พญาแร้ง | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Aves |
อันดับ: | Accipitriformes |
วงศ์: | Accipitridae |
สกุล: | Sarcogyps (, 1842) |
สปีชีส์: | S. calvus |
ชื่อทวินาม | |
Sarcogyps calvus (, 1786) | |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ | |
ชื่อพ้อง | |
|
พญาแร้ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sarcogyps calvus) เป็นนกจำพวกอีแร้งชนิดหนึ่ง จัดเป็นอีแร้งขนาดใหญ่ และเป็นนกเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Sarcogyps
ลักษณะ
มีขนาดลำตัวโตเต็มที่ประมาณ 76–80 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 3.5–6.3 กิโลกรัม ระยะระหว่างปลายปีก 2 ข้างกว้าง 1.99–2.6 เมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน เมื่อโตเต็มที่หัวและคอเปลือยมีสีแดงถึงส้ม เท้ามีสีแดง ขนตามลำตัวสีดำ ปีกมีแถบสีขาว–เทาขน ที่หน้าอกและโคนขามีสีขาว ที่คอมีสีขาวขึ้นโดยรอบมองดูคล้ายสวมพวงมาลัย ตัวที่ยังไม่โตเต็มที่ ขนบริเวณหัวและอกมีสีขาว ปีกสีน้ำตาล
การกระจายพันธุ์
พบในทวีปเอเชีย พบมากในภูมิภาคเอเชียใต้, จีน, พม่า จนถึงภูมิภาคอินโดจีน สำหรับในประเทศไทยในอดีตพบอยู่เกือบทุกภาคยกเว้นภาคอีสานและภาคตะวันออก แต่ในปัจจุบันพบเห็นได้ยากมากแล้ว และไม่มีรายงานพบมานานกว่า 2 ทศวรรษ คาดว่าสูญพันธ์ไปจากประเทศไทยแล้ว หลังจากพญาแร้งฝูงสุดท้ายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ตายจากยาฆ่าแมลงที่พรานล่าสัตว์ป่า ใช้เป็นยาเบื่อใส่ไว้ในซากเก้ง หวังจะว่าเบื่อเสือโคร่ง ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้พญาแร้งในป่าห้วยขาแข้ง ตายไปนับสิบตัว ทำให้พญาแร้งลดจำนวนลงและไม่พบในป่าห้วยขาแข้งอีกเลยในปัจจุบัน แต่ประเทศไทยกำลังมีโครงการเพาะขยายพันธ์พญาแร้งในกรงเลี้ยงเพื่อนำกับสู่ธรรมชาติของไทย ที่สวนสัตว์นครราชสีมา และสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี
ในอดีตมีพญาแร้งมีการกระจายพันธุ์ในกลุ่มประเทศเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วงเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมาพญาแร้งมีจำนวนลดลงมากในทั้ง 2 กลุ่มประเทศ ในประเทศเนปาลเป็นนกที่พบน้อย ประมาณ 200–400 ตัว มีการกระจายตัวทั่วไปในประเทศอินเดีย แต่มีแนวโน้มลดลงบางพื้นที่พบน้อยมากจนไม่พบเลย เช่น บางพื้นที่ในรัฐคุชราต และหลายรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ พบปานกลางในพื้นที่ทางทิศตะวันตกของเชิงเขาหิมาลัย พบยากในประเทศบังกลาเทศ ภูฏาน พม่า ในลาว เดิมพบได้ทั่วไป ปัจจุบันพบเห็นเป็นครั้งคราวคาดว่าเป็นกลุ่มประชากรเดียวกับที่พบในกัมพูชา ในเวียดนาม เดิมพบมากในพื้นที่ภาคกลาง ปัจจุบันพบน้อยเป็นครั้งคราว คาดว่าเป็นกลุ่มประชากรเดียวกับที่พบในกัมพูชา ในกัมพูชา เดิมพบได้ทั่วไป ปัจจุบันพบได้น้อยและจำกัดพื้นที่เฉพาะทางตอนเหนือและตะวันออก ในมาเลเซีย เดิมพบมากในพื้นที่ทางภาคเหนือ ปัจจุบันไม่พบ พื้นที่จีนตอนใต้ไม่พบพญาแร้งตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2503–2512 ในประเทศไทยเข้าใกล้สถานภาพสูญพันธุ์
พฤติกรรมและการขยายพันธุ์
ไม่ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่เหมือนอีแร้งชนิดอื่น ๆ แต่จะบินลงมากินซากสัตว์ตาย ก่อนอีแร้งชนิดอื่น ๆ ที่มีลำดับทางสังคมต่ำกว่า คือ อีแร้งเทาหลังขาว พญาแร้งหากินอยู่ตามที่โล่งแจ้ง โดยบินร่อนเป็นวงกลมบนท้องฟ้าระดับสูง มีสายตาไว สามารถร่อนกลางอากาศอยู่นานนับชั่วโมง โดยไม่ต้องกระพือปีกเลย กินซากสัตว์เน่าตายตามพื้นดิน โดยร่อนบินหาอาหารกลางอากาศ เมื่อพบจึงบินลงมาจิกกิน
มีฤดูผสมพันธุ์ในช่วงเดือนธันวาคม–เมษายน ทำรังด้วยกิ่งไม้ขัดสานกันอย่างไม่เป็นระเบียบ แล้วใช้ใบไม้รองพื้น มักทำรังอยู่บนต้นไม้ใหญ่ใกล้กับชุมชนของมนุษย์ วางไข่ครั้งละ 1 ฟอง ทั้งตัวผู้และตัวเมียต่างช่วยกันฟักไข่ และใช้รังเดิมวางไข่ในปีถัดไป
สถานภาพปัจจุบัน
เป็นนกประจำถิ่นของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่หายากมากที่สุดชนิดหนึ่ง มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ขั้นวิกฤติ ในประเทศไทยจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตาม
อ้างอิง
- (2013). "Sarcogyps calvus". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2013.2. สืบค้นเมื่อ 26 November 2013.
- จาก itis.gov (อังกฤษ)
- WWF- Red-headed Vulture (2011).
- Raptors of the World by Ferguson-Lees, Christie, Franklin, Mead & Burton. Houghton Mifflin (2001), ISBN
- Inskipp, C., Inskipp, T. and Baral, H.S. (in press). National Red Data Book of Birds of Nepal
- Hla, H.; Shwe, N. M.;Htun, T. W.; Zaw, S. M.;Mahood, S.; Eames, J. C. and Pilgrim, J. D. 2011.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-24. สืบค้นเมื่อ 2010-06-03.
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Sarcogyps calvus ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phyaaerngsthanakarxnurks IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Avesxndb Accipitriformeswngs Accipitridaeskul Sarcogyps 1842 spichis S calvuschuxthwinamSarcogyps calvus 1786 aephnthiaesdngkarkracayphnthuchuxphxngAegypius calvus Torgos calvus phyaaerng chuxwithyasastr Sarcogyps calvus epnnkcaphwkxiaerngchnidhnung cdepnxiaerngkhnadihy aelaepnnkephiyngchnidediywthixyuinskul Sarcogypslksnamikhnadlatwotetmthipraman 76 80 esntiemtr nahnkpraman 3 5 6 3 kiolkrm rayarahwangplaypik 2 khangkwang 1 99 2 6 emtr twphuaelatwemiymilksnakhlaykn emuxotetmthihwaelakhxepluxymisiaedngthungsm ethamisiaedng khntamlatwsida pikmiaethbsikhaw ethakhn thihnaxkaelaokhnkhamisikhaw thikhxmisikhawkhunodyrxbmxngdukhlayswmphwngmaly twthiyngimotetmthi khnbriewnhwaelaxkmisikhaw piksinatalkarkracayphnthuphbinthwipexechiy phbmakinphumiphakhexechiyit cin phma cnthungphumiphakhxinodcin sahrbinpraethsithyinxditphbxyuekuxbthukphakhykewnphakhxisanaelaphakhtawnxxk aetinpccubnphbehnidyakmakaelw aelaimmiraynganphbmanankwa 2 thswrrs khadwasuyphnthipcakpraethsithyaelw hlngcakphyaaerngfungsudthayinekhtrksaphnthustwpahwykhaaekhng taycakyakhaaemlngthiphranlastwpa ichepnyaebuxisiwinsakekng hwngcawaebuxesuxokhrng ineduxnkumphaphnth ph s 2535 ehtukarnkhrngnnthaihphyaaernginpahwykhaaekhng tayipnbsibtw thaihphyaaerngldcanwnlngaelaimphbinpahwykhaaekhngxikelyinpccubn aetpraethsithykalngmiokhrngkarephaakhyayphnthphyaaernginkrngeliyngephuxnakbsuthrrmchatikhxngithy thiswnstwnkhrrachsima aelasthaniephaaeliyngstwpahwykhaaekhng cnghwdxuthythani inxditmiphyaaerngmikarkracayphnthuinklumpraethsexechiyitaelaexechiytawnxxkechiyngit inchwngewlahlaysibpithiphanmaphyaaerngmicanwnldlngmakinthng 2 klumpraeths inpraethsenpalepnnkthiphbnxy praman 200 400 tw mikarkracaytwthwipinpraethsxinediy aetmiaenwonmldlngbangphunthiphbnxymakcnimphbely echn bangphunthiinrthkhuchrat aelahlayrththangtawnxxkechiyngehnux phbpanklanginphunthithangthistawntkkhxngechingekhahimaly phbyakinpraethsbngklaeths phutan phma inlaw edimphbidthwip pccubnphbehnepnkhrngkhrawkhadwaepnklumprachakrediywkbthiphbinkmphucha inewiydnam edimphbmakinphunthiphakhklang pccubnphbnxyepnkhrngkhraw khadwaepnklumprachakrediywkbthiphbinkmphucha inkmphucha edimphbidthwip pccubnphbidnxyaelacakdphunthiechphaathangtxnehnuxaelatawnxxk inmaelesiy edimphbmakinphunthithangphakhehnux pccubnimphb phunthicintxnitimphbphyaaerngtngaetchwng ph s 2503 2512 inpraethsithyekhaiklsthanphaphsuyphnthuphvtikrrmaelakarkhyayphnthuimchxbxyurwmknepnfungihyehmuxnxiaerngchnidxun aetcabinlngmakinsakstwtay kxnxiaerngchnidxun thimiladbthangsngkhmtakwa khux xiaerngethahlngkhaw phyaaernghakinxyutamthiolngaecng odybinrxnepnwngklmbnthxngfaradbsung misaytaiw samarthrxnklangxakasxyunannbchwomng odyimtxngkraphuxpikely kinsakstwenataytamphundin odyrxnbinhaxaharklangxakas emuxphbcungbinlngmacikkin mivduphsmphnthuinchwngeduxnthnwakhm emsayn tharngdwykingimkhdsanknxyangimepnraebiyb aelwichibimrxngphun mktharngxyubntnimihyiklkbchumchnkhxngmnusy wangikhkhrngla 1 fxng thngtwphuaelatwemiytangchwyknfkikh aelaichrngedimwangikhinpithdipsthanphaphpccubnepnnkpracathinkhxngphumiphakhexechiytawnxxkechiyngitthihayakmakthisudchnidhnung misthanphaphiklsuyphnthukhnwikvti inpraethsithycdepnstwpakhumkhrxng tamxangxing 2013 Sarcogyps calvus IUCN Red List of Threatened Species Version 2013 2 subkhnemux 26 November 2013 cak itis gov xngkvs WWF Red headed Vulture 2011 Raptors of the World by Ferguson Lees Christie Franklin Mead amp Burton Houghton Mifflin 2001 ISBN 0 618 12762 3 Inskipp C Inskipp T and Baral H S in press National Red Data Book of Birds of Nepal Hla H Shwe N M Htun T W Zaw S M Mahood S Eames J C and Pilgrim J D 2011 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 01 24 subkhnemux 2010 06 03 wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phyaaerngaehlngkhxmulxunkhxmulthiekiywkhxngkb Sarcogyps calvus thiwikispichis