องุ่น ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: 60Ma Paleocene- Recent | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
หมวด: | Magnoliophyta |
ชั้น: | Magnoliopsida |
ชั้นย่อย: | |
อันดับ: | Vitales |
วงศ์: | Vitaceae |
สกุล: | Vitis L. |
สปีชีส์ | |
|
องุ่น เป็นพืชยืนต้น มีลักษณะเป็นไม้พุ่มเลื้อย มีลักษณะเนื้อแข็งและมีลำต้น กิ่งถาวรอายุเกิน 1 ฤดู ถ้าปล่อยให้เจริญเติบโตตามธรรมชาติจะเลื้อยเกาะกิ่งไม้ ใบกลมขอบหยักเว้าลึก 5 พู โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ดอกออกเป็นช่อแยกแขนง ดอกย่อยขนาดเล็กสีเขียวมีหมวก จะหลุดออกเมื่อกลีบดอกเปลี่ยนเป็นสีขาว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 กลีบ เป็นผลเดี่ยวที่ออกเป็นพวง (เป็นผลเดี่ยวที่เกิดจากดอกช่อแต่ดอกไม่หลอมรวมกัน) ผลย่อยรูปกลมรีและฉ่ำน้ำ มีผิวนวลเกาะและรสหวาน มีสีเขียว, ม่วงแดงและม่วงดำแล้วแต่พันธุ์ ในผลมีเมล็ดประมาณ 1-4 เมล็ด
ความเชื่อของผลองุ่น
ถ้าให้พูดถึงผลไม้มงคลที่นิยมนำมาไหว้เจ้ามีหลากหลายชนิด แต่ผลไม้ที่นิยมคือ องุ่น โดยเฉพาะ องุ่นแดง ซึ่งมีความเชื่อกันว่าจะนำมงคลมาให้กับผู้ไหว้พระ ขอพร และเสริมความเป็นมงคลให้กับตัวเองและครอบครัว ที่สำคัญต้องเป็นองุ่นแดงเพราะว่าด้วยเรื่องของเคล็ดลับเรื่องสีที่เป็นมงคล สีที่นำโชคการที่นำองุ่นมาไหว้จะทำให้ผู้ไหว้และครอบครัวมีความรุ่งเรืองและเติบโตเจริญงอกงาม โดยสื่อความหมายไปในทางภาษาจีน โดยชาวจีนแต้จิ๋วจะเรียกว่า ผู้ท้อ หมายถึงความเจริญงอกงาม และตามศาสตร์ฮวงจุ้ยแล้วองุ่นหมายถึงความสมบูรณ์ ตัวแทนของความสำเร็จ ซึ่งจะทำให้เราเห็นว่าบ้านของคนจีนบางบ้านจะมีต้นองุ่นปลูกอยู่ และยังมีความเชื่ออีกว่าองุ่นจะเป็นตัวแทนของการเปลี่ยนเรื่องร้ายให้กลายเป็นเรื่องดี
ประวัติการปลูก
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ มีการบ่งบอกว่ามีการปลูกองุ่นกันมามากกว่า 5,000 ปี แต่จากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ จากการจัดเรียงลำดับจีโนมของนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เออร์ไวน์ พบว่า มนุษย์รู้จักและบริโภคองุ่นมาเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 15,000 ปีแล้ว ซึ่งนับว่าตั้งแต่ยุคที่มนุษย์จะรู้จักการเพาะปลูก
องุ่นสามารถเจริญเติบโตได้ดีทั้งในเขตหนาว เขตกึ่งร้อนกึ่งหนาว และเขตร้อน สำหรับประเทศไทยไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่านำเข้ามาในสมัยใด แต่คาดว่าน่าจะนำเข้ามาตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพระองค์ท่านได้นำพันธุ์ไม้แปลก ๆ จากต่างประเทศที่ได้เสด็จประพาสมาปลูกในประเทศไทย และเชื่อว่าในจำนวนพันธุ์ไม้แปลก ๆ เหล่านั้นน่าจะมีพันธุ์องุ่นรวมอยู่ด้วย ในสมัยรัชกาลที่ 7 มีหลักฐานยืนยันว่าเริ่มมีการปลูกองุ่นกันบ้างแต่ผลองุ่นที่ได้มีรสเปรี้ยว การปลูกองุ่นจึงซบเซาไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 ได้เริ่มมีการปลูกองุ่นอย่างจริงจัง โดย หลวงสมานวนกิจ ได้นำพันธุ์องุ่นมาจากมลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา และปี พ.ศ. 2497 ได้นำพันธุ์องุ่นมาจากทวีปยุโรปซึ่งสามารถปลูกได้ผลเป็นที่น่าพอใจ นับแต่นั้นมาการปลูกองุ่นในประเทศไทยจึงแพร่หลายมากขึ้น
อนึ่ง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีข้อความกล่าวถึง "ป้อมสวนองุ่น" จึงเป็นไปได้ว่าน่าจะมีการนำพันธุ์องุ่นมาปลูกแล้วตั้งแต่สมัยอยุธยา
สรรพคุณทางยาและคุณค่าทางอาหาร
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) | |
---|---|
พลังงาน | 288 กิโลจูล (69 กิโลแคลอรี) |
18.1 g | |
น้ำตาล | 15.48 g |
ใยอาหาร | 0.9 g |
0.16 g | |
0.72 g | |
วิตามิน | |
ไทอามีน (บี1) | (6%) 0.069 มก. |
ไรโบเฟลวิน (บี2) | (6%) 0.07 มก. |
ไนอาซิน (บี3) | (1%) 0.188 มก. |
(1%) 0.05 มก. | |
วิตามินบี6 | (7%) 0.086 มก. |
โฟเลต (บี9) | (1%) 2 μg |
วิตามินบี12 | (0%) 0 μg |
วิตามินซี | (13%) 10.8 มก. |
วิตามินเค | (21%) 22 μg |
แร่ธาตุ | |
แคลเซียม | (1%) 10 มก. |
เหล็ก | (3%) 0.36 มก. |
แมกนีเซียม | (2%) 7 มก. |
แมงกานีส | (3%) 0.071 มก. |
ฟอสฟอรัส | (3%) 20 มก. |
โพแทสเซียม | (4%) 191 มก. |
โซเดียม | (0%) 3.02 มก. |
สังกะสี | (1%) 0.07 มก. |
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ แหล่งที่มา: USDA FoodData Central |
องุ่นมีสารอาหารที่สำคัญคือ น้ำตาลและสารอาหารจำพวกกรดอินทรีย์ เช่น น้ำตาลกลูโคส, น้ำตาลซูโคส, วิตามินซี, เหล็กและแคลเซียม องุ่นยังสามารถนำไปทำเป็นเหล้าองุ่นซึ่งเป็นเหล้าบำรุงใช้เป็นยา การรับประทานองุ่นเป็นประจำมีส่วนช่วยในการบำรุงสมอง, บำรุงหัวใจ, แก้กระหาย, ขับปัสสาวะและบำรุงกำลัง คนที่ร่างกายผอมแห้ง แก่ก่อนวัยและไม่มีเรี่ยวแรง หากรับประทานองุ่นเป็นประจำจะสามารถช่วยเสริมทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้นได้ ส่วนเครือและรากมีฤทธิ์ในการขับลม, ขับปัสสาวะ, รักษาโรคไขข้ออักเสบ, ปวดเอ็นและปวดกระดูก อีกทั้งยังมีฤทธิ์ระงับประสาท, แก้ปวดและแก้อาเจียนอีกด้วย
การปลูกองุ่นในประเทศไทย
ประเทศไทยนิยมปลูกองุ่นในแถบภาคตะวันตก เช่น
- อำเภอดำเนินสะดวก, จังหวัดราชบุรี
- อำเภอสามพรานและอำเภอนครชัยศรี, จังหวัดนครปฐม
- อำเภอบ้านแพ้ว, จังหวัดสมุทรสาคร
ซึ่งสามารถให้ผลผลิตได้ดี แต่เกษตรกรบางรายได้เปลี่ยนจากองุ่นเป็นพืชอื่น เนื่องจากมีปัญหาโรคแมลงระบาดมาก และแมลงดื้อยาไม่สามารถกำจัดได้ ทำให้พื้นที่ปลูกองุ่นในแถบนี้ลดลง พื้นที่ปลูกองุ่นได้ขยายไปในแถบภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือบ้างเล็กน้อย แต่มีปัญหาเรื่องโรคแมลงระบาดมากทำให้พื้นที่ปลูกองุ่นไม่ค่อยขยายเท่าที่ควร
พันธุ์องุ่นที่นิยมปลูก
- พันธุ์ไวท์มะละกา มี 2 สายพันธุ์ คือ ชนิดผลกลมและผลยาว ลักษณะช่อใหญ่ยาว การติดผลดีผลมีสีเหลืองอมเขียว รสหวานแหลม เปลือกหนาและเหนียว ในผลหนึ่งๆ มี 1-2 เมล็ด ช่วงเวลาหลังจากตัดแต่งกิ่งจนเก็บผลได้ประมาณ 4 เดือนครึ่ง ปีหนึ่งให้ผลผลิต 2 ครั้ง ผลผลิตประมาณ 10-15 กิโลกรัม/ต้น/ครั้ง
- พันธุ์คาร์ดินัล มีลักษณะช่อใหญ่ ผลดก ผลกลมค่อนข้างใหญ่ มีสีแดงหรือม่วงชมพู รสหวาน กรอบ เปลือกบาง จึงทำให้ผลแตกง่ายเมื่อผลแก่ในช่วงฝนตกชุก ในผลหนึ่งๆ มีเมล็ด 1-2เมล็ด ช่วงเวลาหลังจากตัดแต่งกิ่งจนเก็บผลได้ใช้เวลา 3-3 เดือนครึ่ง ในเวลา 2 ปี สามารถให้ผลผลิตได้ถึง 5 ครั้ง ผลผลิตประมาณ 10-15 กิโลกรัม/ต้น
อ้างอิง
- Angiosperm Phylogeny Group (2009). An update of the Angiosperm Phylogeny Group classification for the orders and families of flowering plants: APG III เก็บถาวร 2017-05-25 ที่ . Botanical Journal of the Linnean Society 161: 105-121.
- "PLANTS Profile for Vitis (grape)". USDA. สืบค้นเมื่อ November 16, 2009.
- "องุ่น".สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) สืบค้นเมื่อ 2567-06-17
- องุ่น กับความเชื่อเรื่องความมงคล หรือปลูกเพื่อสร้างรายได้ก็ดี สืบค้นเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2564
- หน้า 7, มนุษย์รู้จักกินองุ่นเมื่อกว่า 15,000 ปีก่อน. "ทันโลก". ไทยรัฐปีที่ 68 ฉบับที่ 21848: วันพุธที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 แรม 12 ค่ำ เดือน 12 ปีระกา
- วินัย พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ). กฎมณเทียรบาล ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ผลงานวิจัย. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส สกว. "กฎหมายตราสามดวง: ประมวลกฎหมายไทยในฐานะมรดกโลก", 2548, หน้า 74.
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xngun chwngewlathimichiwitxyu 60Ma PreꞒ Ꞓ O S D C P T J K Pg N Paleocene Recentkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaehmwd Magnoliophytachn Magnoliopsidachnyxy xndb Vitaleswngs Vitaceaeskul Vitis L spichis xngun epnphuchyuntn milksnaepnimphumeluxy milksnaenuxaekhngaelamilatn kingthawrxayuekin 1 vdu thaplxyihecriyetibottamthrrmchaticaeluxyekaakingim ibklmkhxbhykewaluk 5 phu okhnibewaepnruphwic dxkxxkepnchxaeykaekhnng dxkyxykhnadelksiekhiywmihmwk cahludxxkemuxklibdxkepliynepnsikhaw okhnechuxmtidkn playaeyk 5 klib epnphlediywthixxkepnphwng epnphlediywthiekidcakdxkchxaetdxkimhlxmrwmkn phlyxyrupklmriaelachana miphiwnwlekaaaelarshwan misiekhiyw mwngaedngaelamwngdaaelwaetphnthu inphlmiemldpraman 1 4 emldkhwamechuxkhxngphlxngunthaihphudthungphlimmngkhlthiniymnamaihwecamihlakhlaychnid aetphlimthiniymkhux xngun odyechphaa xngunaedng sungmikhwamechuxknwacanamngkhlmaihkbphuihwphra khxphr aelaesrimkhwamepnmngkhlihkbtwexngaelakhrxbkhrw thisakhytxngepnxngunaedngephraawadwyeruxngkhxngekhldlberuxngsithiepnmngkhl sithinaochkhkarthinaxngunmaihwcathaihphuihwaelakhrxbkhrwmikhwamrungeruxngaelaetibotecriyngxkngam odysuxkhwamhmayipinthangphasacin odychawcinaetciwcaeriykwa phuthx hmaythungkhwamecriyngxkngam aelatamsastrhwngcuyaelwxngunhmaythungkhwamsmburn twaethnkhxngkhwamsaerc sungcathaiheraehnwabankhxngkhncinbangbancamitnxngunplukxyu aelayngmikhwamechuxxikwaxnguncaepntwaethnkhxngkarepliyneruxngrayihklayepneruxngdiprawtikarplukcakhlkthanthangprawtisastr mikarbngbxkwamikarplukxngunknmamakkwa 5 000 pi aetcakhlkthanthangwithyasastr cakkarcderiyngladbcionmkhxngnkwithyasastrcakmhawithyalyaekhlifxreniy exxriwn phbwa mnusyruckaelabriophkhxngunmaepnewlaimtakwa 15 000 piaelw sungnbwatngaetyukhthimnusycaruckkarephaapluk xngunsamarthecriyetibotiddithnginekhthnaw ekhtkungrxnkunghnaw aelaekhtrxn sahrbpraethsithyimprakthlkthanaenchdwanaekhamainsmyid aetkhadwanacanaekhamatngaetinsmyrchkalthi 5 odyphraxngkhthanidnaphnthuimaeplk caktangpraethsthiidesdcpraphasmaplukinpraethsithy aelaechuxwaincanwnphnthuimaeplk ehlannnacamiphnthuxngunrwmxyudwy insmyrchkalthi 7 mihlkthanyunynwaerimmikarplukxngunknbangaetphlxngunthiidmirsepriyw karplukxnguncungsbesaip txmainpi ph s 2493 iderimmikarplukxngunxyangcringcng ody hlwngsmanwnkic idnaphnthuxngunmacakmlrthaekhlifxreniy praethsshrthxemrika aelapi ph s 2497 idnaphnthuxngunmacakthwipyuorpsungsamarthplukidphlepnthinaphxic nbaetnnmakarplukxnguninpraethsithycungaephrhlaymakkhun xnung insmykrungsrixyuthya mikhxkhwamklawthung pxmswnxngun cungepnipidwanacamikarnaphnthuxngunmaplukaelwtngaetsmyxyuthyasrrphkhunthangyaaelakhunkhathangxaharxngunmwnghruxekhiywkhunkhathangophchnakartx 100 krm 3 5 xxns phlngngan288 kiolcul 69 kiolaekhlxri kharobihedrt18 1 gnatal15 48 giyxahar0 9 gikhmn0 16 goprtin0 72 gwitaminithxamin bi1 6 0 069 mk irobeflwin bi2 6 0 07 mk inxasin bi3 1 0 188 mk krdaephnothethnik bi5 1 0 05 mk witaminbi6 7 0 086 mk ofelt bi9 1 2 mgwitaminbi12 0 0 mgwitaminsi 13 10 8 mk witaminekh 21 22 mgaerthatuaekhlesiym 1 10 mk ehlk 3 0 36 mk aemkniesiym 2 7 mk aemngkanis 3 0 071 mk fxsfxrs 3 20 mk ophaethsesiym 4 191 mk osediym 0 3 02 mk sngkasi 1 0 07 mk hnwy mg imokhrkrm mg millikrm IU hnwysaklpramanrxylakhraw odyichkaraenanakhxngshrthsahrbphuihy aehlngthima USDA FoodData Central xngunmisarxaharthisakhykhux natalaelasarxaharcaphwkkrdxinthriy echn natalkluokhs natalsuokhs witaminsi ehlkaelaaekhlesiym xngunyngsamarthnaipthaepnehlaxngunsungepnehlabarungichepnya karrbprathanxngunepnpracamiswnchwyinkarbarungsmxng barunghwic aekkrahay khbpssawaaelabarungkalng khnthirangkayphxmaehng aekkxnwyaelaimmieriywaerng hakrbprathanxngunepnpracacasamarthchwyesrimthaihrangkayaekhngaerngkhunid swnekhruxaelarakmivththiinkarkhblm khbpssawa rksaorkhikhkhxxkesb pwdexnaelapwdkraduk xikthngyngmivththirangbprasath aekpwdaelaaekxaeciynxikdwykarplukxnguninpraethsithypraethsithyniymplukxnguninaethbphakhtawntk echn xaephxdaeninsadwk cnghwdrachburi xaephxsamphranaelaxaephxnkhrchysri cnghwdnkhrpthm xaephxbanaephw cnghwdsmuthrsakhr sungsamarthihphlphlitiddi aetekstrkrbangrayidepliyncakxngunepnphuchxun enuxngcakmipyhaorkhaemlngrabadmak aelaaemlngduxyaimsamarthkacdid thaihphunthiplukxnguninaethbnildlng phunthiplukxngunidkhyayipinaethbphakhklang phakhehnux phakhtawnxxkechiyngehnuxbangelknxy aetmipyhaeruxngorkhaemlngrabadmakthaihphunthiplukxngunimkhxykhyayethathikhwrphnthuxngunthiniymplukphnthuiwthmalaka mi 2 sayphnthu khux chnidphlklmaelaphlyaw lksnachxihyyaw kartidphldiphlmisiehluxngxmekhiyw rshwanaehlm epluxkhnaaelaehniyw inphlhnung mi 1 2 emld chwngewlahlngcaktdaetngkingcnekbphlidpraman 4 eduxnkhrung pihnungihphlphlit 2 khrng phlphlitpraman 10 15 kiolkrm tn khrng phnthukhardinl milksnachxihy phldk phlklmkhxnkhangihy misiaednghruxmwngchmphu rshwan krxb epluxkbang cungthaihphlaetkngayemuxphlaekinchwngfntkchuk inphlhnung miemld 1 2emld chwngewlahlngcaktdaetngkingcnekbphlidichewla 3 3 eduxnkhrung inewla 2 pi samarthihphlphlitidthung 5 khrng phlphlitpraman 10 15 kiolkrm tnxangxingAngiosperm Phylogeny Group 2009 An update of the Angiosperm Phylogeny Group classification for the orders and families of flowering plants APG III ekbthawr 2017 05 25 thi Botanical Journal of the Linnean Society 161 105 121 PLANTS Profile for Vitis grape USDA subkhnemux November 16 2009 xngun sthabnwicyaelaphthnaphunthisung xngkhkarmhachn subkhnemux 2567 06 17 xngun kbkhwamechuxeruxngkhwammngkhl hruxplukephuxsrangrayidkdi subkhnemuxwnthi 12 phvscikayn 2564 hna 7 mnusyruckkinxngunemuxkwa 15 000 pikxn thnolk ithyrthpithi 68 chbbthi 21848 wnphuththi 15 phvscikayn ph s 2560 aerm 12 kha eduxn 12 piraka winy phngssriephiyr brrnathikar kdmnethiyrbal chbbechlimphraekiyrti phlnganwicy krungethph okhrngkarwicyemthiwicyxawuos skw kdhmaytrasamdwng pramwlkdhmayithyinthanamrdkolk 2548 hna 74 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid