ในทางเรขาคณิต สัญลักษณ์ชเล็ฟลี (อังกฤษ: Schläfli symbol) คือสัญกรณ์ที่อยู่ในรูปแบบ {p, q, r, …} ที่เป็นตัวกำหนดและเทสเซลเลชันปรกติ ตั้งชื่อตาม (Ludwig Schläfli) นักคณิตศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีส่วนร่วมคนสำคัญในเรื่องเรขาคณิตและพื้นที่อื่น ๆ
คำอธิบาย
สัญลักษณ์ชเล็ฟลีเป็นบทนิยามเวียนเกิดชนิดหนึ่ง เริ่มต้นด้วย {p} หมายถึงที่มี p ด้าน ตัวอย่างเช่น {3} คือรูปสามเหลี่ยมปรกติ (ด้านเท่ามุมเท่า), {4} คือรูปสี่เหลี่ยมปรกติ (จัตุรัส) เป็นต้น
ถัดไปคือ {p, q} หมายถึงทรงหลายหน้าปรกติที่แต่ละหน้าเป็นรูป p เหลี่ยมปรกติและมีเป็นจำนวน q รูปรอบจุดยอดจุดหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ทรงลูกบาศก์มีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรอบจุดยอดจุดหนึ่งเป็นจำนวนสามรูป ดังนั้นจึงเขียนแทนด้วย {4, 3}
{p, q, r} ก็คือพอลิโทปสี่มิติปรกติที่แต่ละห้อง (cell) เป็นทรงหลายหน้าปรกติ {p, q} และมีเป็นจำนวน r รูปทรงรอบขอบด้านหนึ่ง เป็นเช่นนี้เรื่อยไป
พอลิโทปปรกติสามารถมีองค์ประกอบเป็นได้ เช่น (pentagram) ใช้สัญลักษณ์ {5/2} เป็นตัวแทนของจุดยอดแบบรูปห้าเหลี่ยมแต่เชื่อมโยงกันในรูปแบบที่ต่างไป
(facet) ของพอลิโทปปรกติ {p, q, r, …, y, z} โดยทั่วไปคือ {p, q, r, …, y} ซึ่งมีเป็นจำนวน z แฟซิตรอบจุดยอดแต่ละจุด
พอลิโทปปรกติจะมี (vertex figure) เป็นรูปปรกติด้วย ดังนั้นภาพจุดยอดของพอลิโทปปรกติ {p, q, r, …} คือ {q, r, …}
สัญลักษณ์ชเล็ฟลีสามารถเขียนแทนทรงหลายหน้าแบบนูนที่มีขอบเขตจำกัด เทสเซลเลชันที่มีขอบเขตไม่จำกัดบนปริภูมิแบบยุคลิด หรือเทสเซลเลชันที่มีขอบเขตไม่จำกัดบนปริภูมิเชิงไฮเพอร์โบลา ขึ้นอยู่กับ (angle defect) ของการสร้าง ความบกพร่องแบบมุมเชิงบวกทำให้ภาพจุดยอดสามารถ พับ ได้ในมิติที่สูงกว่าและวนกลับมาหาตัวเองกลายเป็นพอลิโทป ความบกพร่องแบบมุมเชิงศูนย์จะปูรูปทรงจนเต็มปริภูมิในมิติเดียวกันเป็นแฟซิต ส่วนความบกพร่องแบบมุมเชิงลบไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในปริภูมิธรรมดา แต่สามารถสร้างได้ในปริภูมิเชิงไฮเพอร์โบลา
ภาพจุดยอดโดยปกติจะถูกมองว่าเป็นพอลิโทปที่มีขอบเขตจำกัด แต่บางครั้งก็สามารถพิจารณาว่าเป็นเทสเซลเลชันโดยตัวมันเอง
พอลิโทปปรกติรูปทรงหนึ่งจะมี (dual polytope) อีกรูปทรงหนึ่ง ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ชเล็ฟลีในลำดับย้อนกลับ พอลิโทปปรกติคู่กันในตัว (self-dual) จะมีสัญลักษณ์ชเล็ฟลีแบบสมมาตร นั่นคือดัชนีในลำดับย้อนกลับก็ยังคงเดิม
กรุปสมมาตร
สัญลักษณ์ชเล็ฟลีมีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับกรุปสมมาตรการสะท้อน หรือเรียกว่า (Coxeter group) โดยใช้เลขดัชนีเหมือนกันแต่ใช้วงเล็บเหลี่ยมแทนเป็นรูปแบบ [p, q, r, …] กรุปเช่นนี้มักจะถูกตั้งชื่อตามพอลิโทปปรกติที่มันสร้างขึ้นมา ตัวอย่างเช่น [3, 3] คือค็อกซีเตอร์กรุปสำหรับ (tetrahedral symmetry), [3, 4] คือ (octahedral symmetry) และ [3, 5] คือ (icosahedral symmetry) เป็นต้น
พอลิโทปปริซึมเอกรูป
พอลิโทปปริซึมเอกรูปสามารถนิยามและตั้งชื่อได้ด้วยผลคูณคาร์ทีเซียนของพอลิโทปปรกติในมิติที่ต่ำกว่า ดังนี้
- ปริซึม p เหลี่ยม ซึ่งมีภาพจุดยอดเป็น p.4.4 เขียนแทนด้วย { } × {p}, สัญลักษณ์ { } หมายถึงเส้นตรงหนึ่งหน่วย
- ปริซึมเอกรูปที่มีหน้าเป็น {p, q} เขียนแทนด้วย { } × {p, q}
- p-q เขียนแทนด้วย {p} × {q}
สัญลักษณ์ชเล็ฟลีส่วนขยาย
ได้ขยายแนวคิดของสัญลักษณ์ชเล็ฟลีออกไปเพื่อใช้กับ (quasiregular polyhedron) โดยเพิ่มมิติตามแนวดิ่งลงในสัญลักษณ์ เป็นจุดเริ่มต้นสู่ (Coxeter-Dynkin diagram) ที่มีนัยทั่วไปมากขึ้น
รูปแบบ | สัญลักษณ์ชเล็ฟลีส่วนขยาย | สัญกรณ์ที | แผนภาพค็อกซีเตอร์-ดืยน์กิน |
---|---|---|---|
ทรงหลายหน้าปรกติ | |||
ทรงหลายหน้าเสมือนปรกติ | |||
ทรงหลายหน้าปรกติคู่กัน |
และสำหรับพอลิโทปสี่มิติ (rectified 4-polytope) ก็จะเป็นเช่นนี้
รูปแบบ | สัญลักษณ์ชเล็ฟลีส่วนขยาย | สัญกรณ์ที | แผนภาพค็อกซีเตอร์-ดืยน์กิน |
---|---|---|---|
ทรงหลายห้องปรกติ | |||
ทรงหลายห้องปลายตัดครึ่งด้าน | |||
ทรงหลายห้องปลายตัดครึ่งด้านคู่กัน | |||
ทรงหลายห้องปรกติคู่กัน |
อ้างอิง
- ; , (Methuen and Co., 1948). (pp. 14, 69, 149) [1]
แหล่งข้อมูลอื่น
- เอริก ดับเบิลยู. ไวส์สไตน์, "Schläfli symbol" จากแมทเวิลด์.
- Wythoff Symbol and generalized Schläfli Symbols 2006-05-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- polyhedral names et notations
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangerkhakhnit sylksnchelfli xngkvs Schlafli symbol khuxsykrnthixyuinrupaebb p q r thiepntwkahndaelaethseslelchnprkti tngchuxtam Ludwig Schlafli nkkhnitsastrinkhriststwrrsthi 19 phumiswnrwmkhnsakhyineruxngerkhakhnitaelaphunthixun thrngsibsxnghnaprkti epnthrnghlayhnaprktithimisylksnchelfliepn 5 3 sungmiruphaehliymprktisamruprxbcudyxdcudhnungkhaxthibaysylksnchelfliepnbthniyamewiynekidchnidhnung erimtndwy p hmaythungthimi p dan twxyangechn 3 khuxrupsamehliymprkti danethamumetha 4 khuxrupsiehliymprkti cturs epntn thdipkhux p q hmaythungthrnghlayhnaprktithiaetlahnaepnrup p ehliymprktiaelamiepncanwn q ruprxbcudyxdcudhnung twxyangechn thrnglukbaskmirupsiehliymctursrxbcudyxdcudhnungepncanwnsamrup dngnncungekhiynaethndwy 4 3 p q r kkhuxphxliothpsimitiprktithiaetlahxng cell epnthrnghlayhnaprkti p q aelamiepncanwn r rupthrngrxbkhxbdanhnung epnechnnieruxyip phxliothpprktisamarthmixngkhprakxbepnid echn pentagram ichsylksn 5 2 epntwaethnkhxngcudyxdaebbruphaehliymaetechuxmoyngkninrupaebbthitangip facet khxngphxliothpprkti p q r y z odythwipkhux p q r y sungmiepncanwn z aefsitrxbcudyxdaetlacud phxliothpprkticami vertex figure epnrupprktidwy dngnnphaphcudyxdkhxngphxliothpprkti p q r khux q r sylksnchelflisamarthekhiynaethnthrnghlayhnaaebbnunthimikhxbekhtcakd ethseslelchnthimikhxbekhtimcakdbnpriphumiaebbyukhlid hruxethseslelchnthimikhxbekhtimcakdbnpriphumiechingihephxrobla khunxyukb angle defect khxngkarsrang khwambkphrxngaebbmumechingbwkthaihphaphcudyxdsamarth phb idinmitithisungkwaaelawnklbmahatwexngklayepnphxliothp khwambkphrxngaebbmumechingsunycapurupthrngcnetmpriphumiinmitiediywknepnaefsit swnkhwambkphrxngaebbmumechinglbimsamarthekidkhunidinpriphumithrrmda aetsamarthsrangidinpriphumiechingihephxrobla phaphcudyxdodypkticathukmxngwaepnphxliothpthimikhxbekhtcakd aetbangkhrngksamarthphicarnawaepnethseslelchnodytwmnexng phxliothpprktirupthrnghnungcami dual polytope xikrupthrnghnung sungekhiynaethndwysylksnchelfliinladbyxnklb phxliothpprktikhuknintw self dual camisylksnchelfliaebbsmmatr nnkhuxdchniinladbyxnklbkyngkhngedimkrupsmmatrsylksnchelflimikhwamekiywkhxngxyangiklchidkbkrupsmmatrkarsathxn hruxeriykwa Coxeter group odyichelkhdchniehmuxnknaetichwngelbehliymaethnepnrupaebb p q r krupechnnimkcathuktngchuxtamphxliothpprktithimnsrangkhunma twxyangechn 3 3 khuxkhxksietxrkrupsahrb tetrahedral symmetry 3 4 khux octahedral symmetry aela 3 5 khux icosahedral symmetry epntnphxliothpprisumexkrupphxliothpprisumexkrupsamarthniyamaelatngchuxiddwyphlkhunkharthiesiynkhxngphxliothpprktiinmitithitakwa dngni prisum p ehliym sungmiphaphcudyxdepn p 4 4 ekhiynaethndwy p sylksn hmaythungesntrnghnunghnwy prisumexkrupthimihnaepn p q ekhiynaethndwy p q p q ekhiynaethndwy p q sylksnchelfliswnkhyayidkhyayaenwkhidkhxngsylksnchelflixxkipephuxichkb quasiregular polyhedron odyephimmititamaenwdinglnginsylksn epncuderimtnsu Coxeter Dynkin diagram thiminythwipmakkhun rupaebb sylksnchelfliswnkhyay sykrnthi aephnphaphkhxksietxr duynkinthrnghlayhnaprkti p q displaystyle begin Bmatrix p q end Bmatrix t0 p q displaystyle t 0 p q thrnghlayhnaesmuxnprkti pq displaystyle begin Bmatrix p q end Bmatrix t1 p q displaystyle t 1 p q thrnghlayhnaprktikhukn q p displaystyle begin Bmatrix q p end Bmatrix t2 p q displaystyle t 2 p q aelasahrbphxliothpsimiti rectified 4 polytope kcaepnechnni rupaebb sylksnchelfliswnkhyay sykrnthi aephnphaphkhxksietxr duynkinthrnghlayhxngprkti p q r displaystyle begin Bmatrix p q r end Bmatrix t0 p q r displaystyle t 0 p q r thrnghlayhxngplaytdkhrungdan pq r displaystyle begin Bmatrix p q r end Bmatrix t1 p q r displaystyle t 1 p q r thrnghlayhxngplaytdkhrungdankhukn q pr displaystyle begin Bmatrix q p r end Bmatrix t2 p q r displaystyle t 2 p q r thrnghlayhxngprktikhukn r q p displaystyle begin Bmatrix r q p end Bmatrix t3 p q r displaystyle t 3 p q r xangxing Methuen and Co 1948 pp 14 69 149 1 aehlngkhxmulxunexrik dbebilyu iwssitn Schlafli symbol cakaemthewild Wythoff Symbol and generalized Schlafli Symbols 2006 05 22 thi ewyaebkaemchchin polyhedral names et notations