว่าเข้ามารับไม้ต่อ
ข้อมูลจำเพาะ
- ประเทศผู้ผลิต ญี่ปุ่น
- ปีที่ใช้งาน 1962
- เจ้าหน้าที่ 4 นาย
- หน้ก 35,000 กิโลกรัม/34.4 ต้น
- ยาว 8.19 เมตร
- สูง 2.49 เมตร
- กว้าง 2.95 เมตร
- เกราะหนาที่สุด 64 มม./ 2.52 นิ้ว
- เครื่องยนต์ ดีเซล มิตซูบิชิ เอชเอ็ม 21 ดับลิว ทีให้กำลัง 600 แรงม้า
- ความเร็ว 45 กิโลเมตร/ชั่วโมง
- รัศมีทำการ 200 กิโลเมตร
- อาวุธ
- อาวุธหลัก ปืนใหญ่ ขนาด 90 มม./3.54 นิ้ว
- อาวุธรอง ปืนกล ขนาด 7.62 มม./0.3 นิ้ว และ 12.7 มม./0.5 นิ้ว อย่างละ 1 กระบอก
อ้างอิง
- George Forty & Jack Livesey,the World Encyclopedia of Tanks,Anness,2006
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkhxkhwamxthibaykhwamsakhythikrachb aelasrupenuxhaiwyxhnaaerkkhxngbthkhwam ithp 61 yipun 61式戦車 Roku ichi Shiki sensha epnrththngchnid MBT phlidaelaichnganody kxngkalngpxngkntnexngyipun JGSDF rththngxxkaebbody Mitsubishi Heavy IndustriesType 61A Type 61 tank on display at the JGSDF Ordnance School in Tsuchiura Ibaraki prefecture Japan chnidaehlngkaenidJapanbthbathpracakar1961 2000prawtikarphlitphuxxkaebbMitsubishi Heavy Industrieschwngkarxxkaebb1955 1960bristhphuphlitMitsubishi Heavy Industrieschwngkarphlit1961 1975canwnthiphlit560aebbxunSee Variantskhxmulcaephaamwl35 tonneskhwamyaw8 19 6 03 mkhwamkwang2 95 mkhwamsung2 49 mlukerux4ekraa55 mm hull 114 mm turret xawuthhlk90 mm L 52 rifled cannon Muzzle velocity 910m s M318AP T xawuthrxng7 62mm Browning M1919A4 machine gun 12 7mmekhruxngyntMitsubishi 12HM21WT 4 stroke V type 12 cylinder vertical air cooled 570 hp 2100 rpm 29600 cckalng nahnk17 14hp tknsaethuxntorsion barphisyptibtikar200 kmkhwamerw45 km h paved roads ithp 61 eruxngrawthnghmdmnerimcak khwamtxngkar rththng khxngkxngkalngpxngkntnexngaehngyipun hlngsngkhramolkkhrngthi 2 sungfayyipunidrbkhwamesiyhayxyanghnk aelaorngnganepncanwnmak thukphissngkhramthalaycnimxacfunkhunmaihmid aelaprakxbkbyipunodnfaysmphnthmitrbngkhbihyubkxngkalngthangthharthnghmd cungthaihtarwcmikxngkalngephiyngxyangediywkhuxkxng kalngtarwc ethannthitidxawuthephuxrksakhwamsngberiybrxyphayinpraeths sungtxmakidmikarcdtng National Police Reserve hrux kxngkalngtarwctidxawuthaehngchati sungtxmakxngkalngnicaphthnaepnkxngkalngpxngkntnexngphakhphundintxip emuxshphaphosewiytidyudexaekaathixyuphayitxthipitykhxngyipun thangtxnehnuxkhxnghxkikod aelaekaasahari aeskkharin ipaelatngkxngkalngkhunbnekaa thangkaryipuncungtxngcdharththngephuxpxngkntwexngcakrththng T 44 phlitinpi 1944 khxngshphaphosewiytinsmynn inpi 1950 thangkxngkalngpxngkntnexng aelabristhmisubichi iderimmiokhrngkarthicaphthnarththngkhxngtnephuxthdaethn M4A3E8 smysngkhramolkkhrngthi 2 khxngshrthxemrika thiidihiwcanwnhnung aelaenuxngdwywatxnnn thangorngngankhxng misubichi kalngxyuinchwngewlakhxngkarfuntw karphlitethkhonolyithisbsxn yxmekidkhunidyak thangkaryipuncungmithangeluxk 3 thangkhux srangrththngichexng imktxngnaekharththng M 47 Patton phlitinpi 1954 cakshrthxemrikahrux caxphekrd M4 thimixyu odyemuxkhidkhanungthungkarkhnsngaelaxunaelw yipunklbphbwahaksuxrththng M 47 cakshrthcamipyhayungyakkwa ephraarangrthifkhxngyipunnnichkhwamkwangrangaebb ekhp ekc Cape gauge khnadkhwamkwangrang 1 067 emtr 3 fut 6 niw thaihimsamarthbrrthuksingkhxngthikwangkwa 3 emtrid inkhnathirthththng M 47 Patton mikhnadkhwamkwangthung 3 52 emtr yxmcathaihekidkhwamyungyakinkarkhnsngthangrthifipyngphumiphakhtang prakxbkbthangrthifkhxngyipunyngimthnsmyinyukhnn sungrxngrbnahnkkhxngsingthibrrthukidimekin 35 tn karsngsuxxrththngkhnadihyxacthaihekidxubtiehtuemuxtxngkhamsaphanhrux lxdxuomngkhid karsngsuxrththng M 47 Patton cungtxngtdxxkip aelaaelwinthisudthangkaryipunkidkahndkhunlksnakhxngrththngihmkhxngphwkekha 1 ephuxihekidprasiththiphaphinkarichrththngcanwnnxyaetsamarthptibtingankhrxbkhlumphunthiidmak dngnnkhnadaelanahnkkhxngtwrthtxngebaephiyngphxthicaekhluxnyayodythangrthifid 2 nahnkkhwrcaimekin 25 tntrabethathikhwamhnakhxngekraacaexuxxanwy 3 punihytxngepnpun 90 mm sungthuxwaepnpunihythiihythisudkhxngrththngnaotinyukhnn odyinkarphthnann thangmisubichiidthakarsuksarththnghlayaebbekhadwykn imwacaepn M 46 Patton sungthuxepntnaebbkhxng M 47 Patton aelaidnarththng T 34 sungepntnaebbkhxng T 44 khxngshphaphosewiytmawiekhraahswnprakxbephuxphthnarththngkhxngtnexng cakkarwiekhraahphbwa T 34 nnmirabbxanwykarrbthiynglasmymakphxsmkhwr aelaimmirabbkarsuxsarthiephiyngphx ichkalngphleyxaipinkarthaihrthptibti txngichphlpracarththung 5 naytxkarptibtinganinrththng T 34 inkhnathi T 44 khxngshphaphosewiytnn sankxxkaebb KMBD khxngsatharnrthyuekhrn aehngsphaphosewiyt idxxkaebbrabbphayinihmody T 44 caldkalngphlinrthlng 1 nay T 44 sungepnphykhukkhamcungichkalngphlephiyng 4 nayethann thang Mitsubishi Heavy Industries cungidthakarxxkaebbrththngihm ihmikhxdikhxng T 34 thiminahnkeba aelaphlitidngayaelamiekraaladexiyngkbchwnglangknkraethuxnkhxng M46 Patton mathakarprbprungichcnekidepnrththngkhxngtnexng aelanikhuxeruxngrawkarphthnakhxngmnSTA 1 Mitsubishi Type 61 Prototype playpi 1956 misubichikphthnatwtnaebbsaercodyihrhswa STA 1 sungidsrangtamkhxkahndthi thang JDSF rxngkhx sungekhruxngyntkhxngmnihymak thaihtxngyxthanpxmpunihetiylng