บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ภาษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดในประเทศเกาหลีใต้และประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป (ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐ แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดในฟิลิปปินส์ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็น นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ในตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV)
ภาษาเกาหลี | |
---|---|
한국어 (เกาหลีใต้) 조선말 (เกาหลีเหนือ) | |
ออกเสียง | เสียงอ่านภาษาเกาหลี: /ha(ː)n.ɡu.ɡʌ/ (เกาหลีใต้) เสียงอ่านภาษาเกาหลี: /tso.sɔn.mal/ (เกาหลีเหนือ) |
ประเทศที่มีการพูด | ประเทศเกาหลี |
ชาติพันธุ์ | ชาวเกาหลี |
จำนวนผู้พูด | 80.4 ล้านคน (2020) |
ตระกูลภาษา | เกาหลี
|
รูปแบบก่อนหน้า | เกาหลีดั้งเดิม
|
รูปแบบมาตรฐาน | (เกาหลีใต้) (เกาหลีเหนือ) |
ภาษาถิ่น | |
ระบบการเขียน | ฮันกึล / โชซ็อนกึล (อักษรเกาหลี) โรมาจา อดีต: ฮันจา (อักษรจีน) |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | เกาหลีใต้ เกาหลีเหนือ |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | จีน (จังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลี หยันเปียนและอำเภอปกครองตนเองชนชาติเกาหลี ฉางไป๋) |
| |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | ko |
ISO 639-2 | kor |
ISO 639-3 | kor |
นักภาษาศาสตร์ | kor |
45-AAA-a | |
ประเทศที่มีประชากรที่พูดภาษาเกาหลีเป็นภาษาแม่ (ชุมชนผู้อพยพอยู่ในสีเขียว) | |
อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม
เกี่ยวกับชื่อ
คำว่า เกาหลี มาจากภาษาจีน โดยอักษรจีนคือ 高麗 (พินอิน: Gāo lí) ซึ่งหมายถึงประเทศโครยอ ซึ่งเป็นชื่อเก่าและปัจจุบันชาวเกาหลีมิได้ใช้ชื่อนี้แล้ว ในเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้มีความแตกต่างกัน ในเกาหลีเหนือ ชาวเกาหลีเหนือส่วนใหญ่มักเรียกว่า โชซ็อนมัล (조선말) หรือหากเป็นทางการขึ้นจะเรียกว่า โชซอนอ (조선어)
ในเกาหลีใต้ ประชาชนส่วนใหญ่เรียกภาษาของตนว่า ฮันกุงมัล (한국말) หรือ ฮันกูกอ (한국어) หรือ กูกอ (국어; "ภาษาประจำชาติ") บางครั้งอาจเรียกในแบบภาษาพื้นเมืองหรือภาษาถิ่นว่า อูรีมัล (แปลว่า "ภาษาของเรา"; มาจากคำว่า 우리말 (เขียนติดกันในเกาหลีใต้) หรือ 우리 말 (เขียนแยกกันในเกาหลีเหนือ))
สำเนียงท้องถิ่น
ภาษาเกาหลีมีมากมาย ภาษาทางการที่ใช้ในเกาหลีใต้คือสำเนียงท้องถิ่นที่ใช้ในพื้นที่บริเวณโซล และภาษาทางการที่ใช้ในเกาหลีเหนือคือสำเนียงท้องถิ่นที่ใช้บริเวณกรุงเปียงยาง สำเนียงท้องถิ่นโดยทั่วไปจะมีความคล้ายคลึงกัน ยกเว้นสำเนียงท้องถิ่นบนเกาะเชจูที่มีความแตกต่างค่อนข้างมาก ความแตกต่างที่สำคัญที่สุดระหว่างสำเนียงท้องถิ่นแต่ละแห่งคือ สำเนียงท้องถิ่นของโซลจะเน้นเสียงน้อยมาก และไม่ค่อยมีความสูงต่ำในการเปล่งเสียง ในทางกลับกัน สำเนียงท้องถิ่นของ คย็องซัง มีความสูงต่ำของการออกเสียงอย่างมากจนคล้ายกับภาษาทางยุโรป อย่างไรก็ตามเราสามารถจำแนกสำเนียงท้องถิ่นของภาษาเกาหลีออกเป็นภูมิภาคต่าง ๆ ได้ดังตาราง โดยพิจารณาจากขอบเขตของภูเขาและทะเล
สำเนียงทางการ | บริเวณที่ใช้ |
---|---|
โซล (표준어) | ภาษามาตรฐานในเกาหลีใต้ มีพื้นฐานมาจากสำเนียงตอนกลาง นอกจากนี้ยังนิยมใช้กันในหมู่เยาวชนเกาหลีและเนื้อหาออนไลน์ |
เปียงยาง (문화어) | ภาษามาตรฐานในเกาหลีเหนือ มีพื้นฐานมาจากสำเนียงพย็องอัน |
สำเนียงท้องถิ่น | บริเวณที่ใช้ |
ฮัมกย็อง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) (함경) | ราซ็อน พื้นที่ส่วนใหญ่ของภูมิภาคฮัมกย็อง รยังกัง (เกาหลีเหนือ), มณฑลจี๋หลิน (จีน) |
พย็องอัน (ตะวันตกเฉียงเหนือ) (평안) | ภูมิภาคพย็องอัน เปียงยาง ชากัง ฮวังแฮ ตอนเหนือของจังหวัดฮัมกย็องเหนือ (เกาหลีเหนือ), มณฑลเหลียวหนิง (จีน) |
ตอนกลาง (중부) | โซล อินช็อน คย็องกี แทจ็อน ชุงช็อง (เกาหลีใต้) ยอซอ (จังหวัดคังว็อนฝั่งตะวันตกของเทือกเขาแทแบ็ก) |
ชายฝั่งตะวันออก (영동) | ภูมิภาคย็องดง (จังหวัดคังว็อนฝั่งตะวันออกของเทือกเขาแทแบ็ก) |
คย็องซัง (ตะวันออกเฉียงใต้) (경상) | ปูซาน แทกู อุลซัน คย็องซัง (เกาหลีใต้) |
ช็อลลา (ตะวันตกเฉียงใต้) (전라) | ควังจู ช็อลลา (เกาหลีใต้) |
เชจู (제주) | เกาะเชจู (เกาหลีใต้) |
อักษรเกาหลี
- ดูบทความหลักที่ อักษรฮันกึล
อักษรเกาหลี หรือ ฮันกึล โดยผิวเผินแล้ว อักษรฮันกึลคล้ายกับเหมือนอักษรจีน แต่จริง ๆ แล้ว อักษรฮันกึลอยู่ในระบบ (ตัวพยัญชนะเป็นอักษรรูปภาพเลียนแบบอวัยวะการออกเสียงในขณะที่ออกเสียงนั้นๆ สระเป็นอักษรรูปภาพใช้แนวคิดเชิงปรัชญา เกี่ยวกับ ท้องฟ้า พื้นดิน และมนุษย์) คือประกอบด้วยพยัญชนะและสระ ซึ่งมีทั้งหมด 24 ตัว ประกอบด้วย
- พยัญชนะ 14 ตัว คือ ㄱ (คีย็อก), ㄴ (นีอึน), ㄷ (ทีกึด), ㄹ (รีอึล), ㅁ (มีอึม), ㅂ (พีอึบ), ㅅ (ชีอด), ㅇ (อีอึง), ㅈ (ชีอึด), ㅊ (ชีอึด), ㅋ (คีอึก), ㅌ (ทีอึด), ㅍ (พีอึบ) และ ㅎ (ฮีอึด)
- สระ 10 ตัว คือ ㅏ (อา), ㅑ (ยา), ㅓ (ออ), ㅕ (ยอ), ㅗ (โอ), ㅛ (โย), ㅜ (อู), ㅠ (ยู), ㅡ (อือ) และ ㅣ (อี)
พยัญชนะและสระดังกล่าวเรียกว่า พยัญชนะเดี่ยว และสระเดี่ยว ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีส่วนที่เรียกว่าพยัญชนะซ้ำ และสระประสมด้วย คือ
- พยัญชนะซ้ำ 5 ตัว ได้แก่ ㄲ (ซังกีย็อก), ㄸ (ซังดีกึด), ㅃ (ซังบีอึบ), ㅆ (ซังชีอด) และ ㅉ (ซังจีอึด)
- สระประสม 11 ตัว ได้แก่ ㅐ (แอ), ㅒ (แย), ㅔ (เอ), ㅖ (เย), ㅚ (เว), ㅟ (วี), ㅘ (วา), ㅙ (แว), ㅝ (วอ), ㅞ (เว) และ ㅢ (อึย)
อักษรเกาหลีมีลำดับการเขียนคล้ายอักษรจีน คือ ลากจากบนลงล่าง และจากซ้ายไปขวา นอกจากนี้การเขียนพยางค์หนึ่ง ๆ จะเริ่มเขียนจากพยัญชนะต้น ไปสระ และตัวสะกดตามลำดับ
เลขเกาหลี
จำนวน | แบบเกาหลี | แบบจีน | |||
---|---|---|---|---|---|
ฮันกึล | คำอ่านไทย | ฮันกึล | ฮันจา | คำอ่านไทย | |
0 | — | — | 영, 령, 공 | 零, 空 | ย็อง, รย็อง, คง |
1 | 하나 | ฮานา | 일 | 一 | อิล |
2 | 둘 | ทุล | 이 | 二 | อี |
3 | 셋 | เซ็ด | 삼 | 三 | ซัม |
4 | 넷 | เน็ด | 사 | 四 | ซา |
5 | 다섯 | ทาซ็อด | 오 | 五 | โอ |
6 | 여섯 | ยอซ็อด | 육, 륙 | 六 | ยุก, รยุก |
7 | 일곱 | อิลกบ | 칠 | 七 | ชิล |
8 | 여덟 | ยอด็อล | 팔 | 八 | พัล |
9 | 아홉 | อาฮบ | 구 | 九 | คู |
10 | 열 | ย็อล | 십 | 十 | ชิบ |
20 | 스물 | ซือมุล | 이십 | 二十 | อีชิบ |
30 | 서른 | ซอรึน | 삼십 | 三十 | ซัมชิบ |
40 | 마흔 | มาฮึน | 사십 | 四十 | ซาชิบ |
50 | 쉰 | ชวิน | 오십 | 五十 | โอชิบ |
60 | 예순 | เยซุน | 육십, 륙십 | 六十 | ยุกชิบ, รยุกชิบ |
70 | 일흔 | อิลฮึน | 칠십 | 七十 | ชิลชิบ |
80 | 여든 | ยอดึน | 팔십 | 八十 | พัลชิบ |
90 | 아흔 | อาฮึน | 구십 | 九十 | คูชิบ |
100 | — | — | 백 | 百 | แพ็ก |
1,000 | — | — | 천 | 千 | ช็อน |
10,000 | — | — | 만 | 萬 | มัน |
100,000,000 | — | — | 억 | 億 | อ็อก |
สัทศาสตร์
ข้อมูลการเทียบเสียงต่อไปนี้เป็นเพียงการเทียบเสียงเบื้องต้น ซึ่งอาจจะไม่ถูกต้องมากนัก พยัญชนะทุกตัวในภาษาเกาหลีมีเสียงแตกต่างกัน แต่พบว่าบางครั้งการได้ยินของคนไทยไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างได้เหมือนคนเกาหลี เช่น คำว่า 자 (ja; ชา) กับ 차 (cha; ชา) เป็นต้น
พยัญชนะ
ฐานริมฝีปาก | ฐานปุ่มเหงือก | ฐานหลังปุ่มเหงือก | ฐานเพดานอ่อน | ฐานเส้นเสียง | ||
---|---|---|---|---|---|---|
และ | สิถิลเบา | ㅂ /p/, /b/ b ป~บ | ㄷ /t/, /d/ d ท~ต~ด | ㅈ /t͡ɕ/, /d͡ʑ/ j จ~จ͡ย | ㄱ /k/, /g/ g ก~ก͡ง | |
สิถิลหนัก | ㅃ /p͈/ pp ป* | ㄸ /t͈/ tt ต* | ㅉ /t͡ɕ͈/~/tʃ/ jj จ* | ㄲ /k͈/ kk ก* | ||
ธนิต | ㅍ /pʰ/, /bʱ/ p พ | ㅌ /tʰ/, /dʱ/ t ท | ㅊ /t͡ɕʰ/, /d͡ʑʱ/ ch ช | ㅋ /kʰ/, /gʱ/ k ค | ||
เบา | ㅅ /sʰ/ หรือ /zʱ/ s ซ หรือ ช (เมื่อผสมกับสระ ㅣ) | ㅎ /h/ h ฮ | ||||
หนัก | ㅆ /s͈/ หรือ /ɕ͈/ ss ซ* | |||||
เสียงนาสิก | ㅁ /m/ m ม | ㄴ /n/ n น | ㅇ /ŋ/ ng ง (ตัวสะกด) | |||
**/w/ w ว | ㄹ /l/ l ล | **/j/ y ย |
- * หมายถึง พยัญชนะเสียงหนัก
- ** หมายถึง เสียงพยัญชนะที่มากับรูปสระ
- สำหรับ ㅇ เมื่อเป็นพยัญชนะต้นแต่มีคำอื่นมาก่อน จะนำพยัญชนะสะกดของคำก่อนหน้ามาเป็นเสียงพยัญชนะต้น ดูที่ การอ่านโยงเสียง
ตัวอย่างคำศัพท์
หน่วยเสียง | ตัวอย่าง | ทับศัพท์ | คำอ่านไทย โดยประมาณ | คำแปล |
---|---|---|---|---|
ㅂ /p/ | 발 [pal] | bal | พัล | เท้า |
ㅃ /p͈/ | 빨다 [p͈alda] | ppalda | ปัลดา | ซักผ้า |
ㅍ /pʰ/ | 팔 [pʰal] | pal | พัล | แขน |
ㅁ /m/ | 말 [mal] | mal | มัล | ม้า |
ㄷ /t/ | 달 [tal] | dal | ทัล | ดวงจันทร์ |
ㄸ /t͈/ | 딸 [t͈al] | ttal | ตัล | ลูกสาว |
ㅌ /tʰ/ | 타다 [tʰada] | tada | ทาดา | ขี่, โดยสาร |
ㄴ /n/ | 날 [nal] | nal | นัล | วัน |
ㅈ /t͡ɕ/ | 잘 [t͡ɕal] | jal | ชัล | บ่อน้ำ, ดี |
ㅉ /t͡ɕ͈/ | 짜다 [t͡ɕ͈ada] | jjada | จาดา | คั้น |
ㅊ /t͡ɕʰ/ | 차다 [t͡ɕʰada] | chada | ชาดา | เตะ |
ㄱ /k/ | 가다 [kada] | gada | คาดา | ไป |
ㄲ /k͈/ | 깔다 [k͈alda] | kkalda | กัลดา | กระจาย |
ㅋ /kʰ/ | 칼 [kʰal] | kal | คัล | มีด |
ㅇ /ŋ/ | 방 [paŋ] | bang | พัง | ห้อง |
ㅅ /s/ | 살 [sal] | sal | ซัล | เนื้อหนัง |
ㅆ /s͈/ | 쌀 [s͈al] | ssal | ซัล | ข้าวสาร |
ㄹ /l/ | 바람 [paɾam] | baram | พารัม | ลม |
ㅎ /h/ | 하다 [hada] | hada | ฮาดา | กระทำ |
สระ
ฐาน | +อี | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ฐาน | ㅏ /a/ a อา | ㅓ /ʌ/ eo ออ (ปากเหยียด) | ㅗ /o/ o โอ | ㅜ /u/ u อู | ㅡ /ɯ/ eu อือ | ㅣ /i/ i อี | ㅐ /ɛ/ ae แอ | ㅔ /e/ e เอ | ㅚ /ø/ oe เว (เอว์) | ㅟ /y/ wi วี (อวี) | ㅢ /ɰi/ ui อึย |
ย+ | ㅑ /ja/ ya ยา | ㅕ /jʌ/ yeo ยอ (ปากเหยียด) | ㅛ /jo/ yo โย | ㅠ /ju/ yu ยู | ㅒ /jɛ/ yae แย | ㅖ /je/ ye เย | |||||
ว+ | ㅘ /wa/ wa วา | ㅝ /wʌ/ wo วอ (ปากเหยียด) | ㅙ /wɛ/ wae แว | ㅞ /we/ we เว |
- /ʌ/ (eo) ออกเสียง "ออ" ปากเหยียด บางตำราก็ใช้ /ə/ "เออ"
- /ø/ (oe) ออกเสียง "เอ" ปากห่อ
สระเกาหลีไม่เหมือนภาษาไทยซึ่งมีเสียงสั้นเสียงยาวแยกกัน เช่น อิ กับ อี จะรวมเป็นสระเดียว คือ ㅣ (/i/) แต่จะเป็นเสียงสั้นหรือเสียงยาวนั้นขึ้นอยู่กับการเน้นเสียง แม้คำที่เขียนเหมือนกันแต่อ่านด้วยเสียงที่ต่างกัน ความหมายก็อาจเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง ดังตัวอย่างต่อไปนี้
รูปสระ | สระเสียงสั้น | สระเสียงยาว | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
IPA | เสียงไทย โดยประมาณ | คำเกาหลี | IPA | ทับศัพท์ | ความหมาย | IPA | เสียงไทย โดยประมาณ | คำเกาหลี | IPA | ทับศัพท์ | ความหมาย | |
ㅣ | /i/ | อิ | 시장 | [ɕiˈʥaŋ] | sijang | ความหิว | /iː/ | อี | 시장 | [ˈɕiːʥaŋ] | sijang | ตลาด |
ㅔ | /e/ | เอะ | 베개 | [peˈɡɛ] | begae | หมอน | /eː/ | เอ | 베다 | [ˈpeːda] | beda | ตัด หนุน |
ㅐ | /ɛ/ | แอะ | 태양 | [tʰɛˈjaŋ] | taeyang | ดวงอาทิตย์ | /ɛː/ | แอ | 태도 | [ˈtʰɛːdo] | taedo | ท่าทาง ทัศนคติ |
ㅏ | /a/ | อะ | 말 | [ˈmal] | mal | ม้า | /aː/ | อา | 말 | [ˈmaːl] | mal | คำ การพูด ภาษา |
ㅗ | /o/ | โอะ | 보리 | [poˈɾi] | bori | ข้าวบาร์เลย์ | /oː/ | โอ | 보수 | [ˈpoːsu] | bosu | การตอบแทน ค่าตอบแทน การอนุรักษ์ การซ่อมแซม |
ㅜ | /u/ | อุ | 구리 | [kuˈɾi] | guri | ทองแดง | /uː/ | อู | 수박 | [ˈsuːbak] | subak | แตงโม |
ㅓ | /ʌ/ | เอาะ | 벌 | [ˈpʌl] | beol | ชุด (ลักษณนาม) การลงโทษ | /ʌː/ | เออ | 벌 | [ˈpʌːl] | beol | ผึ้ง |
ㅡ | /ɯ/ | อึ | 어른 | [ˈəːɾɯn] | eoreun | ผู้ใหญ่ ผู้อาวุโส | /ɯː/ | อือ | 음식 | [ˈɯːmɕik] | eumsik | อาหาร |
ㅚ | /ø/ [we] | เวะ | 교회 | [ˈkjoːɦø̞] ~ [kjoː.βwe̞] | gyohoe | โบสถ์ | /øː/ [weː] | เว | 외투 | [ø̞ː.tʰu] ~ [we̞ː.tʰu] | oetu | อาหาร |
ㅟ | /y/ [ɥi] | วิ | 쥐 | [t͡ɕy] ~ [t͡ɕɥi] | jwi | หนู ตะคริว | /yː/ [ɥiː] | วี | 귀신 | [ˈkyːʑin] ~ [ˈkɥiːʑin] | gwisin | ผี วิญญาณ |
- ชาวเกาหลีส่วนใหญ่ออกเสียง /ʌː/ "ออ" (เสียงยาว) เป็น /əː/ "เออ"
ตัวสะกด
แม้พยัญชนะเกาหลีจะมีหลายตัว และแต่ละตัวเสียงแตกต่างกัน แต่เมื่อนำมาใช้เป็นตัวสะกดแล้ว จะมีทั้งหมด 7 มาตราเท่านั้น ดังตาราง จะเห็นว่าคล้ายคลึงกับภาษาไทย โดยที่ต่างออกไปคือ เสียง [ㄹ] (ล) เมื่อนำไปเป็นตัวสะกดแล้วจะไม่ใช่เสียง [น] เช่นในภาษาไทย นอกจากนี้อาจพบตัวสะกดแบบที่มีพยัญชนะสะกดสองตัว เช่น 여덟, 앉다 ฯลฯ ตัวสะกดลักษณะนี้จะเลือกออกเสียงเฉพาะตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้น และอีกตัวจะไม่ออกเสียง เช่น 여덟 อ่านว่า /ยอ-ด็อล/ ไม่ใช่ /ยอ-ด็อบ/ การที่จะทราบว่าตัวสะกดคู่จะออกเสียงพยัญชนะตัวใด แสดงดังตาราง อย่างไรก็ตามมีตัวสะกดคู่บางส่วนที่ออกเสียงไม่แน่นอนขึ้นกับคำ คือ ㄺ และ ㄼ
ตัวสะกด | พยัญชนะ | ตัวอย่างคำ | เสียงอ่านโดยประมาณ |
---|---|---|---|
กง | ㅇ | 성 | ซ็อง |
กน | ㄴ, ㄵ, ㄶ | 원 | ว็อน |
กม | ㅁ, ㄻ | 남 | นัม |
กก | ㄱ, ㄲ, ㅋ, ㄳ | 밖 | พัก |
กด | ㄷ, ㅅ, ㅆ, ㅈ, ㅊ, ㅌ, ㅎ | 이것 | อีก็อด |
กบ | ㅂ, ㅍ, ㅄ, ㄿ | 십 없다 | ชิบ อ็อบตา |
กล | ㄹ, ㄽ, ㄾ, ㅀ | 팔 | พัล |
ไม่แน่นอน | ㄺ, ㄼ | 여덟 | ยอด็อล |
การอ่านโยงเสียง
ในพยางค์หนึ่งๆ กรณีที่พยัญชนะต้นเป็นตัวอีอึง (ㅇ) เสียงของมันอาจไม่ใช่เสียง "อ" แต่จะเป็นเสียงของตัวสะกดในพยางค์ก่อนหน้าแทน เช่น
- 직업 อ่านว่า /지겁/ (ชี-กอบ) ไม่ใช่ /직-업/ (ชิก-ออบ)
- 당신은 อ่านว่า /당시는/ (ทัง-ชี-นึน) ไม่ใช่ /당-신-은/ (ทัง-ชิน-อึน)
ถ้าไม่มีคำใดมาก่อนจะออกเสียงคล้าย อ หรือถ้าคำก่อนหน้าไม่มีพยัญชนะสะกด จะออกเสียงเชื่อมสระเข้าด้วยกัน
กฎการอ่านแบบกลมกลืนเสียง*
ในพยางค์ใดที่ลงท้ายด้วยตัวสะกดและพยัญชนะต้นในพยางค์ถัดไปที่ติดกัน
เสียงของตัวสะกดจะเปลี่ยนเพื่อให้ออกเสียงได้สะดวกกลมกลืนและไม่ขัดกัน โดยจำแนกไว้เป็นกฎต่างๆดังต่อไปนี้
1. พยางค์ใดลงท้ายด้วยตัวสะกดในแม่ /ㄱ/, /ㄷ/, /ㅂ/ และพยัญชนะต้นในพยางค์ถัดไปเป็นเสียงนาสิก เสียงตัวสะกดจะเปลี่ยนเป็น /ㅇ/, /ㄴ/, /ㅁ/ ตามลำดับ เพื่อให้ออกเสียงได้สะดวกกลมกลืนและไม่ขัดกัน
ตัวอย่างเช่น
집는다 -> /짐는다/ เขียนว่า "ชิบนึนดา" แต่จะอ่านเป็น "ชิมนึนดา" เพื่อให้ออกเสียงได้สะดวกกลมกลืนและไม่ขัดกัน
받는다 -> /반는다/ เขียนว่า "พัดนึนดา" แต่จะอ่านเป็น "พันนึนดา" เพื่อให้ออกเสียงได้สะดวกกลมกลืนและไม่ขัดกัน
속는다 -> /송는다/ เขียนว่า "ซกนึนดา" แต่จะอ่านเป็น "ซงนึนดา" เพื่อให้ออกเสียงได้สะดวกกลมกลืนและไม่ขัดกัน
ที่คุ้นเคยกันดีได้แก่ ไวยากรณ์ลงท้ายประโยคอย่างสุภาพ "-습니다" ถึงแม้ว่าจะเขียนเป็น -ซึบนีดา แต่เพื่อให้เป็นไปตามเหตุผลดังที่กล่าวไว้ข้างต้นแล้ว เราก็จะอ่านว่า -ซึมนีดา
ตัวอย่างประโยคหรือวลีที่มักพบ
ประโยคภาษาเกาหลี | คำอ่านไทย | คำแปล |
---|---|---|
안녕하세요. | อัน-นย็อง-ฮา-เซ-โย | สวัสดี |
감사합니다./고맙습니다. | คัม-ซา-ฮัม-นี-ดา / โค-มับ-ซึม-นี-ดา | ขอบคุณ |
사랑해. | ซา-รัง-แฮ | รัก |
실례지만. | ชิล-รเย-จี-มัน | ขอโทษครับ |
안녕히 주무세요. | อัน-นย็อง-ฮี / ชู-มู-เซ-โย | ราตรีสวัสดิ์ |
만나서 반가워요. | มัน-นา-ซอ-พัน-กา-วอ-โย | ยินดีที่ได้รู้จัก |
죄송합니다. 저 먼저 갑니다 | ชเว-ซง-ฮัม-นี-ดา. ชอ-ม็อน-จอ-กัม-นี-ดา. | ขอโทษครับ ผมไปก่อนนะครับ |
ไวยากรณ์
การวางคำในประโยคภาษาเกาหลีมีลักษณะใกล้เคียงกับการเรียงในภาษาญี่ปุ่นและภาษาตุรกีรวมไปถึงภาษาในประเทศอินเดีย โดยเรียงลำดับคำในประโยคเป็น "ประธาน-กรรม-กริยา" ซึ่งแตกต่างกับประโยคในภาษาไทยที่เป็น "ประธาน-กริยา-กรรม" เช่นประโยค "ฉันกินข้าว" ในภาษาไทย จะเขียนลำดับเป็น "ฉันข้าวกิน" [나는 밥을 먹는다.] ในภาษาเกาหลี
ภาษาเกาหลีมีเพื่อบอกหน้าที่ของคำต่างๆ ในประโยค เช่น เป็นคำช่วยที่ใช้วางหลังสถานที่เพื่อระบุตำแหน่ง และ 가 หรือ 를 เป็นคำช่วยที่วางหลังคำเพื่อระบุว่าคำนั้นเป็นประธานของประโยค เป็นต้น นอกจากนี้ภาษาเกาหลียังมีการผันรูปกริยาหลายรูปแบบเพื่อเปลี่ยนแปลงกาลเทศะ เช่น ระดับความสุภาพและความเป็นทางการของประโยค สภาพกาลของประโยคว่าเป็นอดีต อนาคต หรือปัจจุบัน
การเทียบเสียง
ในภาษาเกาหลี ได้มีการกำหนดระบบในการถอดอักษรเกาหลีเป็นอักษรโรมันไว้ โดยเป็นที่นิยมมาก 2 ระบบ คือ ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000 ระบบที่ใช้อย่างเป็นทางการในประเทศเกาหลีใต้ปัจจุบัน และ ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ ใช้ในประเทศเกาหลีเหนืออย่างเป็นทางการในปัจจุบัน และเคยใช้ในเกาหลีใต้อย่างเป็นทางการในช่วง พ.ศ. 2527-2543
อ้างอิง
- Sohn, H.-M. (1999). The Korean Language. Cambridge: Cambridge University Press. .
- Song, J.J. (2005). The Korean Language: Structure, Use and Context. London: Routledge. .
- ภาษาเกาหลี ที่ Ethnologue (17th ed., 2013)
หนังสืออ่านเพิ่ม
- Chang, Suk-jin (1996). Korean. Philadelphia: John Benjamins Publishing Company. ISBN . (Volume 4 of the London Oriental and African Language Library).
- Hulbert, Homer B. (1905): A Comparative Grammar of the Korean Language and the Dravidian Dialects in India. Seoul.
- Lee, Ki-Moon Lee and S. Robert Ramsey. A History of the Korean Language (Cambridge University Press; 2011) 352 pages.
- Martin, Samuel E. (1966): Lexical Evidence Relating Japanese to Korean. Language 42/2: 185–251.
- Martin, Samuel E. (1990): Morphological clues to the relationship of Japanese and Korean. In: Philip Baldi (ed.): Linguistic Change and Reconstruction Methodology. Trends in Linguistics: Studies and Monographs 45: 483-509.
- Miller, Roy Andrew (1971): Japanese and the Other Altaic Languages. Chicago: University of Chicago Press. .
- Miller, Roy Andrew (1996): Languages and History: Japanese, Korean and Altaic. Oslo: Institute for Comparative Research in Human Culture. .
- Ramstedt, G. J. (1928): Remarks on the Korean language. Mémoires de la Société Finno-Oigrienne 58.
- Rybatzki, Volker (2003): Middle Mongol. In: Juha Janhunen (ed.) (2003): The Mongolic languages. London: Routledge. : 47–82.
- Starostin, Sergei A.; Anna V. Dybo; Oleg A. Mudrak (2003): Etymological Dictionary of the Altaic Languages, 3 volumes. Leiden: Brill Academic Publishers. .
- Sohn, H.-M. (1999): The Korean Language. Cambridge: Cambridge University Press.
- Sohn, Ho-Min (2006). Korean Language in Culture and Society. Boston: Twayne Publishers. ISBN .
- Song, J.-J. (2005): The Korean Language: Structure, Use and Context. London: Routledge.
- Trask, R. L. (1996): Historical linguistics. Hodder Arnold.
- Vovin, Alexander: Koreo-Japonica. University of Hawai'i Press.
- Whitman, John B. (1985): The Phonological Basis for the Comparison of Japanese and Korean. Unpublished Harvard University Ph.D. dissertation.
ดูเพิ่ม
- การถอดอักษรเกาหลีเป็นอักษรโรมัน
- ภาษาเกาหลีไซนิจิ (ญี่ปุ่น: 在日朝鮮語; โรมาจิ: ไซนิจิโจวเซนโงะ) ภาษาเกาหลีที่ใช้พูดในกลุ่มชาวเกาหลีที่พำนักอยู่ในญี่ปุ่น ซึ่งมีความใกล้เคียงกับภาษาเกาหลีทางตอนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี แต่ก็ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาญี่ปุ่น
- ภาษาโครยอ-มาร์ (ซีริลลิก:Корё маль โกรยอมัล) ภาษาเกาหลีที่ใช้พูดโดยชาวโกรยอ-ซารัม (ซีริลลิก: Корё сарам, ฮันกึล: 고려사람) ผู้สืบเชื้อสายเกาหลีในเอเชียกลาง ซึ่งส่วนใหญ่ถูกนำมาจากเกาหลีเหนือเพื่อนำมาใช้แรงงาน โดยภาษานี้ได้อักษรซีริลลิกในการเขียน
- (จีน:中國朝鮮) เป็นกลุ่มชาวจีนเชื้อสายเกาหลีที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือของคาบสมุทรเกาหลีที่มีเขตแดนต่อกับเกาหลีเหนือ ใช้สำเนียงใกล้เคียงกับเกาหลีเหนือ
แหล่งข้อมูลอื่น
- Linguistic and Philosophical Origins of the Korean Alphabet (Hangul)
- Sogang University free online Korean language and culture course
- Beginner's guide to Korean for English speakers 2019-03-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- U.S. Foreign Service Institute Korean basic course
- asianreadings.com, Korean readings with hover prompts
- Linguistic map of Korea
- dongsa.net, Korean verb conjugation tool
- , a tool to visualize and study Korean vocabulary
- ภาษาเกาหลี ที่เว็บไซต์ Curlie
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul phasaekahli khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phasaekahli 한국어 hrux 조선말 duinswnchux epnphasathiswnihyphudinpraethsekahliitaelapraethsekahliehnux sungichepnphasarachkar aelamikhnchnephaekahlithixasyxyuinpraethscinphudodythwip incnghwdpkkhrxngtnexngchnchatiekahliehyiynepiyn mnthlcihlin sungmiphrmaedntidkbekahliehnux thwolkmikhnphudphasaekahli 78 lankhn rwmthungklumkhninxditshphaphosewiyt shrth aekhnada brasil yipun aelaemuxerw nikmiphuphudinfilippinsdwy karcdtrakulkhxngphasaekahliimepnthiyxmrbknodythwip aetkhnswnmakmkcathuxepn nkphasasastrbangkhnidcdklumihxyuintrakulphasaxlitxikdwy thngnienuxngcakphasaekahlimiwciwiphakhaebbphasakhatidtx swnwakysmphnthhruxokhrngsrangpraoykhnn epnaebbprathan krrm kriya SOV phasaekahli한국어 ekahliit 조선말 ekahliehnux phasaekahliinxksrhnkul ekahliit hnkukxx say ekahliehnux ochsxnml khwa xxkesiyngesiyngxanphasaekahli ha ː n ɡu ɡʌ ekahliit esiyngxanphasaekahli tso sɔn mal ekahliehnux praethsthimikarphudpraethsekahlichatiphnthuchawekahlicanwnphuphud80 4 lankhn 2020 trakulphasaekahli phasaekahlirupaebbkxnhnaekahlidngedim phasaekahlirupaebbmatrthan ekahliit ekahliehnux phasathinrabbkarekhiynhnkul ochsxnkul xksrekahli ormaca xdit hnca xksrcin sthanphaphthangkarphasathangkar ekahliit ekahliehnuxphasachnklumnxythirbrxngin cin cnghwdpkkhrxngtnexngchnchatiekahli hynepiynaelaxaephxpkkhrxngtnexngchnchatiekahli changip 국립국어원 國立國語院 The Language Research Institute Academy of Social Science 사회과학원 어학연구소 China Korean Language Regulatory Commission 중국조선어규범위원회 中国朝鲜语规范委员会 rhsphasaISO 639 1koISO 639 2korISO 639 3kornkphasasastrkor45 AAA apraethsthimiprachakrthiphudphasaekahliepnphasaaem chumchnphuxphyphxyuinsiekhiyw bthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhd xksrekahli eriykwaxksrhnkul ichaethnesiyngkhxngaetlaphyangkh nxkcakniichyngtwxkkhraaebbcineriykwaxksrhnca inkarekhiyndwy inkhnathikhasphththiichknswnihyepnkhaphasaekahliaeth odythimikhasphthmakkwa 50 macakphasacinthngthangtrngaelathangxxmekiywkbchuxkhawa ekahli macakphasacin odyxksrcinkhux 高麗 phinxin Gao li sunghmaythungpraethsokhryx sungepnchuxekaaelapccubnchawekahlimiidichchuxniaelw inekahliehnuxaelaekahliitmikhwamaetktangkn inekahliehnux chawekahliehnuxswnihymkeriykwa ochsxnml 조선말 hruxhakepnthangkarkhuncaeriykwa ochsxnx 조선어 inekahliit prachachnswnihyeriykphasakhxngtnwa hnkungml 한국말 hrux hnkukx 한국어 hrux kukx 국어 phasapracachati bangkhrngxaceriykinaebbphasaphunemuxnghruxphasathinwa xuriml aeplwa phasakhxngera macakkhawa 우리말 ekhiyntidkninekahliit hrux 우리 말 ekhiynaeykkninekahliehnux saeniyngthxngthinsaeniyngthxngthinphasaekahli phasaekahlimimakmay phasathangkarthiichinekahliitkhuxsaeniyngthxngthinthiichinphunthibriewnosl aelaphasathangkarthiichinekahliehnuxkhuxsaeniyngthxngthinthiichbriewnkrungepiyngyang saeniyngthxngthinodythwipcamikhwamkhlaykhlungkn ykewnsaeniyngthxngthinbnekaaechcuthimikhwamaetktangkhxnkhangmak khwamaetktangthisakhythisudrahwangsaeniyngthxngthinaetlaaehngkhux saeniyngthxngthinkhxngoslcaennesiyngnxymak aelaimkhxymikhwamsungtainkareplngesiyng inthangklbkn saeniyngthxngthinkhxng khyxngsng mikhwamsungtakhxngkarxxkesiyngxyangmakcnkhlaykbphasathangyuorp xyangirktamerasamarthcaaenksaeniyngthxngthinkhxngphasaekahlixxkepnphumiphakhtang iddngtarang odyphicarnacakkhxbekhtkhxngphuekhaaelathael saeniyngthangkar briewnthiichosl 표준어 phasamatrthaninekahliit miphunthanmacaksaeniyngtxnklang nxkcakniyngniymichkninhmueyawchnekahliaelaenuxhaxxnilnepiyngyang 문화어 phasamatrthaninekahliehnux miphunthanmacaksaeniyngphyxngxnsaeniyngthxngthin briewnthiichhmkyxng tawnxxkechiyngehnux 함경 rasxn phunthiswnihykhxngphumiphakhhmkyxng ryngkng ekahliehnux mnthlcihlin cin phyxngxn tawntkechiyngehnux 평안 phumiphakhphyxngxn epiyngyang chakng hwngaeh txnehnuxkhxngcnghwdhmkyxngehnux ekahliehnux mnthlehliywhning cin txnklang 중부 osl xinchxn khyxngki aethcxn chungchxng ekahliit yxsx cnghwdkhngwxnfngtawntkkhxngethuxkekhaaethaebk chayfngtawnxxk 영동 phumiphakhyxngdng cnghwdkhngwxnfngtawnxxkkhxngethuxkekhaaethaebk khyxngsng tawnxxkechiyngit 경상 pusan aethku xulsn khyxngsng ekahliit chxlla tawntkechiyngit 전라 khwngcu chxlla ekahliit echcu 제주 ekaaechcu ekahliit xksrekahlidubthkhwamhlkthi xksrhnkulphyychnaekahli 14 tw xksrekahli hrux hnkul odyphiwephinaelw xksrhnkulkhlaykbehmuxnxksrcin aetcring aelw xksrhnkulxyuinrabb twphyychnaepnxksrrupphapheliynaebbxwywakarxxkesiynginkhnathixxkesiyngnn sraepnxksrrupphaphichaenwkhidechingprchya ekiywkb thxngfa phundin aelamnusy khuxprakxbdwyphyychnaaelasra sungmithnghmd 24 tw prakxbdwy phyychna 14 tw khux ㄱ khiyxk ㄴ nixun ㄷ thikud ㄹ rixul ㅁ mixum ㅂ phixub ㅅ chixd ㅇ xixung ㅈ chixud ㅊ chixud ㅋ khixuk ㅌ thixud ㅍ phixub aela ㅎ hixud sra 10 tw khux ㅏ xa ㅑ ya ㅓ xx ㅕ yx ㅗ ox ㅛ oy ㅜ xu ㅠ yu ㅡ xux aela ㅣ xi phyychnaaelasradngklaweriykwa phyychnaediyw aelasraediyw tamladb nxkcakniyngmiswnthieriykwaphyychnasa aelasraprasmdwy khux phyychnasa 5 tw idaek ㄲ sngkiyxk ㄸ sngdikud ㅃ sngbixub ㅆ sngchixd aela ㅉ sngcixud sraprasm 11 tw idaek ㅐ aex ㅒ aey ㅔ ex ㅖ ey ㅚ ew ㅟ wi ㅘ wa ㅙ aew ㅝ wx ㅞ ew aela ㅢ xuy xksrekahlimiladbkarekhiynkhlayxksrcin khux lakcakbnlnglang aelacaksayipkhwa nxkcaknikarekhiynphyangkhhnung caerimekhiyncakphyychnatn ipsra aelatwsakdtamladbelkhekahlicanwn aebbekahli aebbcinhnkul khaxanithy hnkul hnca khaxanithy0 영 령 공 零 空 yxng ryxng khng1 하나 hana 일 一 xil2 둘 thul 이 二 xi3 셋 esd 삼 三 sm4 넷 end 사 四 sa5 다섯 thasxd 오 五 ox6 여섯 yxsxd 육 륙 六 yuk ryuk7 일곱 xilkb 칠 七 chil8 여덟 yxdxl 팔 八 phl9 아홉 xahb 구 九 khu10 열 yxl 십 十 chib20 스물 suxmul 이십 二十 xichib30 서른 sxrun 삼십 三十 smchib40 마흔 mahun 사십 四十 sachib50 쉰 chwin 오십 五十 oxchib60 예순 eysun 육십 륙십 六十 yukchib ryukchib70 일흔 xilhun 칠십 七十 chilchib80 여든 yxdun 팔십 八十 phlchib90 아흔 xahun 구십 九十 khuchib100 백 百 aephk1 000 천 千 chxn10 000 만 萬 mn100 000 000 억 億 xxksthsastrCommons khxmmxns mi khaxaninphasaekahli khxmulkarethiybesiyngtxipniepnephiyngkarethiybesiyngebuxngtn sungxaccaimthuktxngmaknk phyychnathuktwinphasaekahlimiesiyngaetktangkn aetphbwabangkhrngkaridyinkhxngkhnithyimsamarthaeykaeyakhwamaetktangidehmuxnkhnekahli echn khawa 자 ja cha kb 차 cha cha epntn phyychna thanrimfipak thanpumehnguxk thanhlngpumehnguxk thanephdanxxn thanesnesiyngaela sithileba ㅂ p b b p b ㄷ t d d th t d ㅈ t ɕ d ʑ j c c y ㄱ k g g k k ngsithilhnk ㅃ p pp p ㄸ t tt t ㅉ t ɕ tʃ jj c ㄲ k kk k thnit ㅍ pʰ bʱ p ph ㅌ tʰ dʱ t th ㅊ t ɕʰ d ʑʱ ch ch ㅋ kʰ gʱ k kheba ㅅ sʰ hrux zʱ s s hrux ch emuxphsmkbsra ㅣ ㅎ h h hhnk ㅆ s hrux ɕ ss s esiyngnasik ㅁ m m m ㄴ n n n ㅇ ŋ ng ng twsakd w w w ㄹ l l l j y y hmaythung phyychnaesiynghnk hmaythung esiyngphyychnathimakbrupsra sahrb ㅇ emuxepnphyychnatnaetmikhaxunmakxn canaphyychnasakdkhxngkhakxnhnamaepnesiyngphyychnatn duthi karxanoyngesiyngtwxyangkhasphth hnwyesiyng twxyang thbsphth khaxanithy odypraman khaaeplㅂ p 발 pal bal phl ethaㅃ p 빨다 p alda ppalda plda skphaㅍ pʰ 팔 pʰal pal phl aekhnㅁ m 말 mal mal ml maㄷ t 달 tal dal thl dwngcnthrㄸ t 딸 t al ttal tl luksawㅌ tʰ 타다 tʰada tada thada khi odysarㄴ n 날 nal nal nl wnㅈ t ɕ 잘 t ɕal jal chl bxna diㅉ t ɕ 짜다 t ɕ ada jjada cada khnㅊ t ɕʰ 차다 t ɕʰada chada chada etaㄱ k 가다 kada gada khada ipㄲ k 깔다 k alda kkalda klda kracayㅋ kʰ 칼 kʰal kal khl midㅇ ŋ 방 paŋ bang phng hxngㅅ s 살 sal sal sl enuxhnngㅆ s 쌀 s al ssal sl khawsarㄹ l 바람 paɾam baram pharm lmㅎ h 하다 hada hada hada krathasra sraekahliphunthanthan xithan ㅏ a a xa ㅓ ʌ eo xx pakehyiyd ㅗ o o ox ㅜ u u xu ㅡ ɯ eu xux ㅣ i i xi ㅐ ɛ ae aex ㅔ e e ex ㅚ o oe ew exw ㅟ y wi wi xwi ㅢ ɰi ui xuyy ㅑ ja ya ya ㅕ jʌ yeo yx pakehyiyd ㅛ jo yo oy ㅠ ju yu yu ㅒ jɛ yae aey ㅖ je ye eyw ㅘ wa wa wa ㅝ wʌ wo wx pakehyiyd ㅙ wɛ wae aew ㅞ we we ew ʌ eo xxkesiyng xx pakehyiyd bangtarakich e exx o oe xxkesiyng ex pakhx sraekahliimehmuxnphasaithysungmiesiyngsnesiyngyawaeykkn echn xi kb xi carwmepnsraediyw khux ㅣ i aetcaepnesiyngsnhruxesiyngyawnnkhunxyukbkarennesiyng aemkhathiekhiynehmuxnknaetxandwyesiyngthitangkn khwamhmaykxacepliynipodysineching dngtwxyangtxipni rupsra sraesiyngsn sraesiyngyawIPA esiyngithy odypraman khaekahli IPA thbsphth khwamhmay IPA esiyngithy odypraman khaekahli IPA thbsphth khwamhmayㅣ i xi 시장 ɕiˈʥaŋ sijang khwamhiw iː xi 시장 ˈɕiːʥaŋ sijang tladㅔ e exa 베개 peˈɡɛ begae hmxn eː ex 베다 ˈpeːda beda td hnunㅐ ɛ aexa 태양 tʰɛˈjaŋ taeyang dwngxathity ɛː aex 태도 ˈtʰɛːdo taedo thathang thsnkhtiㅏ a xa 말 ˈmal mal ma aː xa 말 ˈmaːl mal kha karphud phasaㅗ o oxa 보리 poˈɾi bori khawbarely oː ox 보수 ˈpoːsu bosu kartxbaethn khatxbaethn karxnurks karsxmaesmㅜ u xu 구리 kuˈɾi guri thxngaedng uː xu 수박 ˈsuːbak subak aetngomㅓ ʌ exaa 벌 ˈpʌl beol chud lksnnam karlngoths ʌː exx 벌 ˈpʌːl beol phungㅡ ɯ xu 어른 ˈeːɾɯn eoreun phuihy phuxawuos ɯː xux 음식 ˈɯːmɕik eumsik xaharㅚ o we ewa 교회 ˈkjoːɦo kjoː bwe gyohoe obsth oː weː ew 외투 o ː tʰu we ː tʰu oetu xaharㅟ y ɥi wi 쥐 t ɕy t ɕɥi jwi hnu takhriw yː ɥiː wi 귀신 ˈkyːʑin ˈkɥiːʑin gwisin phi wiyyanchawekahliswnihyxxkesiyng ʌː xx esiyngyaw epn eː exx twsakd aemphyychnaekahlicamihlaytw aelaaetlatwesiyngaetktangkn aetemuxnamaichepntwsakdaelw camithnghmd 7 matraethann dngtarang caehnwakhlaykhlungkbphasaithy odythitangxxkipkhux esiyng ㄹ l emuxnaipepntwsakdaelwcaimichesiyng n echninphasaithy nxkcaknixacphbtwsakdaebbthimiphyychnasakdsxngtw echn 여덟 앉다 l twsakdlksnanicaeluxkxxkesiyngechphaatwidtwhnungethann aelaxiktwcaimxxkesiyng echn 여덟 xanwa yx dxl imich yx dxb karthicathrabwatwsakdkhucaxxkesiyngphyychnatwid aesdngdngtarang xyangirktammitwsakdkhubangswnthixxkesiyngimaennxnkhunkbkha khux ㄺ aela ㄼ twsakd phyychna twxyangkha esiyngxanodypramankng ㅇ 성 sxngkn ㄴ ㄵ ㄶ 원 wxnkm ㅁ ㄻ 남 nmkk ㄱ ㄲ ㅋ ㄳ 밖 phkkd ㄷ ㅅ ㅆ ㅈ ㅊ ㅌ ㅎ 이것 xikxdkb ㅂ ㅍ ㅄ ㄿ 십 없다 chib xxbtakl ㄹ ㄽ ㄾ ㅀ 팔 phlimaennxn ㄺ ㄼ 여덟 yxdxlkarxanoyngesiyng inphyangkhhnung krnithiphyychnatnepntwxixung ㅇ esiyngkhxngmnxacimichesiyng x aetcaepnesiyngkhxngtwsakdinphyangkhkxnhnaaethn echn 직업 xanwa 지겁 chi kxb imich 직 업 chik xxb 당신은 xanwa 당시는 thng chi nun imich 당 신 은 thng chin xun thaimmikhaidmakxncaxxkesiyngkhlay x hruxthakhakxnhnaimmiphyychnasakd caxxkesiyngechuxmsraekhadwykn kdkarxanaebbklmklunesiyng inphyangkhidthilngthaydwytwsakdaelaphyychnatninphyangkhthdipthitidkn esiyngkhxngtwsakdcaepliynephuxihxxkesiyngidsadwkklmklunaelaimkhdkn odycaaenkiwepnkdtangdngtxipni 1 phyangkhidlngthaydwytwsakdinaem ㄱ ㄷ ㅂ aelaphyychnatninphyangkhthdipepnesiyngnasik esiyngtwsakdcaepliynepn ㅇ ㄴ ㅁ tamladb ephuxihxxkesiyngidsadwkklmklunaelaimkhdkn twxyangechn 집는다 gt 짐는다 ekhiynwa chibnunda aetcaxanepn chimnunda ephuxihxxkesiyngidsadwkklmklunaelaimkhdkn 받는다 gt 반는다 ekhiynwa phdnunda aetcaxanepn phnnunda ephuxihxxkesiyngidsadwkklmklunaelaimkhdkn 속는다 gt 송는다 ekhiynwa sknunda aetcaxanepn sngnunda ephuxihxxkesiyngidsadwkklmklunaelaimkhdkn thikhunekhykndiidaek iwyakrnlngthaypraoykhxyangsuphaph 습니다 thungaemwacaekhiynepn subnida aetephuxihepniptamehtuphldngthiklawiwkhangtnaelw erakcaxanwa sumnidatwxyangpraoykhhruxwlithimkphbpraoykhphasaekahli khaxanithy khaaepl안녕하세요 xn nyxng ha es oy swsdi감사합니다 고맙습니다 khm sa hm ni da okh mb sum ni da khxbkhun사랑해 sa rng aeh rk실례지만 chil rey ci mn khxothskhrb안녕히 주무세요 xn nyxng hi chu mu es oy ratriswsdi만나서 반가워요 mn na sx phn ka wx oy yindithiidruck죄송합니다 저 먼저 갑니다 chew sng hm ni da chx mxn cx km ni da khxothskhrb phmipkxnnakhrbiwyakrnkarwangkhainpraoykhphasaekahlimilksnaiklekhiyngkbkareriynginphasayipunaelaphasaturkirwmipthungphasainpraethsxinediy odyeriyngladbkhainpraoykhepn prathan krrm kriya sungaetktangkbpraoykhinphasaithythiepn prathan kriya krrm echnpraoykh chnkinkhaw inphasaithy caekhiynladbepn chnkhawkin 나는 밥을 먹는다 inphasaekahli phasaekahlimiephuxbxkhnathikhxngkhatang inpraoykh echn epnkhachwythiichwanghlngsthanthiephuxrabutaaehnng aela 가 hrux 를 epnkhachwythiwanghlngkhaephuxrabuwakhannepnprathankhxngpraoykh epntn nxkcakniphasaekahliyngmikarphnrupkriyahlayrupaebbephuxepliynaeplngkalethsa echn radbkhwamsuphaphaelakhwamepnthangkarkhxngpraoykh sphaphkalkhxngpraoykhwaepnxdit xnakht hruxpccubnkarethiybesiynginphasaekahli idmikarkahndrabbinkarthxdxksrekahliepnxksrormniw odyepnthiniymmak 2 rabb khux rabbkrathrwngwthnthrrmekahli 2000 rabbthiichxyangepnthangkarinpraethsekahliitpccubn aela rabbaemkkhun irschawexxr ichinpraethsekahliehnuxxyangepnthangkarinpccubn aelaekhyichinekahliitxyangepnthangkarinchwng ph s 2527 2543xangxingSohn H M 1999 The Korean Language Cambridge Cambridge University Press ISBN 978 0 521 36943 5 Song J J 2005 The Korean Language Structure Use and Context London Routledge ISBN 0 415 32802 0 phasaekahli thi Ethnologue 17th ed 2013 hnngsuxxanephimChang Suk jin 1996 Korean Philadelphia John Benjamins Publishing Company ISBN 1556197284 Volume 4 of the London Oriental and African Language Library Hulbert Homer B 1905 A Comparative Grammar of the Korean Language and the Dravidian Dialects in India Seoul Lee Ki Moon Lee and S Robert Ramsey A History of the Korean Language Cambridge University Press 2011 352 pages Martin Samuel E 1966 Lexical Evidence Relating Japanese to Korean Language 42 2 185 251 Martin Samuel E 1990 Morphological clues to the relationship of Japanese and Korean In Philip Baldi ed Linguistic Change and Reconstruction Methodology Trends in Linguistics Studies and Monographs 45 483 509 Miller Roy Andrew 1971 Japanese and the Other Altaic Languages Chicago University of Chicago Press ISBN 0 226 52719 0 Miller Roy Andrew 1996 Languages and History Japanese Korean and Altaic Oslo Institute for Comparative Research in Human Culture ISBN 974 8299 69 4 Ramstedt G J 1928 Remarks on the Korean language Memoires de la Societe Finno Oigrienne 58 Rybatzki Volker 2003 Middle Mongol In Juha Janhunen ed 2003 The Mongolic languages London Routledge ISBN 0 7007 1133 3 47 82 Starostin Sergei A Anna V Dybo Oleg A Mudrak 2003 Etymological Dictionary of the Altaic Languages 3 volumes Leiden Brill Academic Publishers ISBN 90 04 13153 1 Sohn H M 1999 The Korean Language Cambridge Cambridge University Press Sohn Ho Min 2006 Korean Language in Culture and Society Boston Twayne Publishers ISBN 9780824826949 Song J J 2005 The Korean Language Structure Use and Context London Routledge Trask R L 1996 Historical linguistics Hodder Arnold Vovin Alexander Koreo Japonica University of Hawai i Press Whitman John B 1985 The Phonological Basis for the Comparison of Japanese and Korean Unpublished Harvard University Ph D dissertation duephimwikiphiediy khumuxkarekhiyn karthbsphthphasaekahli karthxdxksrekahliepnxksrormn phasaekahliisnici yipun 在日朝鮮語 ormaci isniciocwesnonga phasaekahlithiichphudinklumchawekahlithiphankxyuinyipun sungmikhwamiklekhiyngkbphasaekahlithangtxnitkhxngkhabsmuthrekahli aetkidrbxiththiphlmacakphasayipun phasaokhryx mar sirillik Koryo mal okryxml phasaekahlithiichphudodychawokryx sarm sirillik Koryo saram hnkul 고려사람 phusubechuxsayekahliinexechiyklang sungswnihythuknamacakekahliehnuxephuxnamaichaerngngan odyphasaniidxksrsirillikinkarekhiyn cin 中國朝鮮 epnklumchawcinechuxsayekahlithixasyxyuthangtxnehnuxkhxngkhabsmuthrekahlithimiekhtaedntxkbekahliehnux ichsaeniyngiklekhiyngkbekahliehnuxaehlngkhxmulxunwikiphiediy saranukrmesri inphasaekahli phasaekahli thiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy hakhwamhmaycakwikiphcnanukrmphaphaelasuxcakkhxmmxnskhakhmcakwikikhakhmhnngsuxcakwikitaraaehlngeriynrucakwikiwithyalyhnngsuxrwmwlicakwikithxngethiywkhxmulcakwikisneths Linguistic and Philosophical Origins of the Korean Alphabet Hangul Sogang University free online Korean language and culture course Beginner s guide to Korean for English speakers 2019 03 30 thi ewyaebkaemchchin U S Foreign Service Institute Korean basic course asianreadings com Korean readings with hover prompts Linguistic map of Korea dongsa net Korean verb conjugation tool a tool to visualize and study Korean vocabulary phasaekahli thiewbist Curlie