รอยนูนหลังร่องกลาง (อังกฤษ: postcentral gyrus, gyrus postcentralis) ด้านข้างของสมอง เป็นโครงสร้างที่โดดเด่นในสมองกลีบข้างของมนุษย์ และเป็นจุดสังเกตที่สำคัญ เป็นที่อยู่ของคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ (primary somatosensory cortex) เป็นเขตรับสัญญาณความรู้สึกหลักของระบบรับความรู้สึกทางกาย (somatosensory system) และเหมือนกับเขตรับความรู้สึกอื่น ๆ เขตนี้มีแผนที่ปริภูมิของความรู้สึกซึ่งเรียกว่า "cortical homunculus"
รอยนูนหลังร่องกลาง (Postcentral gyrus) | |
---|---|
เขตบร็อดแมนน์ 3 มีสีแดง เขตบร็อดแมนน์ 1 มีสีเขียว เขตบร็อดแมนน์ 2 มีสีเหลือง | |
รายละเอียด | |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | Gyrus postcentralis |
105 | |
นิวโรเล็กซ์ ID | birnlex_1070 |
TA98 | A14.1.09.128 |
TA2 | 5469 |
FMA | 61896 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิในยุคต้น ๆ มีขอบเขตที่กำหนดโดยงานวิจัยกระตุ้นผิวสมองของไวล์เดอร์ เพ็นฟิลด์ และงานวิจัยศักย์ผิวสมองของบาร์ด วูลซีย์ กับมาร์แชลล์ ที่เป็นไปในช่วงเวลาเดียวกัน แม้ว่าในเบื้องต้นจะกำหนดอย่างคร่าว ๆ ว่าเป็นส่วนเดียวกับเขตบร็อดแมนน์ 3-1-2 งานวิจัยในภายหลังของจอน คาสส์ เสนอว่า เพื่อความเหมือนกันกับเขตรับรู้ความรู้สึกอื่น ๆ ควรที่จะกล่าวเขตบร็อดแมนน์ 3 ว่าเป็นคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ เนื่องจากว่าเขตนั้นได้รับสัญญาณมากที่สุดจาก (วิถีประสาททาลามัส-คอร์เทกซ์) ซึ่งมาจากลานสัญญาณที่รับรู้การสัมผัส
ขอบเขต
รอยนูนหลังร่องกลางด้านข้างมีขอบเขต คือ
- medial longitudinal fissure อยู่ตรงกลางสมอง (medial)
- ร่องกลาง (central sulcus) อยู่ข้างหน้า
- (postcentral sulcus) อยู่ข้างหลัง
- lateral sulcus อยู่ข้างใต้
เขตบร็อดแมนน์ 3-1-2
เขตบร็อดแมนน์ 3-1-2 รวมกันเป็นคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายของสมองในมนุษย์ (หรือย่อว่า S1) เพราะว่า คอร์บิเนียน บร็อดแมนน์ (นักประสาทวิทยาที่จำแนกเขตบร็อดแมนน์) ผ่าสมองเป็นไปในแนวทแยง เขาจึงได้พบเขตที่ 1 ก่อน แต่ว่าถ้าเรียงจากหน้าไปหลัง คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิเป็นส่วนเดียวกับเขตบร็อดแมนน์ 3-1-2
เขตบร็อดแมนน์ 1 อยู่ที่ส่วนยอดของรอยนูนหลังร่องกลาง ส่วนเขตบร็อดแมนน์ 3 แบ่งเป็นเขตย่อย 3a และ 3b อีก โดยที่เขตด้านหน้าของเขต 3a อยู่ที่จุดล่างสุดของร่องกลาง (central sulcus) และตามมาด้วยเขต 3b, เขต 1, และเขต 2 ซึ่งไปสุดที่จุดล่างสุดของ (postcentral sulcus)
เขต 3b ในปัจจุบันได้รับการพิจารณาว่า เป็นคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ เพราะว่า
- เป็นเขตที่รับสัญญาณประสาทที่หนาแน่นที่สุดจาก pulvinar nuclei ของ ทาลามัส
- เซลล์ประสาทในเขตนี้ทำการตอบสนองต่อตัวกระตุ้นความรู้สึกทางกายในระดับสูง แต่ไม่มีปฏิกิริยาต่อตัวกระตุ้นอื่น ๆ
- รอยโรคในเขตนี้ทำการรับรู้ความรู้สึกทางกายให้เสียหาย
- การกระตุ้นเขตนี้ด้วยไฟฟ้าผ่านอิเล็กโทรด ก่อให้เกิดประสบการณ์รับรู้ความรู้สึกทางกาย
และแม้ว่า เขต 3a ก็รับสัญญาณประสาทที่หนาแน่นจากทาลามัสเช่นกัน แต่ว่า เขตนี้มีความเกี่ยวข้องกับการรับรู้อากัปกิริยา (proprioception)
เขต 1 และ 2 รับสัญญาณประสาทที่หนาแน่นจากเขต 3b และสัญญาณจากเขต 3b ที่ส่งไปยังเขต 1 โดยมากส่งข้อมูลสืบเนื่องกับผิว (texture เช่นความรู้สึกเกี่ยวกับเนื้อผ้า) ส่วนสัญญาณที่ส่งไปยังเขต 2 เน้นขนาดและรูปร่าง ดังนั้น เราจึงสามารถพยากรณ์ได้อย่างแม่นยำว่า รอยโรคที่จำกัดอยู่ในเขตเหล่านี้ย่อมก่อให้เกิดความบกพร่องในการแยกแยะความรู้สึกเกี่ยวกับผิว ขนาด และรูปร่าง
คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายก็แบ่งเป็นชั้น ๆ เหมือนกันเขตคอร์เทกซ์ใหม่อื่น ๆ และเหมือนกับคอร์เทกซ์รับรู้ความรู้สึกอื่น ๆ (เช่นคอร์เทกซ์สายตาและ) แอกซอนจากทาลามัสจะเข้าไปสู่ชั้น 4 ของคอร์เทกซ์ ซึ่งก็จะส่งแอกซอนไปยังชั้นอื่น ๆ สืบต่อไป และเหมือนกับคอร์เทกซ์รับรู้ความรู้สึกอื่น ๆ เซลล์ประสาทของ S1 จับกลุ่มโดยสัญญาณขาเข้าและโดยการตอบสนองที่คล้ายคลึงกัน เป็นคอลัมน์ในคอร์เทกซ์ที่แผ่ไปในทั้งความหนาของเปลือกสมอง (ดังที่แสดงโดยเวอร์นอน เมานต์แคสเติล คือ จับกลุ่มเป็นชั้นที่สลับกันระหว่างชั้นนิวรอนที่ปรับตัวอย่างช้า ๆ และชั้นที่ปรับตัวอย่างรวดเร็ว) คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายก็แบ่งเป็นชั้น ๆ เหมือนกันเขตคอร์เทกซ์ใหม่อื่น ๆ และเหมือนกับคอร์เทกซ์รับรู้ความรู้สึกอื่น ๆ (เช่นคอร์เทกซ์สายตาและ) แอกซอนจากทาลามัสจะเข้าไปสู่ชั้น 4 ของคอร์เทกซ์ ซึ่งก็จะส่งแอกซอนไปยังชั้นอื่น ๆ สืบต่อไป และเหมือนกับคอร์เทกซ์รับรู้ความรู้สึกอื่น ๆ เซลล์ประสาทของ S1 จับกลุ่มโดยสัญญาณขาเข้าและโดยการตอบสนองที่คล้ายคลึงกัน เป็นคอลัมน์ในคอร์เทกซ์ที่แผ่ไปในทั้งความหนาของเปลือกสมอง (ดังที่แสดงโดยเวอร์นอน เมานต์แคสเติล คือ จับกลุ่มเป็นชั้นที่สลับกันระหว่างชั้นนิวรอนที่ปรับตัวอย่างช้า ๆ และชั้นที่ปรับตัวอย่างรวดเร็ว)
ตำแหน่งของเขตบร็อดแมนน์ 3-1-2 ก็คือ จากส่วนล่างที่สุดของร่องกลางไปยังส่วนยอดของรอยนูนหลังร่องกลาง เป็น 3a-3b-1-2 ตามลำดับ
เขตเหล่านี้มีเซลล์ที่ส่งแอกซอนไปยัง (secondary somatosensory cortex)
cortical (sensory) homunculus
- (SH1) sensory homunculus ของสมองมนุษย์ มองจากด้านข้าง
- (SH2) sensory homunculus ของสมองมนุษย์ มองจากด้านหน้าหรือหลัง
ดังที่แสดงโดยไวล์เดอร์ เพ็นฟิลด์ และนักวิจัยอื่น ๆ คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายมีการจัดระเบียบเป็นแผนที่ภูมิลักษณ์ของกาย (somatotopy) มีรูปร่างเป็น cortical homunculus ซึ่งก็คือ ขาและลำตัวอยู่ใกล้ ๆ ส่วนกลางของสมอง (ดูรูป SH1 และ SH2 ข้างบน) แขนและมืออยู่ถัดต่อมา และใบหน้าอยู่ในส่วนล่าง ถึงอาจจะไม่ชัดเจนมากนักในรูป เขตที่แสดงริมฝีปากและมือจะมีขนาดใหญ่ใน cortical homunculus เพราะว่า มีเซลล์ประสาทในเปลือกสมองที่ประมวลข้อมูลที่มาจากเขตเหล่านั้นจำนวนมากกว่าเขตอื่น ๆ เพราะความรู้สึกในบริเวณเหล่านั้นละเอียดกว่าอวัยวะส่วนอื่น ๆ
ความสำคัญเกี่ยวข้องกับโรค
รอยโรคในคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิก่อให้เกิดกลุ่มอาการที่ส่อถึงรอยโรค ซึ่งก็คือ , , ภาวะไม่รู้, ภาวะไม่รับรู้อากัปกิริยา, และภาวะไม่รู้การสัมผัสแบบเบา ๆ (เพราะว่านิวรอนที่ส่งสัญญาณต่อในระดับที่สามในวิถีประสาท ไม่สามารถเชื่อมไซแนปส์ไปในคอร์เทกซ์) นอกจากนั้นแล้ว รอยโรคอาจก่อให้เกิดภาวะละเลยข้างเดียว (unilateral neglect) ถ้ามีอยู่ที่ซีกสมองที่ไม่เป็นใหญ่ (เช่นคนถนัดขวามีสมองซีกซ้ายเป็นใหญ่ ถ้ามีรอยโรคในสมองซีกขวา อาจมีภาวะละเลยข้างเดียวทางกายด้านซ้าย)
ภาพต่าง ๆ
- ผิวด้านข้างของซีกสมองซีกซ้าย มองจากด้านข้าง (lateral) รอยนูนหลังร่องกลางมีสีส้ม
- ภาพวาดแสดงความสัมพันธ์กันระหว่างสมองและกะโหลกศีรษะ
- ด้านข้างของสมองมนุษย์ซีกซ้าย มีป้ายบอกรอยนูนหลัก ๆ
- กลีบสมองในมนุษย์ มองจากด้านข้างของสมองซีกซ้าย
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ gyrus ว่า "รอยนูน". ส่วน Postcentral แปลตรงตัวว่า "หลังกลาง" แต่ว่าโดยกายวิภาค เป็นรอยนูนที่อยู่เป็นลำดับต่อจากร่องกลาง (central sulcus)
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ somatopathy ว่า "โรคทางกาย", ของ "sensory" ว่า "รับความรู้สึก", และของ "primary" ว่า "ปฐมภูมิ"
- Cortical homunculus เป็นแผนที่ภูมิลักษณ์ของส่วนต่าง ๆ ในร่างกายในและคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ คือส่วนในสมองของมนุษย์ที่มีบทบาทในการเคลื่อนไหว และการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างระบบสั่งการและระบบรับรู้ความรู้สึก
- แผนที่ภูมิลักษณ์ของกาย (somatotopy) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างจุดหนึ่งในร่างกายกับอีกจุดหนึ่งในระบบประสาทกลาง โดยปกติแล้ว จุดในร่างกายจะสัมพันธ์กับอีกจุดหนึ่งในคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย (คือรอยนูนหลังร่องกลาง) คอร์เทกซ์นี้มีการจัดระเบียบเป็น cortical homunculus มีจุดต่างๆ ที่สัมพันธ์กับจุตต่าง ๆ ในร่างกาย เขตในร่างกายต่าง ๆ เช่นไส้ติ่ง นิ้ว องคชาต และใบหน้า มีจุดที่สัมพันธ์กันในคอร์เทกซ์ เขตในร่างกายที่มีการสั่งการหรือมีความรู้สึกที่ละเอียด เช่นนิ้วมือ มีจุดที่ใหญ่กว่าในคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย เปรียบเทียบกับเขตในร่างกายที่ไม่มีการสั่งการหรือมีความรู้สึกที่หยาบ เช่นลำตัว มีจุดที่เล็กกว่า บางส่วนของร่างกายเช่นอวัยวะภายใน ไม่มีจุดที่สัมพันธ์กันในคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย
- agraphesthesia เป็นความสับสนในความรู้สึกกระทบสัมผัสตามผิวหนัง คือไม่สามารถที่จะรู้จำตัวเลขหรืออักษรที่เขียนลงบนฝ่ามือ หลังจากมีความเสียหายในสมองกลีบข้าง
- astereognosia เป็นความไม่สามารถในการบ่งชี้ว่าวัตถุคืออะไร โดยเพียงแค่สัมผัสและไม่ใช้สายตา นี่เป็นประเภทหนึ่งของภาวะไม่รู้สัมผัส (tactile agnosia) ที่คนไข้ไม่สามารถระบุวัตถุที่จับหรือถืออยู่ได้ แม้ว่าจะสามารถรับความรู้สึกได้อย่างไม่บกพร่อง
แหล่งข้อมูลอื่น
- NeuroNames ancil-1040 - area 1
- NeuroNames ancil-1041 - area 2
- NeuroNames ancil-1042 - area 3
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rxynunhlngrxngklang xngkvs postcentral gyrus gyrus postcentralis dankhangkhxngsmxng epnokhrngsrangthioddedninsmxngklibkhangkhxngmnusy aelaepncudsngektthisakhy epnthixyukhxngkhxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumi primary somatosensory cortex epnekhtrbsyyankhwamrusukhlkkhxngrabbrbkhwamrusukthangkay somatosensory system aelaehmuxnkbekhtrbkhwamrusukxun ekhtnimiaephnthipriphumikhxngkhwamrusuksungeriykwa cortical homunculus rxynunhlngrxngklang Postcentral gyrus rxynunhlngrxngklangkhxngsmxnginmnusyekhtbrxdaemnn 3 misiaedng ekhtbrxdaemnn 1 misiekhiyw ekhtbrxdaemnn 2 misiehluxngraylaexiydtwrabuphasalatinGyrus postcentralis105niworelks IDbirnlex 1070TA98A14 1 09 128TA25469FMA61896 aekikhbnwikisneths phaphihwkhxngrxynunhlngrxngklang khxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumiinyukhtn mikhxbekhtthikahndodynganwicykratunphiwsmxngkhxngiwledxr ephnfild aelanganwicyskyphiwsmxngkhxngbard wulsiy kbmaraechll thiepnipinchwngewlaediywkn aemwainebuxngtncakahndxyangkhraw waepnswnediywkbekhtbrxdaemnn 3 1 2 nganwicyinphayhlngkhxngcxn khass esnxwa ephuxkhwamehmuxnknkbekhtrbrukhwamrusukxun khwrthicaklawekhtbrxdaemnn 3 waepnkhxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumi enuxngcakwaekhtnnidrbsyyanmakthisudcak withiprasaththalams khxrethks sungmacaklansyyanthirbrukarsmphskhxbekhtrxynunhlngrxngklangdankhangmikhxbekht khux medial longitudinal fissure xyutrngklangsmxng medial rxngklang central sulcus xyukhanghna postcentral sulcus xyukhanghlng lateral sulcus xyukhangitekhtbrxdaemnn 3 1 2ekhtbrxdaemnn 3 1 2 rwmknepnkhxrethksrbkhwamrusukthangkaykhxngsmxnginmnusy hruxyxwa S1 ephraawa khxrbieniyn brxdaemnn nkprasathwithyathicaaenkekhtbrxdaemnn phasmxngepnipinaenwthaeyng ekhacungidphbekhtthi 1 kxn aetwathaeriyngcakhnaiphlng khxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumiepnswnediywkbekhtbrxdaemnn 3 1 2 ekhtbrxdaemnn 1 xyuthiswnyxdkhxngrxynunhlngrxngklang swnekhtbrxdaemnn 3 aebngepnekhtyxy 3a aela 3b xik odythiekhtdanhnakhxngekht 3a xyuthicudlangsudkhxngrxngklang central sulcus aelatammadwyekht 3b ekht 1 aelaekht 2 sungipsudthicudlangsudkhxng postcentral sulcus ekht 3b inpccubnidrbkarphicarnawa epnkhxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumi ephraawa epnekhtthirbsyyanprasaththihnaaennthisudcak pulvinar nuclei khxng thalams esllprasathinekhtnithakartxbsnxngtxtwkratunkhwamrusukthangkayinradbsung aetimmiptikiriyatxtwkratunxun rxyorkhinekhtnithakarrbrukhwamrusukthangkayihesiyhay karkratunekhtnidwyiffaphanxielkothrd kxihekidprasbkarnrbrukhwamrusukthangkay aelaaemwa ekht 3a krbsyyanprasaththihnaaenncakthalamsechnkn aetwa ekhtnimikhwamekiywkhxngkbkarrbruxakpkiriya proprioception ekht 1 aela 2 rbsyyanprasaththihnaaenncakekht 3b aelasyyancakekht 3b thisngipyngekht 1 odymaksngkhxmulsubenuxngkbphiw texture echnkhwamrusukekiywkbenuxpha swnsyyanthisngipyngekht 2 ennkhnadaelaruprang dngnn eracungsamarthphyakrnidxyangaemnyawa rxyorkhthicakdxyuinekhtehlaniyxmkxihekidkhwambkphrxnginkaraeykaeyakhwamrusukekiywkbphiw khnad aelaruprang khxrethksrbkhwamrusukthangkaykaebngepnchn ehmuxnknekhtkhxrethksihmxun aelaehmuxnkbkhxrethksrbrukhwamrusukxun echnkhxrethkssaytaaela aexksxncakthalamscaekhaipsuchn 4 khxngkhxrethks sungkcasngaexksxnipyngchnxun subtxip aelaehmuxnkbkhxrethksrbrukhwamrusukxun esllprasathkhxng S1 cbklumodysyyankhaekhaaelaodykartxbsnxngthikhlaykhlungkn epnkhxlmninkhxrethksthiaephipinthngkhwamhnakhxngepluxksmxng dngthiaesdngodyewxrnxn emantaekhsetil khux cbklumepnchnthislbknrahwangchnniwrxnthiprbtwxyangcha aelachnthiprbtwxyangrwderw khxrethksrbkhwamrusukthangkaykaebngepnchn ehmuxnknekhtkhxrethksihmxun aelaehmuxnkbkhxrethksrbrukhwamrusukxun echnkhxrethkssaytaaela aexksxncakthalamscaekhaipsuchn 4 khxngkhxrethks sungkcasngaexksxnipyngchnxun subtxip aelaehmuxnkbkhxrethksrbrukhwamrusukxun esllprasathkhxng S1 cbklumodysyyankhaekhaaelaodykartxbsnxngthikhlaykhlungkn epnkhxlmninkhxrethksthiaephipinthngkhwamhnakhxngepluxksmxng dngthiaesdngodyewxrnxn emantaekhsetil khux cbklumepnchnthislbknrahwangchnniwrxnthiprbtwxyangcha aelachnthiprbtwxyangrwderw taaehnngkhxngekhtbrxdaemnn 3 1 2 kkhux cakswnlangthisudkhxngrxngklangipyngswnyxdkhxngrxynunhlngrxngklang epn 3a 3b 1 2 tamladb ekhtehlanimiesllthisngaexksxnipyng secondary somatosensory cortex cortical sensory homunculus SH1 sensory homunculus khxngsmxngmnusy mxngcakdankhang SH2 sensory homunculus khxngsmxngmnusy mxngcakdanhnahruxhlng dngthiaesdngodyiwledxr ephnfild aelankwicyxun khxrethksrbkhwamrusukthangkaymikarcdraebiybepnaephnthiphumilksnkhxngkay somatotopy miruprangepn cortical homunculus sungkkhux khaaelalatwxyuikl swnklangkhxngsmxng durup SH1 aela SH2 khangbn aekhnaelamuxxyuthdtxma aelaibhnaxyuinswnlang thungxaccaimchdecnmaknkinrup ekhtthiaesdngrimfipakaelamuxcamikhnadihyin cortical homunculus ephraawa miesllprasathinepluxksmxngthipramwlkhxmulthimacakekhtehlanncanwnmakkwaekhtxun ephraakhwamrusukinbriewnehlannlaexiydkwaxwywaswnxun khwamsakhyekiywkhxngkborkhrxyorkhinkhxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumikxihekidklumxakarthisxthungrxyorkh sungkkhux phawaimru phawaimrbruxakpkiriya aelaphawaimrukarsmphsaebbeba ephraawaniwrxnthisngsyyantxinradbthisaminwithiprasath imsamarthechuxmisaenpsipinkhxrethks nxkcaknnaelw rxyorkhxackxihekidphawalaelykhangediyw unilateral neglect thamixyuthisiksmxngthiimepnihy echnkhnthndkhwamismxngsiksayepnihy thamirxyorkhinsmxngsikkhwa xacmiphawalaelykhangediywthangkaydansay phaphtang phiwdankhangkhxngsiksmxngsiksay mxngcakdankhang lateral rxynunhlngrxngklangmisism phaphwadaesdngkhwamsmphnthknrahwangsmxngaelakaohlksirsa dankhangkhxngsmxngmnusysiksay mipaybxkrxynunhlk klibsmxnginmnusy mxngcakdankhangkhxngsmxngsiksayechingxrrthaelaxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng gyrus wa rxynun swn Postcentral aepltrngtwwa hlngklang aetwaodykaywiphakh epnrxynunthixyuepnladbtxcakrxngklang central sulcus sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng somatopathy wa orkhthangkay khxng sensory wa rbkhwamrusuk aelakhxng primary wa pthmphumi Cortical homunculus epnaephnthiphumilksnkhxngswntang inrangkayinaelakhxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumi khuxswninsmxngkhxngmnusythimibthbathinkarekhluxnihw aelakaraelkepliynkhxmulknrahwangrabbsngkaraelarabbrbrukhwamrusuk aephnthiphumilksnkhxngkay somatotopy epnkhwamsmphnthrahwangcudhnunginrangkaykbxikcudhnunginrabbprasathklang odypktiaelw cudinrangkaycasmphnthkbxikcudhnunginkhxrethksrbkhwamrusukthangkay khuxrxynunhlngrxngklang khxrethksnimikarcdraebiybepn cortical homunculus micudtang thismphnthkbcuttang inrangkay ekhtinrangkaytang echnisting niw xngkhchat aelaibhna micudthismphnthkninkhxrethks ekhtinrangkaythimikarsngkarhruxmikhwamrusukthilaexiyd echnniwmux micudthiihykwainkhxrethksrbkhwamrusukthangkay epriybethiybkbekhtinrangkaythiimmikarsngkarhruxmikhwamrusukthihyab echnlatw micudthielkkwa bangswnkhxngrangkayechnxwywaphayin immicudthismphnthkninkhxrethksrbkhwamrusukthangkay agraphesthesia epnkhwamsbsninkhwamrusukkrathbsmphstamphiwhnng khuximsamarththicarucatwelkhhruxxksrthiekhiynlngbnfamux hlngcakmikhwamesiyhayinsmxngklibkhang astereognosia epnkhwamimsamarthinkarbngchiwawtthukhuxxair odyephiyngaekhsmphsaelaimichsayta niepnpraephthhnungkhxngphawaimrusmphs tactile agnosia thikhnikhimsamarthrabuwtthuthicbhruxthuxxyuid aemwacasamarthrbkhwamrusukidxyangimbkphrxngaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb rxynunhlngrxngklang NeuroNames ancil 1040 area 1 NeuroNames ancil 1041 area 2 NeuroNames ancil 1042 area 3