ในชีววิทยา หน่วยอนุกรมวิธาน หรือ แท็กซอน หรือ แท็กซา (เอกพจน์: taxon พหูพจน์: taxa จากคำว่า taxonomy) เป็นกลุ่มประชากรของสิ่งมีชีวิตหนึ่งกลุ่มหรือยิ่งกว่าที่นักอนุกรมวิธานพิจารณาว่าเป็นหน่วยเดียวกัน แท็กซอนมักจะมีชื่อเฉพาะและได้รับการจัดลำดับ (rank) โดยเฉพาะเมื่อได้การยอมรับ แต่ก็ไม่จำเป็นต้องได้ทั้งสองอย่าง อย่างไรก็ตาม นักอนุกรมวิธานมักจะเห็นไม่ตรงกันในเรื่องว่าอะไรควรจะอยู่ในแท็กซอนหนึ่ง ๆ และเรื่องเกณฑ์ที่ใช้รวมสิ่งมีชีวิตเข้าแท็กซอน โดยเฉพาะในบริบทของการตั้งชื่อที่อิงลำดับ เช่น อนุกรมวิธานแบบลิเนียน แม้จะไม่มีปัญหาเท่ากันเมื่อตั้งชื่อที่จำแนกตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์ หากแท็กซอนหนึ่ง ๆ ได้รับชื่อวิทยาศาสตร์อย่างเป็นทางการ ก็จะเป็นไปตามรหัสการตั้งชื่อ (nomenclature codes) ว่าชื่อวิทยาศาสตร์ใดถูกต้องสำหรับกลุ่มนั้น ๆ
คนเก็บของป่าล่าสัตว์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์น่าจะเป็นผู้เริ่มจำแนกประเภทและจัดลำดับสิ่งมีชีวิตของทั้งพืชและสัตว์ ดังที่เห็นในระบบอนุกรมวิธานพื้นบ้านที่ค่อนข้างซับซ้อน หลังจากนั้นอีกนาน อริสโตเติลและต่อจากนั้น นักวิทยาศาสตร์ชาวยุโรปหลายคน รวมทั้งนักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน คอล ฟ็อน ลินเนีย (ในผลงาน Systema Naturae ซึ่งระบุอนุกรมวิธานแบบลิเนียน) ก็ได้ช่วยเพิ่มพูนความรู้ในสาขานี้ แนวคิดเรื่องอนุกรมวิธานแบบเป็นหน่วยได้เผยแพร่อย่างแพร่แหลายในผลงาน Flore françoise (1805) ของฌอง-บาปติสต์ ลามาร์ก และ Principes élémentaires de botanique ของ Augustin Pyramus de Candolle ลามาร์กได้วางระบบสำหรับ "การจำแนกประเภทตามธรรมชาติ" ของพืช ตั้งแต่นั้นมา นักจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ก็ยังคงดำรงจำแนกสิ่งมีชีวิตที่หลายหลาก ในปัจจุบัน แท็กซอน "ที่ดี" หรือ "มีประโยชน์" ทั่วไปถือว่าเป็นแท็กซอนที่สะท้อนความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ
นักจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่หลายคน เช่น ผู้สนับสนุนการตั้งชื่อตามสายวิวัฒนาการ (phylogenetic nomenclature) ใช้วิธีการทางแคลดิสติกส์ที่กำหนดให้แท็กซอนต้องเป็น monophyletic (คือเป็นลูกหลานทั้งหมดของบรรพบุรุษบางชนิด) "หน่วย" พื้นฐานของพวกเขาคือ เคลด จึงเทียบเท่ากับแท็กซอน โดยสมมุติว่าแท็กซอนควรสะท้อนความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ ในทำนองเดียวกัน ในบรรดานักอนุกรมวิธานร่วมสมัยที่ตั้งชื่อแบบลินเนียน (คือ การตั้งชื่อทวินาม) มีเพียงไม่กี่คนที่เสนอแท็กซอนที่รู้ว่าเป็นแบบ paraphyletic (คือมาจากบรรพบุรุษเดียวกันแต่ก็ไม่รวมลูกหลานทั้งหมด) ตัวอย่างของแท็กซอนที่มีมานานแต่ไม่ใช่เคลดก็คือชั้น "สัตว์เลื้อยคลาน" (Reptilia) เพราะนกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจริง ๆ เป็นลูกหลานของสัตว์ที่ปกติจัดอยู่ในกลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน แต่ทั้งสองก็ไม่ได้รวมอยู่ใน Reptilia (นกปกติจัดอยู่ในชั้น Ave และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในชั้น Mammalia)
ประวัติ
