บทความนี้ไม่มีจาก |
จิตเวชศาสตร์ มาจากคำว่า จิต ที่แปลว่าจิตใจ รวมกับ เวชศาสตร์ ที่แปลว่า ศาสตร์ด้านการแพทย์ เมื่อรวมกันจึงหมายถึง การศึกษาทางด้านการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับอาการบกพร่องทางจิต ต่างกับ คำว่า จิตวิทยา ตรงที่ว่า จิต ที่แปลว่าจิตใจ รวมกับคำว่า วิทยา ที่มาจากวิทยาศาสตร์แทน ดังนั้น จิตวิทยาจึงเน้นเกี่ยวกับทฤษฎีทางจิตใจที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับทางด้านการแพทย์ บางคนอาจจะมีอาการทางจิตที่ผิดปกติชัดเจน เช่น อาการหูแว่ว หวาดระแวง พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป หรือมีอาการวิตกกังวล ซึมเศร้าท้อแท้ จนรบกวนต่อการใช้ชีวิต ขณะที่บางคน อาจมีภาวะเครียด นอนไม่หลับ หรือต้องการคำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาในชีวิตบางอย่าง
อาการบกพร่องทางจิต มีความหมายตามแนวความคิดที่มีอยู่ในขณะนี้ว่า เป็นอาการที่เกิดจากความบกพร่องจากการทำงานของระบบประสาทของสมองมนุษย์ โดยมีสาเหตุมาจากกระบวนการพัฒนาสมองที่ถูกกำหนดจากยีน และสภาพแวดล้อม
ประวัติ
ในสมัยโบราณ ประมาณ 2,500 ปีที่แล้ว อาการบกพร่องทางจิตหรือประสาท ถูกมองว่าเกิดจากปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติ คำอธิบายลักษณะนี้เกิดขึ้นในกรีกโบราณและอาณาจักรโรมัน และอาจรวมถึงในวัฒนธรรมต่าง ๆ ทั่วโลก งานเขียนชิ้นแรก ๆ ที่มีการบันทึกเกี่ยวกับอาการบกพร่องทางจิต ถูกเขียนเมื่อประมาณศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดย ฮิปโปเครติส ได้อธิบายไว้ว่าอาการบกพร่องทางจิตอาจมีสาเหตุมาจากความผิดปกติระบบการทำงานต่าง ๆ ของร่างกาย ส่วนในทางศาสนามีคำอธิบายว่าเป็นการทำงานของสิ่งชั่วร้ายที่อยู่ภายในจิตใจของผู้มีอาการบกพร่องทางจิต
สาขาทางจิตเวชศาสตร์
- จิตเวชศาสตร์ทั่วไป คือ ศึกษาเกี่ยวกับ โรคทางจิตเวชที่พบในผู้ใหญ่ เช่น โรคสมองเสื่อม โรคซึมเศร้า โรคจิต
- จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น ศึกษาเกี่ยวกับ โรคทางจิตเวชในเด็ก และ วัยรุ่น เช่น โรคสมาธิสั้น โรคออทิสติก
การศึกษาสาขาทางจิตเวชศาสตร์
- จิตเวชศาสตร์ทั่วไป ต้องศึกษาให้จบปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต 6 ปีเสียก่อน จากนั้น จึงค่อยศึกษาต่อเฉพาะทางด้านจิตเวชศาสตร์ทั่วไปอีก 3 ปี
- จิตเวชศาสตร์เด็ก และ วัยรุ่น ต้องศึกษาให้จบปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต 6 ปีเสียก่อน จากนั้น จึงค่อยศึกษาต่อเฉพาะทางด้านจิตเวชศาสตร์เด็ก และ วัยรุ่น อีก 4 ปี
การรักษาทางจิตเวชศาสตร์
- การรักษาด้วยยา ซึ่งมีหลายชนิด และยังมีการพัฒนาองค์ความรู้ในส่วนนี้อย่างต่อเนื่อง
- การทำจิตบำบัด (psychotherapy) ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่สำคัญที่สุดในการเป็นจิตแพทย์ คือ กระบวนการพูดคุยเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยทำความเข้าใจถึงตัวตน ปัญหาและที่มา ซึ่งจะช่วยนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงตามหนทางที่ผู้ป่วยต้องการ
จริยศาสตร์
- "รู้จักแพทย์ประจำบ้านสาขาจิตเวชศาสตร์ (adult psychiatry) | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล". med.mahidol.ac.th.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir citewchsastr macakkhawa cit thiaeplwacitic rwmkb ewchsastr thiaeplwa sastrdankaraephthy emuxrwmkncunghmaythung karsuksathangdankaraephthythiekiywkhxngkbxakarbkphrxngthangcit tangkb khawa citwithya trngthiwa cit thiaeplwacitic rwmkbkhawa withya thimacakwithyasastraethn dngnn citwithyacungennekiywkbthvsdithangciticthiimidekiywkhxngkbthangdankaraephthy bangkhnxaccamixakarthangcitthiphidpktichdecn echn xakarhuaeww hwadraaewng phvtikrrmepliynaeplngip hruxmixakarwitkkngwl sumesrathxaeth cnrbkwntxkarichchiwit khnathibangkhn xacmiphawaekhriyd nxnimhlb hruxtxngkarkhapruksaekiywkbpyhainchiwitbangxyangaephnolhabrxnscarukyntraekiywkbxayurewthkhxngxinediyobran xayurewththuxepnaekhnngkhwamruaerkthimikarbnthukekiywkbcitewchsastr xakarbkphrxngthangcit mikhwamhmaytamaenwkhwamkhidthimixyuinkhnaniwa epnxakarthiekidcakkhwambkphrxngcakkarthangankhxngrabbprasathkhxngsmxngmnusy odymisaehtumacakkrabwnkarphthnasmxngthithukkahndcakyin aelasphaphaewdlxmprawtiinsmyobran praman 2 500 pithiaelw xakarbkphrxngthangcithruxprasath thukmxngwaekidcakpraktkarnehnuxthrrmchati khaxthibaylksnaniekidkhuninkrikobranaelaxanackrormn aelaxacrwmthunginwthnthrrmtang thwolk nganekhiynchinaerk thimikarbnthukekiywkbxakarbkphrxngthangcit thukekhiynemuxpramanstwrrsthi 4 kxnkhristskrach ody hipopekhrtis idxthibayiwwaxakarbkphrxngthangcitxacmisaehtumacakkhwamphidpktirabbkarthangantang khxngrangkay swninthangsasnamikhaxthibaywaepnkarthangankhxngsingchwraythixyuphayincitickhxngphumixakarbkphrxngthangcitsakhathangcitewchsastrcitewchsastrthwip khux suksaekiywkb orkhthangcitewchthiphbinphuihy echn orkhsmxngesuxm orkhsumesra orkhcit citewchsastredkaelawyrun suksaekiywkb orkhthangcitewchinedk aela wyrun echn orkhsmathisn orkhxxthistikkarsuksasakhathangcitewchsastrcitewchsastrthwip txngsuksaihcbpriyyaaephthysastrbnthit 6 piesiykxn caknn cungkhxysuksatxechphaathangdancitewchsastrthwipxik 3 pi citewchsastredk aela wyrun txngsuksaihcbpriyyaaephthysastrbnthit 6 piesiykxn caknn cungkhxysuksatxechphaathangdancitewchsastredk aela wyrun xik 4 pikarrksathangcitewchsastrkarrksadwyya sungmihlaychnid aelayngmikarphthnaxngkhkhwamruinswnnixyangtxenuxng karthacitbabd psychotherapy sungepnhnunginekhruxngmuxthisakhythisudinkarepncitaephthy khux krabwnkarphudkhuyephuxchwyihphupwythakhwamekhaicthungtwtn pyhaaelathima sungcachwynaipsukarepliynaeplngtamhnthangthiphupwytxngkarcriysastrbthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk ruckaephthypracabansakhacitewchsastr adult psychiatry khnaaephthysastrorngphyabalramathibdi mhawithyalymhidl med mahidol ac th