ephuximihkhwamsungelycakmatrthanthikahndiw thaihekhruxngyntduehmuxncaopngkhunmadngphaph aelalxkhxngkhntnaebb 7 chwnglx thuxwayawmak odyrwmaelw STA 1 mikhnadihyipaelayngmicudbkphrxngxikmak thaihthangmisubichitxngthakaraekikhmnxikkhrngSTA 2 completed in February 1957 STA 2 Mitsubishi Type 61 Prototype STA 2 thuksrangkhunodyichokhrngsrangtwediywknkb STA 1 odyna STA 1 matdddaeplngihmikhnadelklng ody STA 2 thuktdlatwihsnlng aelachwngbnthiaebnkhun JDSF idthakarpraemin khxmulkarrbinsthankarncalxngkhxng twaebbthngsxngrun kphbwa sphaphphumipraethsthiepnthungkhaw aeladinxxnkhxngekhannimehmaasahrb rththngthiethathaxyang STA 1 cungidaecngihbristh misubichithakarphicrnaephuxhathangaekikh cungepnthimakhxngoprotithptwtxipSTA 3 completed in January 1958 Mitsubishi srangtwtnaebb prototype STA 3 cakphunthankhxng STA 2 odytidtngrabbkarohldkrasunkungxtonmti semi automatic loading system ekhaip aelaidtidtngpunkl AA machine gun lngipbnpxmpun khxng STA 3 thisungsamarthsngnganiddwy remote controll xtonmti emuxthakarthdsxbcring phbwaxupkrnxtonmtithiphthnann mikhidcakdinkarichngan aelakartidsingehlanibnrth kcathaihkhaichcaysungkhun thungtxngthuktdxxk emuxsrangtwtnaebbtwthdip STA 4STA 4 completed in November 1959 STA 4 twtnaebbtwsudthay thicaiklekhiyngkb rththngthicaidekharbkarphlitcring xupkrnbangxyangidrbkarykelik mikarprbprungekhruxngyntelknxy pun AA machine gun idthukpidphnukiwbnpxmpunkhnadelk thisxnpxmpunihyrththng khlaykb M 60 Patton thiekidkhuninyukhhlng ehnuxpxmpunkhxngrth aetemuxthakarphlitcringxxfchnnithuktdxxk xikaelw hlngcakkarphthnamanan idrbkarlxngphidlxngthuk Mitsubishi Type 61 kthukphlitekhapracakar inpi 1961 ephuxpxngknyipuninkxngkalngpxngkntnexng odyrwmaelw Mitsubishi Type 61 thuksrangkhunmacanwnmakthung 560 khn ephuxpracakarinyipunephiyngpraethsediyw yipunsngxxkxawuthimid aelaepnmanganhlk cnthukmasuktwihmekhaaethnthisungkkhux Type 74 Nana Yon thimikhwamthnsmykwaekhamarbimtxkhxmulcaephaapraethsphuphlit yipun pithiichngan 1962 ecahnathi 4 nay hnk 35 000 kiolkrm 34 4 tn yaw 8 19 emtr sung 2 49 emtr kwang 2 95 emtr ekraahnathisud 64 mm 2 52 niw ekhruxngynt diesl mitsubichi exchexm 21 dbliw thiihkalng 600 aerngma khwamerw 45 kiolemtr chwomng rsmithakar 200 kiolemtr xawuth xawuthhlk punihy khnad 90 mm 3 54 niw xawuthrxng punkl khnad 7 62 mm 0 3 niw aela 12 7 mm 0 5 niw xyangla 1 krabxkxangxingGeorge Forty amp Jack Livesey the World Encyclopedia of Tanks Anness 2006 bthkhwamthhar hruxkarthharniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk