วัฏจักรกำมะถัน เป็นการหมุนเวียนของกำมะถันในโลก กำมะถันพบได้ในสภาพแวดล้อมหลายแห่ง พื้นผิวโลกเป็นแหล่งใหญ่ของกำมะถัน คิดเป็น 95% รองลงมาคือ ในแหล่งน้ำมีประมาณ 5%
การหมุนเวียนของกำมะถัน
การหมุนเวียนของกำมะถันในแต่ละส่วนของระบบนิเวศสรุปได้ดังนี้
- ชั้นของเป็นแหล่งสำคัญของกำมะถัน การออกจากระบบพื้นผิวโลกเกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ และการชะลงสู่ชั้นของน้ำใต้ดิน นอกจากนั้น กิจกรรมของมนุษย์ยังมีส่วนต่อการเคลื่อนย้ายของกำมะถัน ทั้งโดยการเผาไหม้เชื้อเพลิง การถลุงแร่และการผลิตปุ๋ย
- ชั้นของดิน ที่มาของกำมะถันในดินมาจากการชะล้าง ผุพัง และจากบรรยากาศ รวมทั้งการใส่ปุ๋ย กำมะถันในดินจะถูกเปลี่ยนรูปไปทั้งโดยปฏิกิริยาเคมีและสิ่งมีชีวิต ในดินชั้นบน กำมะถันจะอยู่ในสารอินทรีย์ ส่วนดินชั้นล่างจะอยู่ในรูปสารอนินทรีย์ ในดินที่มีการระบายอากาศดี กำมะถันจะอยู่ในรูปของซัลเฟต แต่ในดินที่มีการระบายอากาศไม่ดีเช่นมีน้ำท่วมขัง กำมะถันจะอยู่ในรูปซัลไฟด์ แต่เมื่อเติมแก๊สออกซิเจนลงไป ซัลไฟด์จะเปลี่ยนเป็นซัลเฟต ซัลเฟตละลายน้ำได้ดีจึงถูกชะออกจากดินได้ง่าย การย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบ จะได้กำมะถันในรูปของก๊าซ ส่วนหนึ่งจะระเหยไปสู่บรรยากาศ ส่วนหนึ่งจะกลับไปอยู่ในรูปของซัลเฟตอีก ทั้งในปฏิกิริยาเคมีและสิ่งมีชีวิต
- สิ่งมีชีวิต เมื่อกำมะถันเข้าสู่สิ่งมีชีวิตจะถูกนำไปสร้างเป็นโปรตีน วิตามิน หรือสารประกอบอื่นๆ และจะถูกเปลี่ยนกลับเป็นซัลเฟตหรือสารประกอบอื่นๆของกำมะถันได้เมื่อสิ่งมีชีวิตตาย
- บรรยากาศ สารประกอบของกำมะถันในบรรยากาศได้แก่ (SO2) ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S)สารประกอบอินทรีย์ของกำมะถันที่ระเหยได้ และซัลเฟตในบรรยากาศ แหล่งที่มาได้แก่ ก๊าซจากการระเบิดของภูเขาไฟ ฝุ่นละอองที่มากับลม ก๊าซจากสิ่งมีชีวิต และกิจกรรมของมนุษย์ การคงอยู่ของก๊าซเหล่านี้ในบรรยากาศสั้นมากและขึ้นกับความคงตัวทางโมเลกุลด้วย การออกซิไดส์ของก๊าซเหล่านี้ขึ้นกับอุณหภูมิ ความชื้น และแสงอาทิตย์
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ส่วนใหญ่มาจากการกระทำของมนุษย์ ในขณะที่จุลินทรีย์จะผลิต COS, CS2, และ (CH3)2S ผลิตภัณฑ์สุดท้ายจากการออกซิไดส์ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์และก๊าซที่มีกำมะถันอื่น ๆ คือ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และซัลเฟต แต่โดยทั่วไปซัลเฟตจะเข้าสู่บรรยากาศโดยยละอองน้ำจากทะเลและฝุ่นละอองที่มากับลม การออกจากบรรยากาศเกิดขึ้นโดยการรวมตัวกับน้ำ เกิดเป็นฝนกรดและลงสู่พื้นดิน หรือรวมตัวกับธาตุอื่นๆแล้งตกมายังพื้นโลก
- แหล่งน้ำ ในมหาสมุทร กำมะถันจะอยู่ในรูปซัลเฟตที่ละลายน้ำ ซึ่งมาจากแม่น้ำและฝน ในดินตะกอนจะมีสารประกอบกำมะถันในสภาพรีดิวซ์ปะปนอยู่ กำมะถันจะออกจากแหล่งน้ำโดยถูกซัดปนไปกับละอองน้ำ หรือโดยการระเหยในรูปก๊าซที่เกิดจากการกระทำของจุลินทรีย์
การเปลี่ยนรูปของกำมะถัน
- sulfur oxidation เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของแบคทีเรียกลุ่มที่ออกซิไดส์กำมะถัน เช่น Thiobacillus, Metallogenium
- Thiobacillus เป็นแบคทีเรียแกรมลบ ไม่สร้างสปอร์ รูปร่างเป็นแท่ง ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ด้วยแฟลกเจลลา จะออกซิไดส์กำมะถันจาก SH- จนเป็นซัลเฟต
- Sulfolobus acidocaldarious เป็นแบบคทีเรียทนอุณหภูมิสูงและทนกรด สามารถออกซิไดส์ กำมะถัน ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ และ Fe2+ได้ พบในน้ำพุร้อนที่เป็นกรดทั่วโลก
- Beggiatoa เป็นแบคทีเรียที่มีและมีก้อนกำมะถันภายในเซลล์ พบในที่เจิญในน้ำท่วมขัง เช่นนาข้าว แบคที่เรียกลุ่มนี้จะเปลี่ยนก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ที่เป็นพิษต่อพืชไปเป็นธาตุกำมะถัน
- แบคทีเรียที่สังเคราะห์ด้วยแสงโดยใช้ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ มี 2 กลุ่มคือและ แบคทีเรียสีเขียวพบในบริเวณที่มีความเข้มข้นของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ สูง (4-8 mM) ในขณะที่แบคทีเรียสีม่วงพบในบริเวณที่มีก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ปานกลาง ส่วนแบคทีเรียที่ไม่มีสีม่วงพบในบริเวณที่มีความเข้มข้นของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ต่ำ แบคทีเรียเหล่านี้จะทำงานร่วมกับแบคทีเรียที่รีดิวซ์กำมะถันในธรรมชาติ เจริญในสภาวะไร้ออกซิเจนเท่านั้น
- sulfur reduction จุลินทรีย์ส่วนใหญ่ใช้ซัลเฟตเป็นแหล่งของกำมะถันสำหรับการเติบโต การรีดิวซ์กำมะถันแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือการนำกำมะถันไปเป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต เช่น -SH ในโปรตีน และการเปลี่ยนซัลเฟตไปอยู่ในรูป ตัวอย่างเช่นแบคทีเรีย Desulfovibrio และ Desulfotomaculum
- Mineralization เป็นการเปลี่ยนรูปกำมะถันในสารประกอบอินทรีย์ให้อยู่ในรูปอนินทรีย์ ปริมาณการเกิด Mineralization ของกำมะถันขึ้นกับอัตราส่วนระหว่างคาร์บอนกับกำมะถัน เมื่ออัตราส่วนนี้น้อยกว่า 200 จะปล่อยกำมะถันเข้าสู่ดินในรูปซัลเฟต แต่ถ้ามากกว่า 400 จะมีการนำซัลเฟตออกจากดินด้วยกระบวนการตรึง
- Volatilization คือการระเหยของกำมะถัน สารประกอบอินทรีย์ของกำมะถันที่ระเหยได้รวมทั้งก๊าซที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบ เกิดจากกิจกรรมของจุลินทรีย์ที่เติบโตในสภาวะไร้ออกซิเจน
อ้างอิง
- Dick, W.A.. 1992. Sulfur cycle In Encyclopedia of Microbiology. J. Lederberg, ed. San diago: Academic Press, Inc. pp. 123-131.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wtckrkamathn epnkarhmunewiynkhxngkamathninolk kamathnphbidinsphaphaewdlxmhlayaehng phunphiwolkepnaehlngihykhxngkamathn khidepn 95 rxnglngmakhux inaehlngnamipraman 5 karhmunewiynkhxngkamathnphaphaesdngkarhmunewiynkhxngwtckrkamathn karhmunewiynkhxngkamathninaetlaswnkhxngrabbniewssrupiddngni chnkhxngepnaehlngsakhykhxngkamathn karxxkcakrabbphunphiwolkekidcakkarraebidkhxngphuekhaif karepliynaeplngkhxngsphaphxakas aelakarchalngsuchnkhxngnaitdin nxkcaknn kickrrmkhxngmnusyyngmiswntxkarekhluxnyaykhxngkamathn thngodykarephaihmechuxephling karthlungaeraelakarphlitpuy chnkhxngdin thimakhxngkamathnindinmacakkarchalang phuphng aelacakbrryakas rwmthngkarispuy kamathnindincathukepliynrupipthngodyptikiriyaekhmiaelasingmichiwit indinchnbn kamathncaxyuinsarxinthriy swndinchnlangcaxyuinrupsarxninthriy indinthimikarrabayxakasdi kamathncaxyuinrupkhxngsleft aetindinthimikarrabayxakasimdiechnminathwmkhng kamathncaxyuinrupslifd aetemuxetimaeksxxksiecnlngip slifdcaepliynepnsleft sleftlalaynaiddicungthukchaxxkcakdinidngay karyxyslaysarxinthriythimikamathnepnxngkhprakxb caidkamathninrupkhxngkas swnhnungcaraehyipsubrryakas swnhnungcaklbipxyuinrupkhxngsleftxik thnginptikiriyaekhmiaelasingmichiwit singmichiwit emuxkamathnekhasusingmichiwitcathuknaipsrangepnoprtin witamin hruxsarprakxbxun aelacathukepliynklbepnslefthruxsarprakxbxunkhxngkamathnidemuxsingmichiwittay brryakas sarprakxbkhxngkamathninbrryakasidaek SO2 kasihodrecnslifd H2S sarprakxbxinthriykhxngkamathnthiraehyid aelasleftinbrryakas aehlngthimaidaek kascakkarraebidkhxngphuekhaif funlaxxngthimakblm kascaksingmichiwit aelakickrrmkhxngmnusy karkhngxyukhxngkasehlaniinbrryakassnmakaelakhunkbkhwamkhngtwthangomelkuldwy karxxksiidskhxngkasehlanikhunkbxunhphumi khwamchun aelaaesngxathity kasslefxridxxkisdswnihymacakkarkrathakhxngmnusy inkhnathiculinthriycaphlit COS CS2 aela CH3 2S phlitphnthsudthaycakkarxxksiidskasihodrecnslifdaelakasthimikamathnxun khux kasslefxridxxkisdaelasleft aetodythwipsleftcaekhasubrryakasodyylaxxngnacakthaelaelafunlaxxngthimakblm karxxkcakbrryakasekidkhunodykarrwmtwkbna ekidepnfnkrdaelalngsuphundin hruxrwmtwkbthatuxunaelngtkmayngphunolk aehlngna inmhasmuthr kamathncaxyuinrupsleftthilalayna sungmacakaemnaaelafn indintakxncamisarprakxbkamathninsphaphridiwspapnxyu kamathncaxxkcakaehlngnaodythuksdpnipkblaxxngna hruxodykarraehyinrupkasthiekidcakkarkrathakhxngculinthriykarepliynrupkhxngkamathnsulfur oxidation ekidkhunodykickrrmkhxngaebkhthieriyklumthixxksiidskamathn echn Thiobacillus Metallogenium Thiobacillus epnaebkhthieriyaekrmlb imsrangspxr ruprangepnaethng swnihyekhluxnthiiddwyaeflkeclla caxxksiidskamathncak SH cnepnsleft Sulfolobus acidocaldarious epnaebbkhthieriythnxunhphumisungaelathnkrd samarthxxksiids kamathn kasihodrecnslifd aela Fe2 id phbinnaphurxnthiepnkrdthwolk Beggiatoa epnaebkhthieriythimiaelamikxnkamathnphayinesll phbinthieciyinnathwmkhng echnnakhaw aebkhthieriyklumnicaepliynkasihodrecnslifd thiepnphistxphuchipepnthatukamathn aebkhthieriythisngekhraahdwyaesngodyichkasihodrecnslifd mi 2 klumkhuxaela aebkhthieriysiekhiywphbinbriewnthimikhwamekhmkhnkhxngkasihodrecnslifd sung 4 8 mM inkhnathiaebkhthieriysimwngphbinbriewnthimikasihodrecnslifd panklang swnaebkhthieriythiimmisimwngphbinbriewnthimikhwamekhmkhnkhxngkasihodrecnslifd ta aebkhthieriyehlanicathanganrwmkbaebkhthieriythiridiwskamathninthrrmchati ecriyinsphawairxxksiecnethann sulfur reduction culinthriyswnihyichsleftepnaehlngkhxngkamathnsahrbkaretibot karridiwskamathnaebngidepn 2 aebb khuxkarnakamathnipepnxngkhprakxbkhxngsingmichiwit echn SH inoprtin aelakarepliynsleftipxyuinrup twxyangechnaebkhthieriy Desulfovibrio aela Desulfotomaculum Mineralization epnkarepliynrupkamathninsarprakxbxinthriyihxyuinrupxninthriy primankarekid Mineralization khxngkamathnkhunkbxtraswnrahwangkharbxnkbkamathn emuxxtraswnninxykwa 200 caplxykamathnekhasudininrupsleft aetthamakkwa 400 camikarnasleftxxkcakdindwykrabwnkartrung Volatilization khuxkarraehykhxngkamathn sarprakxbxinthriykhxngkamathnthiraehyidrwmthngkasthimikamathnepnxngkhprakxb ekidcakkickrrmkhxngculinthriythietibotinsphawairxxksiecnxangxingDick W A 1992 Sulfur cycle In Encyclopedia of Microbiology J Lederberg ed San diago Academic Press Inc pp 123 131 bthkhwamekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk