กลุ่มอาการเรตต์ (อังกฤษ: Rett syndrome) ซึ่งเดิมใช้ว่า ภาวะเลือดมีแอมโมเนียมากสมองฝ่อ (cerebroatrophic hyperammonemia) เป็นความผิดปรกติทางประสาทวิทยาหลังคลอดทางพันธุกรรมพบน้อยของเนื้อเทาของสมอง ซึ่งพบเกือบทั้งหมดในหญิง แต่มีพบในผู้ป่วยชาย ลักษณะคลินิกมีมือเท้าเล็กและอัตราการเติบโตของศีรษะลดลง (บ้างมี) สังเกตการเคลื่อนไหวของมือแบบฉบับซ้ำ ๆ เช่น บีบบิด (wringing) และ/หรือ การเอามือใส่ปากซ้ำ ๆ ได้ ผู้ป่วยกลุ่มอาการเรตต์เสี่ยงต่อความผิดปรกติทางระบบทางเดินอาหารและมีการชักได้ถึง 80% ตรงแบบ ผู้ป่วยไม่มีทักษะการพูด และประมาณ 50% เดินไม่ได้ กระดูกสันหลังคด ไม่เติบโต และท้องผูกพบมากและอาจเป็นปัญหาได้
กลุ่มอาการเรตต์ Rett Syndrome | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | F84.2 |
ICD- | 330.8 |
312750 | |
29908 | |
001536 | |
MeSH | C10.574.500.775 |
|
อาการแสดงของความผิดปกตินี้สับสนได้ง่ายกับอาการแสดงของกลุ่มอาการแอนเจิลมัน อัมพาตสมองใหญ่และโรคออทิซึม กลุ่มอาการเรตต์เกิดในประมาณ 1:10,000 การเกิดรอดหญิงในทุกภูมิศาสตร์ และทุกเชื้อชาติเผ่าพันธุ์
ใน DSM-IV-TR กลุ่มอาการเรตต์แสดงรายการใต้ประเภทความผิดปกติของพัฒนาการที่กระจายไปทุกด้าน (pervasive developmental disorder) ร่วมกับสเปกตรัมออทิซึม (autism spectrum disorder) และความผิดปกติที่ทำให้ไม่มีบูรณภาพในวัยเด็ก (childhood disintegrative disorder) บ้างแยกว่า การจำแนกมาอยู่กลุ่มนี้ผิด เช่นเดียวกับความผิดปกติมิใช่ออทิซึมอย่างกลุ่มอาการเอ็กซ์เปราะ (fragile X syndrome) ภาวะปุ่มแข็ง (tuberous sclerosis) หรือกลุ่มอาการดาวน์ซึ่งสามารถเห็นลักษณะออทิซึมได้ มีการเสนอให้ถอนโรคนี้ออกจาก DSM-5 เนื่องจากมีสมุฏฐานจำเพาะ
แอนเดรียส เรตต์ (Andreas Rett) กุมารแพทย์ชาวออสเตรีย อธิบายโรคนี้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1966 Huda Zoghbi แสดงใน ค.ศ. 1999 ว่า กลุ่มอาการเรตต์เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีน MECP2
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klumxakarertt xngkvs Rett syndrome sungedimichwa phawaeluxdmiaexmomeniymaksmxngfx cerebroatrophic hyperammonemia epnkhwamphidprktithangprasathwithyahlngkhlxdthangphnthukrrmphbnxykhxngenuxethakhxngsmxng sungphbekuxbthnghmdinhying aetmiphbinphupwychay lksnakhlinikmimuxethaelkaelaxtrakaretibotkhxngsirsaldlng bangmi sngektkarekhluxnihwkhxngmuxaebbchbbsa echn bibbid wringing aela hrux karexamuxispaksa id phupwyklumxakarerttesiyngtxkhwamphidprktithangrabbthangedinxaharaelamikarchkidthung 80 trngaebb phupwyimmithksakarphud aelapraman 50 edinimid kraduksnhlngkhd imetibot aelathxngphukphbmakaelaxacepnpyhaidklumxakarertt Rett SyndromebychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F84 2ICD 330 831275029908001536MeSHC10 574 500 775MECP2 Related Disorders xakaraesdngkhxngkhwamphidpktinisbsnidngaykbxakaraesdngkhxngklumxakaraexnecilmn xmphatsmxngihyaelaorkhxxthisum klumxakarerttekidinpraman 1 10 000 karekidrxdhyinginthukphumisastr aelathukechuxchatiephaphnthu in DSM IV TR klumxakarerttaesdngraykaritpraephthkhwamphidpktikhxngphthnakarthikracayipthukdan pervasive developmental disorder rwmkbsepktrmxxthisum autism spectrum disorder aelakhwamphidpktithithaihimmiburnphaphinwyedk childhood disintegrative disorder bangaeykwa karcaaenkmaxyuklumniphid echnediywkbkhwamphidpktimiichxxthisumxyangklumxakarexksepraa fragile X syndrome phawapumaekhng tuberous sclerosis hruxklumxakardawnsungsamarthehnlksnaxxthisumid mikaresnxihthxnorkhnixxkcak DSM 5 enuxngcakmismutthancaephaa aexnedriys ertt Andreas Rett kumaraephthychawxxsetriy xthibayorkhnikhrngaerkemux kh s 1966 Huda Zoghbi aesdngin kh s 1999 wa klumxakarerttekidcakkarklayphnthukhxngyin MECP2