ศาลภัญชิกา หรือ สาลภัญชิกา (ศาลภํชิกา [ศาละภัญชิกา], อักษรโรมัน: shalabhanjika หรือ salabhanjika) เป็นคำในศิลปะอินเดียและวรรณกรรมอินเดียที่มีความหมายหลายแบบ ใน คำนี้ใช้เรียกรูปสตรีหรือยักษียืนข้างหรือยืนเกาะต้นไม้ หรือใช้เรียกเหตุขณะพระนางสิริมหามายาทรงประทับข้างต้นสาละ ขณะทรงให้กำเนิดเจ้าชายสิทธัตถะ ในศิลปะฮินดูและ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะเจาะจงเท่าในศิลปะพุทธ คำนี้อาจใช้เรียกประติมากรรมใด ๆ ก็ตามที่ประดับบนผนังไม่ให้ดูจืดชืดน่าเบื่อ โดยส่วนใหญ่เป็นประติมากรรมรูปสตรี นอกจากนี้ ในวรรณกรรมพุทธยังปรากฏใช้คำว่า สาลภัญชิกา เรียกเทศกาลอินเดียโบราณหนึ่งซึ่งฉลองเมื่อต้นสาละออกดอก ในบริลทที่เปรียบเทียบกับประสูติกาลของพระโคตมพุทธเจ้า
ในวรรณกรรม นอกจากความหมายทางประติมากรรมแล้ว ยังอาจหมายถึงตุ๊กตา เทวดา ภูติ ไปจนถึงโสเภณี ทั้งหมดนี้ขึ้นกับบริบท ในบริบทเหล่านี้ยังปรากฏคำอื่น ๆ เช่น มทนไก (madanakai), มทนิกา (madanika) หรือ ศิลาพาลิเก (shilabalika) โดยเฉพาะในวรรณกรรมภาษากันนาดา ส่วนในบริบทของกวีนิพนธ์และดนตรีอินเดีย คำนี้มีความหมายใกล้เคียงกับจังหวะ ปัถยา (pathyā) ซึ่งเป็นหนึ่งในจังหวะย่อย จันทะ (chanda) ในกลุ่ม จตุษปาทิ (catuṣpadi) ใช้สำหรับการเปลี่ยนผ่าน
นอกจากจะหมายถึงเหตุการณ์ที่พระนางสิริมหามายาให้ประสูติแก่เจ้าชายสิทธัตถะแล้ว ตามสถูปในศาสนาพุทธยังปรากฏประติมากรรมที่แสดงสตรีเคียงต้นไม้ ส่วนมากมักจับหรือเกาะกิ่งไม้นั้นในลักษณะคล้ายกับพระนางสิริมหามายา แต่ในบริบทเหล่านี้สาลภัญชิกาจะหมายถีงในคติชนของอินเดียโบราณ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ
ศัพทมูล
คำว่า ศาลภัญชิกา ประกอบมาจากคำภาษาสันสกฤต คือ และ ภัญชิกา คำว่า ภัญชิกา มีความหมายว่า 'การหัก, รบกวน" ส่วน ศาลา หมายถึง "บ้าน, พื้นที่, พื้นที่ปิด, ผนัง, ศาลา" เช่นในคำว่า ธรรมศาลา หรือ โคศาลา คำเดียวกันนี้ยังสามารถหมายถึงต้นสาละซึ่งเป็นไม้มีค่า นักวิชาการด้านภาษาสันสกฤต วอเกล (Vogel) ระบุว่าความหมายอันหลากหลายของ ศาลภัญชิกา ในธรรมเนียมต่าง ๆ ของอินเดีย อาจเกี่ยวเนื่องกับความสำคัญของต้นสาละ ซึ่งในศาสนาพุทธมองต้นสาละเกี่ยวกับประสูติกาลของพระโคตมพุทธเจ้า และในฮินดูกับไชนะมองต้นสาละในฐานะไม้มีค่าสำหรับแกะสลักประติมากรรม
วอเกลระบุว่าคำว่า ศาลภัญชิกา ไม่ปรากฏในวรรณกรรมยุคพระเวทหรือในวรรณกรรมภาษาบาลี ไปจนถึงมหากาพย์ที่สำคัญของอินเดีย แต่มีปรากฏในวรรณกรรมยุคคลาสสิกของอินเดียจากต้นสหัสวรรษที่ 1 เช่น พุทธจริต (Buddhacarita, ราวปี 100) โดย ส่วนคำที่คล้ายกัน ซึ่งคือ สาสตรี (salastri, หมายถึงสตรีที่เกิดออกจากต้นสาละ) ปรากฏในวรรณกรรมฮินดู ที่วรรค 2.83–84 ข้อเท็จจริงเหล่านี้อาจสะท้อนว่าวรรณกรรมเขียนตามธรรมเนียมและความนิยมในการแกะสลักไม้สาละ คำที่คล้ายกันยังรวมถึง มทนิกา (madanika), ปุตรีลิกา (putrilika), สตมภปุตรี (stambhaputri), สตมภปุตริกา (stambhaputrika) และ ปุตริกา (putrika) ประสันนะ อาจารยะ (Prasanna Acharya) นักวิชาการภาษาสันสกฤต และผู้นิพนธ์ สารานุกรมสถาปัตยกรรมฮินดู (An Encyclopedia of Hindu Architecture) ระบุว่า ศาลา และ ภัญชิกา ที่ปรากฏในวรรค 2.79 ของ นาฏยศาสตระ เป็นบริบทที่หมายถึง "รูป [หรือประติมากรรม] ที่ทำจากไม้"
วอเกล, อาจารยะ และนักวิชาการคนอื่น ๆ ให้ข้อสรุปว่าในศิลปกรรมและวรรณกรรมของฮินดูกับไชนะ คำนี้ใช้หมายถึงรูปปั้นใด ๆ บนผนัง เสา หรือโถง
ดูเพิ่ม
- ลักษณะคล้ายกันในวัฒนธรรมยุโรป
อ้างอิง
- "Temple Strut with a Tree Goddess (Shalabhanjika)". The Metropolitan Museum of Art. สืบค้นเมื่อ 11 May 2013.
- Udaya Nārāyaṇa Rāya (1979). Śālabhañjika in Art, Philosophy, and Literature. Lokbharti. pp. 1–9. OCLC 6828640.
- J Ph Vogel (1929). "The woman and tree or Salabhanjika in Indian Arts and Literature". Acta Orientalia. 7: 202–209.
- H.D. Velankar (1936). "Apabhramsa Meters". The Journal of the University of Bombay. V (9): 57–58.
- Heinrich Zimmer, Myths and Symbols in Indian Art and Civilization. (1946)
- Monier Monier Williams (1994 updated), Sanskrit English Dictionary, शाल śāla śālá, page 260
- J Ph Vogel (1929). "The woman and tree or Salabhanjika in Indian Arts and Literature". Acta Orientalia. 7: 206–219.
- PK Acharya (1934). Encyclopedia of Hindu Architecture. Oxford University Press. p. 490. OCLC 697763683.
- Louis H. Gray (1906). "The Viddhaśālabhañjikā of Rājaśekhara, Now First Translated from the Sanskrit and Prākrit". Journal of the American Oriental Society. 27: 3–4. JSTOR 592847.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
salphychika hrux salphychika salphchika salaphychika xksrormn shalabhanjika hrux salabhanjika epnkhainsilpaxinediyaelawrrnkrrmxinediythimikhwamhmayhlayaebb in khaniicheriykrupstrihruxyksiyunkhanghruxyunekaatnim hruxicheriykehtukhnaphranangsirimhamayathrngprathbkhangtnsala khnathrngihkaenidecachaysiththttha insilpahinduaela imidmikhwamhmayechphaaecaacngethainsilpaphuthth khanixacicheriykpratimakrrmid ktamthipradbbnphnngimihducudchudnaebux odyswnihyepnpratimakrrmrupstri nxkcakni inwrrnkrrmphuththyngpraktichkhawa salphychika eriykethskalxinediyobranhnungsungchlxngemuxtnsalaxxkdxk inbrilththiepriybethiybkbprasutikalkhxngphraokhtmphuththecarupsalphychikaittnimbnotrnatawnxxkkhxngphuththsasnsthansthupsayci niymbrryayrupniwaepnrupkhxngyksirupsalphychikaladbthihnung thrrpnsunthri ochmngamkbkrack ecnnekswethwaly rthkrnatka stwrrsthi 12 silpa rupniepnsalphychikainthayuntriphngkh inwrrnkrrm nxkcakkhwamhmaythangpratimakrrmaelw yngxachmaythungtukta ethwda phuti ipcnthungosephni thnghmdnikhunkbbribth inbribthehlaniyngpraktkhaxun echn mthnik madanakai mthnika madanika hrux silaphaliek shilabalika odyechphaainwrrnkrrmphasaknnada swninbribthkhxngkwiniphnthaeladntrixinediy khanimikhwamhmayiklekhiyngkbcnghwa pthya pathya sungepnhnungincnghwayxy cntha chanda inklum ctuspathi catuṣpadi ichsahrbkarepliynphan nxkcakcahmaythungehtukarnthiphranangsirimhamayaihprasutiaekecachaysiththtthaaelw tamsthupinsasnaphuththyngpraktpratimakrrmthiaesdngstriekhiyngtnim swnmakmkcbhruxekaakingimnninlksnakhlaykbphranangsirimhamaya aetinbribthehlanisalphychikacahmaythinginkhtichnkhxngxinediyobran sungmikhwamsmphnthkbsphthmulkhawa salphychika prakxbmacakkhaphasasnskvt khux aela phychika khawa phychika mikhwamhmaywa karhk rbkwn swn sala hmaythung ban phunthi phunthipid phnng sala echninkhawa thrrmsala hrux okhsala khaediywknniyngsamarthhmaythungtnsalasungepnimmikha nkwichakardanphasasnskvt wxekl Vogel rabuwakhwamhmayxnhlakhlaykhxng salphychika inthrrmeniymtang khxngxinediy xacekiywenuxngkbkhwamsakhykhxngtnsala sunginsasnaphuththmxngtnsalaekiywkbprasutikalkhxngphraokhtmphuththeca aelainhindukbichnamxngtnsalainthanaimmikhasahrbaekaslkpratimakrrm wxeklrabuwakhawa salphychika impraktinwrrnkrrmyukhphraewthhruxinwrrnkrrmphasabali ipcnthungmhakaphythisakhykhxngxinediy aetmipraktinwrrnkrrmyukhkhlassikkhxngxinediycaktnshswrrsthi 1 echn phuththcrit Buddhacarita rawpi 100 ody swnkhathikhlaykn sungkhux sastri salastri hmaythungstrithiekidxxkcaktnsala praktinwrrnkrrmhindu thiwrrkh 2 83 84 khxethccringehlanixacsathxnwawrrnkrrmekhiyntamthrrmeniymaelakhwamniyminkaraekaslkimsala khathikhlayknyngrwmthung mthnika madanika putrilika putrilika stmphputri stambhaputri stmphputrika stambhaputrika aela putrika putrika prasnna xacarya Prasanna Acharya nkwichakarphasasnskvt aelaphuniphnth saranukrmsthaptykrrmhindu An Encyclopedia of Hindu Architecture rabuwa sala aela phychika thipraktinwrrkh 2 79 khxng natysastra epnbribththihmaythung rup hruxpratimakrrm thithacakim wxekl xacarya aelankwichakarkhnxun ihkhxsrupwainsilpkrrmaelawrrnkrrmkhxnghindukbichna khaniichhmaythungruppnid bnphnng esa hruxothngduephimlksnakhlaykninwthnthrrmyuorpxangxingwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb salphychika Temple Strut with a Tree Goddess Shalabhanjika The Metropolitan Museum of Art subkhnemux 11 May 2013 Udaya Narayaṇa Raya 1979 Salabhanjika in Art Philosophy and Literature Lokbharti pp 1 9 OCLC 6828640 J Ph Vogel 1929 The woman and tree or Salabhanjika in Indian Arts and Literature Acta Orientalia 7 202 209 H D Velankar 1936 Apabhramsa Meters The Journal of the University of Bombay V 9 57 58 Heinrich Zimmer Myths and Symbols in Indian Art and Civilization 1946 Monier Monier Williams 1994 updated Sanskrit English Dictionary श ल sala sala page 260 J Ph Vogel 1929 The woman and tree or Salabhanjika in Indian Arts and Literature Acta Orientalia 7 206 219 PK Acharya 1934 Encyclopedia of Hindu Architecture Oxford University Press p 490 OCLC 697763683 Louis H Gray 1906 The Viddhasalabhanjika of Rajasekhara Now First Translated from the Sanskrit and Prakrit Journal of the American Oriental Society 27 3 4 JSTOR 592847