คำว่า taxon ได้ใช้ครั้งแรกในปี 1926 (โดย Adolf Meyer-Abich) สำหรับกลุ่มสัตว์ โดยมาจากคำว่า taxonomy ส่วนคำว่า taxonomy ได้บัญญัติขึ้นหนึ่งศตวรรษก่อนหน้านั้นจากคำกรีกโบราณคือ τάξις (táxis) ซึ่งหมายถึง "การจัดเรียง" และ νόμος (nómos) ซึ่งหมายถึง "วิธีการ" สำหรับพืช ชาวดัตช์ Herman Johannes Lam ได้เสนอใช้คำนี้ในปี 1948 แล้วได้การยอมรับในงานประชุมพฤกษศาสตร์นานาชาติครั้งที่ 7 ซึ่งจัดในปี 1950
นิยาม
อภิธานศัพท์ของรหัสสากล International Code of Zoological Nomenclature (1999) นิยาม (แปลในที่นี้) ไว้ว่า
- "taxon, (pl. taxa), n.
- หน่วยอนุกรมวิธาน (taxonomic unit) ไม่ว่าจะตั้งชื่อหรือไม่ก็ตาม กล่าวคือ กลุ่มประชากรหนึ่งหรือกลุ่มประชากรหลายกลุ่มของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมักอนุมานว่ามีความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการชาติพันธุ์ และมีลักษณะร่วมกันซึ่งแยกหน่วยนี้ (เช่น กลุ่มประชากรในภูมิภาค สกุล วงศ์ อันดับ) ออกจากหน่วยอื่น ๆ แท็กซอนจะครอบคลุมแท็กซาที่อยู่ในลำดับต่ำกว่าและสิ่งมีชีวิตแต่ละตัวที่รวมอยู่ด้วยกันทั้งหมด[...]"
ลำดับ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถ
- จริง ๆ ไม่จำเป็น ดังที่พบในศัพท์ระบุกลุ่มที่ไม่เป็น monophyletic (คือมาจากบรรพบุรุษเดียวกันและรวมลูกหลานทั้งหมด) เช่น สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สน ปลา
อ้างอิง
- "taxon", Longdo Dict, อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน, สืบค้นเมื่อ 2024-08-30,
หน่วยอนุกรมวิธาน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
- Cantino, Philip D.; de Queiroz, Kevin (2000). International Code of Phylogenetic Nomenclature (PhyloCode): A Phylogenetic Code of Biological Nomenclature (ภาษาอังกฤษ). Boca Raton, Fl: CRC Press. pp. xl + 149. ISBN .
- Magnol, Petrus (1689). Prodromus historiae generalis plantarum in quo familiae plantarum per tabulas disponuntur (ภาษาละติน). Montpellier: Pech. p. 79.
- Tournefort, Joseph Pitton de (1694). Elemens de botanique, ou Methode pour connoître les plantes. I. [Texte.] / . Par Mr Pitton Tournefort... [T. I-III] (ภาษาอังกฤษ). Paris: L’Imprimerie Royale. p. 562.
- Quammen, David (June 2007). "A Passion for Order". National Geographic Magazine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-27. สืบค้นเมื่อ 2013-04-27.
- de Queiroz, K; Gauthier, J (1990). "Phylogeny as a Central Principle in Taxonomy: Phylogenetic Definitions of Taxon Names" (PDF). Systematic Zoology. 39 (4): 307–322. doi:10.2307/2992353. JSTOR 2992353.
- Romer, A. S. (1970) [1949]. The Vertebrate Body (4th ed.). W.B. Saunders.
- Adnet, Sylvain; Senut, Brigitte; Tortosa, Thierry; Amiot, Romain; Claude, Julien; Clausen, Sébastien; Decombeix, Anne-Laure; Fernandez, Vincent; Métais, Grégoire; Meyer-Berthaud, Brigitte; Muller, Serge (2013-09-25). Principes de paléontologie. Dunod. p. 122. ISBN .
La taxinomie s'enrichit avec l'invenition du mot «taxon» par Adolf Meyer-Abich, naturaliste allemand, dans sa Logik der morphologie, im Rahmen einer Logik der gesamten Biologie (1926) [Translation: Taxonomy is enriched by the invention of the word "taxon" by Adolf Meyer-Abich, German naturalist, in his Logik der morphologie, im Rahmen einer Logik der gesamten Biologie (1926).]
- Meyer-Abich, Adolf (1926). Logik der Morphologie im Rahmen einer Logik der gesamten Biologie. Springer-Verlag. p. 127. ISBN .
- Naik, V. N. (1984). Taxonomy of Angiosperms. New Delhi: Tata McGraw Hill. p. 2.
- ICZN (1999) International Code of Zoological Nomenclature. Glossary เก็บถาวร 2005-01-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน . International Commission on Zoological Nomenclature.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha inchiwwithya hnwyxnukrmwithan hrux aethksxn hrux aethksa exkphcn taxon phhuphcn taxa cakkhawa taxonomy epnklumprachakrkhxngsingmichiwithnungklumhruxyingkwathinkxnukrmwithanphicarnawaepnhnwyediywkn aethksxnmkcamichuxechphaaaelaidrbkarcdladb rank odyechphaaemuxidkaryxmrb aetkimcaepntxngidthngsxngxyang xyangirktam nkxnukrmwithanmkcaehnimtrngknineruxngwaxairkhwrcaxyuinaethksxnhnung aelaeruxngeknththiichrwmsingmichiwitekhaaethksxn odyechphaainbribthkhxngkartngchuxthixingladb echn xnukrmwithanaebblieniyn aemcaimmipyhaethaknemuxtngchuxthicaaenktamwiwthnakarchatiphnthu hakaethksxnhnung idrbchuxwithyasastrxyangepnthangkar kcaepniptamrhskartngchux nomenclature codes wachuxwithyasastridthuktxngsahrbklumnn changaexfrikaxyuinskul Loxodonta sungepnaethksxnthiyxmrbknxyangkwangkhwang khnekbkhxngpalastwinyukhkxnprawtisastrnacaepnphuerimcaaenkpraephthaelacdladbsingmichiwitkhxngthngphuchaelastw dngthiehninrabbxnukrmwithanphunbanthikhxnkhangsbsxn hlngcaknnxiknan xrisotetilaelatxcaknn nkwithyasastrchawyuorphlaykhn rwmthngnkphvkssastrchawswiedn khxl fxn lineniy inphlngan Systema Naturae sungrabuxnukrmwithanaebblieniyn kidchwyephimphunkhwamruinsakhani aenwkhideruxngxnukrmwithanaebbepnhnwyidephyaephrxyangaephraehlayinphlngan Flore francoise 1805 khxngchxng baptist lamark aela Principes elementaires de botanique khxng Augustin Pyramus de Candolle lamarkidwangrabbsahrb karcaaenkpraephthtamthrrmchati khxngphuch tngaetnnma nkcaaenkchnthangwithyasastrkyngkhngdarngcaaenksingmichiwitthihlayhlak inpccubn aethksxn thidi hrux mipraoychn thwipthuxwaepnaethksxnthisathxnkhwamsmphnththangwiwthnakar nkcaaenkchnthangwithyasastrsmyihmhlaykhn echn phusnbsnunkartngchuxtamsaywiwthnakar phylogenetic nomenclature ichwithikarthangaekhldistiksthikahndihaethksxntxngepn monophyletic khuxepnlukhlanthnghmdkhxngbrrphburusbangchnid hnwy phunthankhxngphwkekhakhux ekhld cungethiybethakbaethksxn odysmmutiwaaethksxnkhwrsathxnkhwamsmphnththangwiwthnakar inthanxngediywkn inbrrdankxnukrmwithanrwmsmythitngchuxaebblineniyn khux kartngchuxthwinam miephiyngimkikhnthiesnxaethksxnthiruwaepnaebb paraphyletic khuxmacakbrrphburusediywknaetkimrwmlukhlanthnghmd twxyangkhxngaethksxnthimimananaetimichekhldkkhuxchn stweluxykhlan Reptilia ephraankaelastweliynglukdwynmcring epnlukhlankhxngstwthipkticdxyuinklumstweluxykhlan aetthngsxngkimidrwmxyuin Reptilia nkpkticdxyuinchn Ave aelastweliynglukdwynminchn Mammalia prawtikhawa taxon idichkhrngaerkinpi 1926 ody Adolf Meyer Abich sahrbklumstw odymacakkhawa taxonomy swnkhawa taxonomy idbyytikhunhnungstwrrskxnhnanncakkhakrikobrankhux ta3is taxis sunghmaythung karcderiyng aela nomos nomos sunghmaythung withikar sahrbphuch chawdtch Herman Johannes Lam idesnxichkhaniinpi 1948 aelwidkaryxmrbinnganprachumphvkssastrnanachatikhrngthi 7 sungcdinpi 1950niyamxphithansphthkhxngrhssakl International Code of Zoological Nomenclature 1999 niyam aeplinthini iwwa taxon pl taxa n hnwyxnukrmwithan taxonomic unit imwacatngchuxhruximktam klawkhux klumprachakrhnunghruxklumprachakrhlayklumkhxngsingmichiwit sungmkxnumanwamikhwamsmphnththangwiwthnakarchatiphnthu aelamilksnarwmknsungaeykhnwyni echn klumprachakrinphumiphakh skul wngs xndb xxkcakhnwyxun aethksxncakhrxbkhlumaethksathixyuinladbtakwaaelasingmichiwitaetlatwthirwmxyudwyknthnghmd dd ladbswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidduephimxnukrmwithan aekhldistiksechingxrrthcring imcaepn dngthiphbinsphthrabuklumthiimepn monophyletic khuxmacakbrrphburusediywknaelarwmlukhlanthnghmd echn stwimmikraduksnhlng sn plaxangxing taxon Longdo Dict xngkvs ithy sphthbyytirachbnthitysthan subkhnemux 2024 08 30 hnwyxnukrmwithan phvkssastr 18 k ph 2545 Cantino Philip D de Queiroz Kevin 2000 International Code of Phylogenetic Nomenclature PhyloCode A Phylogenetic Code of Biological Nomenclature phasaxngkvs Boca Raton Fl CRC Press pp xl 149 ISBN 0429821352 Magnol Petrus 1689 Prodromus historiae generalis plantarum in quo familiae plantarum per tabulas disponuntur phasalatin Montpellier Pech p 79 Tournefort Joseph Pitton de 1694 Elemens de botanique ou Methode pour connoitre les plantes I Texte Par Mr Pitton Tournefort T I III phasaxngkvs Paris L Imprimerie Royale p 562 Quammen David June 2007 A Passion for Order National Geographic Magazine khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 08 27 subkhnemux 2013 04 27 de Queiroz K Gauthier J 1990 Phylogeny as a Central Principle in Taxonomy Phylogenetic Definitions of Taxon Names PDF Systematic Zoology 39 4 307 322 doi 10 2307 2992353 JSTOR 2992353 Romer A S 1970 1949 The Vertebrate Body 4th ed W B Saunders Adnet Sylvain Senut Brigitte Tortosa Thierry Amiot Romain Claude Julien Clausen Sebastien Decombeix Anne Laure Fernandez Vincent Metais Gregoire Meyer Berthaud Brigitte Muller Serge 2013 09 25 Principes de paleontologie Dunod p 122 ISBN 978 2 10 070313 5 La taxinomie s enrichit avec l invenition du mot taxon par Adolf Meyer Abich naturaliste allemand dans sa Logik der morphologie im Rahmen einer Logik der gesamten Biologie 1926 Translation Taxonomy is enriched by the invention of the word taxon by Adolf Meyer Abich German naturalist in his Logik der morphologie im Rahmen einer Logik der gesamten Biologie 1926 Meyer Abich Adolf 1926 Logik der Morphologie im Rahmen einer Logik der gesamten Biologie Springer Verlag p 127 ISBN 978 3 642 50733 5 Naik V N 1984 Taxonomy of Angiosperms New Delhi Tata McGraw Hill p 2 ICZN 1999 International Code of Zoological Nomenclature Glossary ekbthawr 2005 01 03 thi ewyaebkaemchchin International Commission on Zoological Nomenclature aehlngkhxmulxunbthkhwamchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk